Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13 Amazing Sacred Sites

13 Amazing Sacred Sites

Published by ทัชธชา ปัญญารัตน์, 2018-10-30 00:13:31

Description: Let's join 13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphun

Search

Read the Text Version

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun ProvinceWat Phrathat Hariphunchai Guide BooK13 มหาสถานวดั พระธาตุหริภุญชัยวรมหาวหิ าร จงั หวัดลาพูน Pratoolee Little Guides

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun ProvinceAmazing Sacred Sites Locationสถานที่สาคัญภายในบริเวณวดั พระธาตุหริภุญชยั วรมหาวหิ าร จงั หวัดลาพูนสถานทต่ี ้ังและขนาดของวัด วัดพระธาตหุ รภิ ญุ ชยั วรมหาวหิ าร เปน็ พระอารมหลวงชนั้ เอก ตัง้ อยใูํ จกลางเมืองลาพนู เลขที่ ๓๓๕ หมูํ ๑ ถนนอนิ ทยงยศ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดัลาพนู ๕๑๐๐๐ ลอ๎ มรอบดว๎ ยถนน ทัง้ สีด่ ๎าน คือ ถนนอัฏฐารสทางทิศเหนือถนนชยั มงคลทางทศิ ใต๎ ถนนรอบเมืองทางด๎านทิศตะวันออก และถนนอินทยงยศทางดา๎ นทศิ ตะวนั ตกมีเนื้อท่ที ง้ั หมด ประมาณ ๒๗ ไรํ ๓ งาน ๘๘ ตารางวา

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun ProvinceAmazing in Wat Phrathat Hariphunchaiสง่ิ ท่นี า่ สนใจภายในบริเวณวัด Wat Phrathat Hariphunchai is a first-classroyal temple located in the center of Lamphunprovince, covering an area of 28 Rai or 400,000square meters. At the arched entrance tothe temple, standing four feet on a pedestal withtheir mouths open is a pair of impressive giant Singha(Lion). The temple was formerly King Athitayaraj’spalace. After the place became a templeas designated by the king, the wall was replaced bythese sculpted lions created in the ancient Sriwichaiarchitectural style. สิ่งแรกกอํ นเขา๎ มาในบริเวณวัดดา๎ นนอกขา๎ งหน๎าซ๎มุ ประตู ทาํ นจะได๎เห็นสงิ ห์ใหญคํ ูํหนง่ึ อยูบํ นแทํนประดิษฐานยืนเต็มเสมอกนั ท้ังสเี่ ทา๎ สงิ ห์ทง้ั คนํู ี้ประดับดว๎ ยเครอื่ งทรงและลวดลาย ยนื เป็นสงาํ อ๎าปาก เดํนเป็นสงําอยํูหน๎าวดั ถดั จากสิงหค์ ูํจะพบกับซม๎ุ สีขาวทีม่ คี วามสวยงาม มีความเช่อื วําถ๎าได๎รอดผาํ นซ๎ุมนแี้ ล๎วจะถือวาํ เราได๎เข๎าประตสู ูํสวรรค์ ( The Gate to Heaven)ทาใหเ๎ ราพบแตสํ ิ่งท่ดี ีและมคี วามสุข และบริเวณด๎านในวัดทํานจะไดพ๎ บกับพระวิหารหลวงทีม่ คี วามสวยสดงดงามมาก และ เจดีย์สีทองทีม่ ีความโดดเดํน เปน็ ท่ีประดษิ ฐานพระบรมสารรี ิกธาตุ และพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ๎าแตคํ รั้งพทุ ธกาล ตามประวตั ิวัดกลําววาํ พระธาตุหริภญุ ชยั ประดิษฐานธาตุกระหมอํ ม ธาตุกระดกู อก ธาตุกระดกู นิว้ มอื และธาตยุ ํอยอกี เตม็ บาตรหนึ่ง ทเ่ี ช่ือวาํ พระสาวกไดอ๎ ัญเชิญมาจากอินเดยี ตามพุทธทานาย เป็นทส่ี ักการบชู าแกปํ ระชาชนทวั่ ไปและเปน็ จอมเจดียห์ น่ึงในแปดของสยาม ซ่งึ เจดีย์แหงํ นี้เปน็พระธาตุของคนทเี่ กดิ ปรี ะกา

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun ProvinceHistory of Wat Phrathat HariphunchaiRenovation performance of Master Srivichai Wat Phrathat Hariphunchai consists of most masterJaoSivichai’s works and it is the temple related to history ofMaster Srivichai from 11310-11311. In the third charges, hewas detained at Kanaattharos on northwestern side for 2years. The beginning of renovation was initiated from the impacts of storm (Lamphun people called it “Lomluang Lampang” as it was blown from southwest side of Lamphun City which is the location of Lampang on 1 May . 11314. This caused collapse of The Royal Vihara constructed In Lanna Kingdom but Phrathat was not damaged. Only the top of many-tiered umbrella was bent and some brass plates were peeled off. During 11320- 11322, Master Srivichai, after being freed from the fifth charge, was invited by Major General ChakkhamKajornsak, the 10th ruler of Lamphun City, to be the leader of renovating monks’ shelters in the temple patronized by masters of Lamphun. Phrathat Chedi Hariphunchai was architecture in Lanna kingdom that highly influenced the concept of Master Srivichai.ประวตั วิ ดั พระธาตุหรภิ ุญชยั วรมหาวหิ าร จังหวดั ลาพนู เปน็ สถาปัตยกรรมสมยั ล๎านนาที่มอี ิทธิพลตํอแนวคิดของครูบาเจ๎าศรวี ชิ ัยเปน็ อยํางสูง เน่อื งจากมลี ักษณะองค์ประกอบศลิ ปท์ ีง่ ดงามลงตวั ไดส๎ ัดสวํ น และจากการทค่ี รบู าเจา๎ ศรวี ิชัยไดม๎ ีสํวนรวํ มในการบูรณะองค์พระบรมธาตุหรภิ ุญชัยน้ีเองทาให๎ทาํ นไดจ๎ ดจาและนาเอารปู แบบสถาปตั ยกรรมพระเจดีย์องคน์ ้ไี ปใช๎เปน็มาตรฐานตน๎ แบบ สาหรับงานกํอสรา๎ งหรือบรู ณปฏิสงั ขรณพ์ ระธาตุเจดยี ต์ ามวัดตํางๆ มากกวํา ๘๐ % ของรูปแบบพระเจดียท์ ง้ั หมด

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Two lions, King of Beasts Outside the wall on east side near Khong arch placed a pair of lion statues. This wall originally was external wallof palace in the reign of Phrajao Artittayaraj. They were the statue of fully-clothed lions opening their mouth andhaving long tongues. They were plastered with red paints and some parts were covered with gold and decorated withstained glass. Lanna people called it as “Redemption Lions”. Making lions statues as the protector of this religious place,according to belief of ancient India, was involved in the Srisakayamunee dynasty of the Buddha with lions as the emblem.So, lion was used to decorate Buddhism arts in almost every part such as the mast top of King Asoke, the Great, and thefoundation of Buddha image referred to as “Sing Foundation” or supporting the Satupa. Lions statues were also used toguard the temple like the doorkeeper. It influenced Lanna people for two centuries and there were many stories aboutlions in front of Wat Phitsadan different from legends of India or Siam. In front of Wat Phrathat HariphunchaiWoramahavihan before constructing “Khuamung” or the bridge with roof across Guang River (old Ping) to the side ofWiangyong in 2002 with its original name as “KuaThasing” named after the statues of “Redemption lion”, it’s noticeablethat this pair of lions stood in 4 legs which was different from other redemption lion statues generally found in LannaKingdom in the period influenced by Myanmar that sitting lions were preferred. สิงหค์ ู่ ราชสหี ์ หรือมคิ ราช ดา๎ นนอกกาแพงทิศตะวนั ออกใกลซ๎ มุ๎ โขงมรี าชสหี ์ 1 คํู แนวกาแพงวดั สํวนนเ้ี ดิมเป็นกาแพงชนั้ นอกวังสมยั พระเจ๎าอาทิตยราชเมอ่ื ถวายเป็นสังฆารามแล๎วไดร๎ อื้ ซ๎มุ ชั้นนอกออกปน้ั สิงหค์ หํู น่งึ ประดษิ ฐานไวแ๎ ทนเปน็ สิงห์ทรงเครื่องขนาดใหญํ ยืนอา๎ ปากกว๎างแลบลนิ้ ยาวกอํ อิฐฉาบปนู ระบายสีแดง บางสํวนปดิ ทองประดบั กระจกสี จากภาพถํายเกําพบวาํ สมัยประมาณรชั กาลที่ 5 – 7 เคยมลี วดถักเป็นตาขํายรดั ตัวสิงห์ไว๎มิให๎ชารดุ พร๎อมสรา๎ งศาลามีหลังคาคลมุ ใหส๎ งิ ห์หรือราชสหี ค์ นํู ซี้ ่งึ สร๎างขนึ้ พร๎อมกับซ๎ุมโขง ชาวล๎านนาเรียกสงิ หห์ น๎าวัดวาํ“สิงห์ไถํบาป ”การทารูปสงิ ห์ให๎เปน็ ผู๎เฝา้ ศาสนสถานนี้ ตามความเชื่อของอนิ เดียโบราณมคี วามเก่ยี วข๎องกบั ราชวงศศ์ รศี ากยมนุ ขี องพระสมั มาสัมพทุ ธเจา๎ ซึ่งมสี ิงห์เปน็ สัญลักษณ์ รปู สงิ ห์จึงถกู นามาใช๎ ตกแตํงงานพทุ ธศลิ ปใ์ นแทบทกุ สํวนนับ แตยํ อดเสาของพระเจ๎าอโศกมหาราช ฐานทร่ี ับรองพระพทุ ธรูปจึงเรียกวาํ “ฐานสงิ ห์” หรอื รองรับสถปู รวมไปถงึ การใชส๎ งิ ห์เฝา้ ดแู ลหนา๎ วัดเสมือนทวารบาล แตํตานานของชาวพมาํ ซง่ึ มอี ิทธพิ ลตํอชาวล๎านนาในชวํ งระยะเวลากวาํ สองศตวรรษ มเี รอื่ งเลาํ เก่ียวกับสงิ ห์หนา๎ วดั พิสดาร แปลกออกไปจากตานานของอนิ เดยี หรอื สยาม นั่นคอื เรื่องราวของสิงห์ไถบํ าป โดยผูกเรือ่ งให๎พระราชธิดาองคน์ อ๎ ยของพระราขาองค์หน่งึ สญู หายไปในขณะวง่ิ เลํนในเขตอุทยาน ทาให๎นางสงิ ห์ชุบเลย้ี งดูพระธดิ าเสมือนลูกไวน๎ านหลายปี ตอํ มาพระราชามาพบจึงพรากพระราชธดิ ากลับพระราชวงั อกี ฝ่ังทาให๎นางสงิ หท์ รมานใจ กรีด รอ๎ งโหยหวนและกลนั้ ใจตายดว๎ ยไมํสามารถจะขา๎ มแมนํ ้าติดตามราชธิดาไปสํพู ระราชวังอีกฝ่งั หน่งึ ไดเ๎ ป็นเหตุให๎พระราชาตอ๎ งสรา๎ งอนุสาวรียข์ องนางไวเ๎ พอ่ื ราลกึ วาํ คร้ังหน่งึ เคยมีพระคณุ ตํอ ราชธิดาเพือ่ เป็นการขอขมา จึงเรียกวํา “สิงหไ์ ถํบาป” ดังนั้นสิงห์ที่อยหํู นา๎ วัดของชาวพมํา และล๎านนาจึงมีลักษณะโกํงคอตะโกนร๎องเรียกหาลกู สาว บริเวณหนา๎ วัดพระธาตุหริภญุ ชั ยวรมหาวหิ ารกอํ นหนา๎ ทจี่ ะมีการสรา๎ ง “ ขัวมุง” หรอื สะพานท่มี หี ลังคาคลมุ ข๎ามแมํนา้ กวงไปสฝํู งั่ เวียงยอง เดิมเคยมชี อ่ื เปน็ “ ขัวทา่ สงิ ห์” โดยขนานนามตามรปู ปนั้ ของสงิ หไ์ ถํบาป

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Khong Arch or Khong Door It was the temple arch in four sides. In the past, Ancient India constructed 4 arches covering Satupareferred to as “Torana” but later in Kupta kingdom and after this, many religious places of both Buddhism andBrahmanism created “Kopura” as large arch with purpose to show direction of entrance to the temple or place of worshipwhich influenced arts of Khmer and Hariphunchai. Khong Arch had symbolic meaning that it was relationship betweenbuildings inside and outside religious places. Khong Arch acted like “media” bringing happiness and peace and it blockedbetween unrest outside and peace inside. It is the area where visitors had to change behaviors to be calm andappropriate. ซุม้ โขง หรอื ประตโู ขง เป็นประตูกาแพงวดั ที่ทาเปน็ ซุ๎มโค๎งสี่ดา๎ น ในอดีตยุคอินเดยี โบราณซ๎มุ ประตสู ท่ี ิศอบสถูป เรียกวาํ “โตรณะ” ตํอมาสมยั คปุตะและหลังคปุ ตะ ศาสนาสถานทั้งของพุทธและพราหมณ์มกี ารทา “โคปุระ” เปน็ ซ๎มุ ขนาดใหญํใช๎บอกเขตทางเขตหรือเทวาลยั ซ่งึ สงํอทิ ธพิ ลมาถึงศลิ ปกรรมของขอมและหรภิ ุญชัย ซ๎มุ โขงมีความหมายทางลกั ษณ์แสดงถงึ ความสัมพันธร์ ะหวํางอาคารภายในเขตศาสนสถานและบริเวณรอบนอก การสรา๎ งวัดในอุษาคเนย์ใชแ๎ กนดา๎ นทิศตะวันออกเป็นทิศหลกั มีศนู ย์กลางที่พระธาตเุ จดยี ์หมายถงึ แกนจกั รวาล ซม๎ุ โขงท่ีอยํทู างดา๎ นหนา๎ ของแนวแกนจงึ หมายถึง ทางเขา๎ สจํู ักรวาล การตกแตงํ ซ๎งุ โขงดว๎ ยลวดลายปนู ปัน้ วิจติ รพสิ ดาร ดว๎ ยลายเครือเถาและสตั วใ์ นจนิ ตนาการมคี ตหิ มายถงึ ปา่ หิมพานต์เป็นปา่ แหงํ ความอุดมสมบรู ณ์ การลอดผํานซุม๎ ผํานป่าหมิ พานตจ์ งึ มีนัยแฝงถงึ การกาลงั ไดเ๎ ขา๎ สํูภพที่ดี นัน้ คอื การไดเ๎ ขา๎ มาทาบญุ ในวดั เป็นตัดเรือ่ งราวความไมสํ บายใจ ใหว๎ างไว๎กอํ นทจ่ี ะลอดซุ๎มโขงเข๎าไปซุ๎มโขงจงึ ทาหน๎าที่เสมอื นสอื่ นาพาไปสูคํ วามสงบสขุ ทาหน๎าทเ่ี ปน็ ตัวกั้นระหวํางความไมํสงบภายนอกกบั ความไมสํ งบภายใน เป็นขอบเขตท่ที าใหผ๎ ๎ทู ีเ่ ขา๎ ไปภายในวัดต๎องปรบั เปล่ียนพฤติกรรมของตนเองใหม๎ ีความสารวมและเหมาะสม อกี นยั หนง่ึ หนา๎ ทข่ี องซุม๎ โขงนอกจากจะเปน็ เขตบอกทางเข๎าศาสนาสถานแล๎ว ยังทาหน๎าท่เี สมือนหอเทพหรือวิมารสงิ สถติ ของผบี รรพบุรุษ อนั เปน็ ลัทธดิ ้งั เดิมที่ชาวล๎านนาเคยนับถือกํอนหน๎าทจี่ ะเป็นพทุ ธศาสนิกชน กาแพงแกว๎ ของวัด ในตานานระบุวําพระเจา๎ ตโิ ลกราชโปรดให๎สร๎างซ๎ุมโขงประตูเพยี งสามดา๎ น คือ ตะวันออก เหนือ และใต๎ แตปํ ัจจบุ ันเหลือซมุ๎ โขงไมคํ รบสามทิศ กลาํ วคือทศิ เหนอื ไมเํ หลือรอํ งรอยเดมิ ในขณะทที่ างทิศใต๎พบซม๎ุ โขงระบชุ ื่อวาํ “ประตทู กั ษณิ สหี กร” มีรปู แบบทางสถาปตั ยกรรมท่ลี ดรูปลงไมํตกแตงํ อยาํ งอลังการเหมอื นปา่ หิมพานตข์ องซ๎ุมโขงด๎านทิศตะวนั ออก

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Royal Vihara Royal Vihara was constructed in 1511 with Phra Mueangkaew, King of Chiang Mai City, being kind enough to buildit on east side of Phrathat Hariphunchai. Renovation of Royal Vihara of Master Srivichai was to apply Rattanakosinarchitecture leading larger size of Royal Vihara. 1. Building plan was made in rectangular layout influenced layout in Rattanakosin Era such as ubosot of WatPhrasrirattanaSasadaram, Wat Sraket Woramahavihan, and Wat Rajsittharam etc. 2. Building structure was changed from woodworks to reinforced concrete in the main structure that wasquickly built such as mast, crossbeam and shaft because of numerous capital and royal craftsmen leading to the works ina perfect mixture between local craftsmen and royal craftsmen. 3. Roof was tiled with glazed tiles to decorate pediment influenced by central region. 4. Masts inside Vihara were special as they had square-round shape decorated with stained glass as patternslike in Central region also. Inside Vihara placed three large lacquered and golden Buddha Images and many middle-size metal-moldedBuddha images in Lanna Kingdom. What was important in this Royal Vihara was “PhraKaewKhao” or“ Phrasetangkamaneesri Hariphunchai” placed in the canopy. พระวหิ ารหลวง พระวหิ ารหลวงหลงั เดมิ สร๎าง พ.ศ. ๒๐๕๔ โดยหระเมืองแกว๎ กษัตริย์แหงํ นครเชยี งใหมํโปรดให๎สรา๎ งขน้ึ ทางด๎านทิศตะวันออกขององค์พระธาตหุ รภิ ญุ ชัย พงศาวดารโยนระบุวําหลังจากท่พี ระเมืองแก๎วได๎กระทาการบุทองแดงและลงรกั ปดิ ทองคาเปลวองค์พระเจดยี ์ “แล๎วเสรจ็ในวันอาทิตย์เดอื นแปด ข้นึ เจ็ดคา่ ปวี อก จัตวาศก จลุ ศักราช ๘๔๗ และให๎สรา๎ งวิหารหลวง ณ วดั พระธาตุเมอื งลาพนู ” หลกั ฐานภาพถํายเกาํพบวาํ รูปทรงของวหิ ารหลวงหลงั เดมิ สมยั ล๎านนานน้ั มแี ผนผงั อาคารเปน็ รปู ส่ีเหลย่ี มผนื ผา๎ เปิดผนังโลํงแบบอาคารโถงหรือท่เี รียกวํา วิหารโถงหรอื “ วหิ ารเปื๋อย” มีแนวผนงั ระเบยี ง กอํ อิฐฉาบปูนเตยี้ ๆรับกับแนวชายคาด๎านนอกสุด โครงสรา๎ งหลังคาแบบ “ ข่อื ม๎าตงั่ ไหม ”และยงั มีหม๎อปูรณฆฏะทีแ่ สดงถึงความอุดมสมบูรณข์ องสถานท่ีๆนนั้ หม๎อใบนี้มีทมี่ าจากเมอื งพะเยา และมคี าในภาษาสนั สฤติรวมกนั อยํู ๒ คา คอื ปูรณะที่แสดงถึงความบรบิ ูรณ์ และฆฏะทีห่ มายถึงหมอ๎ น้า และบริเวณหนา๎ วิหารและด๎านขา๎ งท้งั สองข๎างของวหิ ารหลวงมีการตกแตํงด๎วยโคมล๎านนาเพื่อความสวยงาม และจะมกี ารจุดประทีปในโคมตอํ เม่อื มงี านบุญตาํ งๆ ตํอมาเกดิ พายุพัดวหิ ารหลวงพงั ทลาย เหลือเพียงซากปรกั หักพงั ของพทุ ธปฏิมา การบรู ณะพระวหิ ารหลวง ของครบู าเจ๎าศรวี ชิ ัย ได๎นาเอารูปแบบศิลปะสถาปตั ยกรรมของกรงุ รัตนโกสนิ ทร์มาใช๎ คํอนขา๎ งมากจนกระท่งั พระวหิ ารหลวงหลังใหมมํ ขี นาดใหญกํ วําหลังเดิมมาก แตํไมไํ ดส๎ ร๎างดว๎ ยรปู แบบวหิ ารเป๋ือยดงั เดมิ ทวําเปน็ แบบวิหารปดิ ทางเหนอื เรยี กวาํ “ วิหารแบบมีปา๋ งเอก” ( มผี นัง ) มอี งคป์ ระกอบดงั น้ี ๑.ในสวํ นของผังอาคาร สร๎างขน้ึ บนแผนผงั รปู สีเ่ หล่ียมผืนผา๎ ไมมํ กี ารยํอเกจ็ ผงั พ้นื ขนาด ๕ หอ๎ ง มจี ุดเดนํ อยํทู ี่การตอํ แบบ“ พาไล ” หมายถึงแนวเสาเรยี งราย ออกมาจากผนงั วิหารดา๎ นนอกสามารถใชเ๎ ปน็ ลานประทักษิณโดยรอบพระวิหาร ลักษณะดังกลําว เป็นการรบัอทิ ธพิ ลมาจากแผนผังของสถาปัตยกรรมสมยั รตั นโกสนิ ทร์ เชนํ อโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม วัดสระเกศวรมหาวหิ าร วัดราชสทิ ธาราม เปน็ต๎น นอกจากน้แี ลว๎ พระวหิ ารหลวงวดั พระธาตุหรภิ ญุ ชัย ยังมีมุขระเบียงทางขนึ้ ทง้ั ทางด๎านหน๎า ดา๎ นหลัง และ ดา๎ นข๎าง ซงึ่ ไมเํ คยปรากฏมากํอนในศลิ ปะลา๎ นนา

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province ๒.โครงสร๎างอาคารเปลย่ี นจากเครื่องไม๎กอํ มาเปน็ แบบคอนกรีตเสริมเหลก็ ในสวํ นโครงสร๎างหลกั สร๎างดว๎ ยความรวดเร็ว เชนํ เสาขื่อ คาน เนอ่ื งจากมศี รัทธาทุนทรพั ยม์ าก และไดช๎ ํางฝมี อื จากค๎มุ หลวงเขา๎ มารํวมด๎วย ทาให๎เกิดผลงานที่ผสมผสานระหวาํ งชาํ งพน้ื บา๎ นและชํางจากค๎ุมหลวง กลําวคอื ยงั ใช๎โครงสรา๎ งแบบ “ ขอื่ ม๎าตั่งไหม ” ( ม๎าตั่งไหม ) อยเํู หมอื นเดิม แตํมีการเปล่ยี นแปลงระเบียบในการลดช้ันหลงั คาจากที่เคยชักชายปีกอํอนชอ๎ ยลงต่าใหแ๎ ขง็ ตรงดูอํอนโค๎งนอ๎ ยลง เพ่ือเนน๎ ความมั่นคงแขง็ แรง ในสํวนฝ้าเพดานปิดทึบ บนฝ้าเพดานประดับดว๎ ยลายฉลุปิดทองภาพเทพชมุ นุม ในสํวนของผนงั วหิ ารกํออิฐฉาบปนู ไปจนจรดขอบแป ๓.ในสํวนของหลงั คามงุ ด๎วยกระเบ้อื งเคลือบ ตกแตํงหน๎าบนั ( หรอื หน๎าแหนบในภาษเหนอื ) เปน็ แบบผนังหม๎ุ กลองแทนหนา๎ บันแบบขื่อม๎าตัง่ ไหม เนอื่ งจากรับอิทธิพลจากภาคกลาง ลวดลายภายในกรอบหนา๎ บันตกแตงํ เตม็ พน้ื ที่ ไมมํ กี ารแบํงชํองเป็นลูกฟกั เล็กๆ มีลักษณะผสมผสานระหวาํ งลวดลายพ้ืนเมือง เชนํ ลายดอกสบั ปะรด ลายเครอื เถา และลวดลายพันธุ์พฤกษาท่ยี ังคงความเป็นล๎านนาอยํู ผสมผสานกับลวดลายท่ไี ด๎รบั อิทธพิ ลจากภาคกลางอาทิชา๎ งไอยราสามเศียร หนมุ านตอํ สกู๎ นั เป็นคๆูํ ในลกั ษณะท่เี รียกวาํ “ ภาพจบั ” ลายเทพนม ลายกระหนกชํอหางโต ลายพุํมข๎าวบณิ ฑ์ ลายหน๎ากาล ( ราหูมุข ) ลายหน๎าเสือ วัสดุปพู ื้นหลังมที ้งั กระจกจืน หรอื “ จนื ดบิ ” ของล๎านนา และมที ง้ั กระจกสีสมยั ใหมํ ๔.เสาภายในวิหารมคี วามพเิ ศษคือใชเ๎ สาเหลย่ี มผสมเสากลม ประดบั ด๎วยกระจกสีเปน็ ลวดลาย ประดิษฐ์แบบภาคกลางเชํนกนั อาทิลายเทพนม ลายพุมํ ข๎าวบิณฑ์ บริเวณเสา ซ๎มุ ประตู หน๎าตําง หน๎าบัน คันทวย มกี ารพัฒนาการในเรื่องเทคนคิ โดยใช๎วธิ กี ารหลํอแบบพิมพเ์ พ่อืความรวดเร็ว จากน้ันระบายสีปิดทองและติดกระจก ภายในวหิ ารหลวงประดษิ ฐานพระปฏิมาใหญกํ อํ อิฐถอื ปนู ลงรักปิดทองบนแทํนแก๎วรวม ๓ องค์ และพระปฏมิ าหลอํ โลหะขนาดกลางสมยั ล๎านนาตอนต๎นอกี หลายองค์ ส่งิ สาคญั ภายในพระวิหารหลวงคือ “ พระแกว๎ ขาว ” หรอื “ พระเสตงั คมณศี รีเมืองหรภิ ญุ ชยั ” ทีป่ ระดิษฐานในบุษบก

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Tripitaka Hall or “HorDharmluang” Tripitaka hall or “HorDharmluang” in northern region was located in southeast of PhrathatHariphunchai with construction history appeared in “Hariphinchapuri inscription” found at Wat PhrathatHariphunchai Woramahavihan with register No. Lor.Por. 15. Currently, it’s stored in exhibition room ofHariphunchai national Museum. During the age Master Srivichai repaired and modified concrete on both sides ofNaga ascent stairs where “Singmom” stutue, creature mixed from cat, tiger and dog, was placed aside the stairs.Mom was an imaginary creature among Thailue- Thaiyong Group from Sibsongpanna. หอพระไตรปิฎก หอพระไตรปิฎก ทางภาคเหนอื เรยี กวํา “ หอธรรมหลวง ” ตง้ั อยทํู ิศตะวันออกเฉยี งใต๎ขององค์พระธาตุหรภิ ุญชยั มีประวัตกิ ารกอํ สรา๎ งปรากฏตามหลกั ฐาน “ ศลิ าจารกึ หริปุญชปรุ ี ”พบท่ีวัดพระธาตหุ ริภญุ ชัยวรมหาวหิ าร เลขทะเบยี น ลพ.๑๕ ปจั จุบันเกบ็ รักษาไว๎ ที่ห๎องจัดแสดงของ พพิ ิธภัณฑสถานแหงํ ชาติ หริภญุ ชัยวาํ สรา๎ งโดยพระเมืองแก๎ว ( พ.ศ. ๒๐๓๘-๒๐๖๘ ) กษัตริยผ์ ูค๎ รองเมืองเชยี งใหมพํ ร๎อมด๎วยพระราชมารดา ลกั ษณะการสรา๎ งหอไตรทรงสงู บนผงั ส่ีเหลยี่ มผืนผ๎าเชนํ น้ี ถือวําเป็นรูปแบบเฉพาะของหอธรรมลา๎ นนา ส่งิ ทีเ่ ป็นผลงานการบรู ณะหอธรรมหลวง ของครูบาเจา๎ ศรีวชิ ยั ปรากฏอยใํู นสวํ นตาํ งๆดังนี้คือ การทารูปหนา๎ กาลหรือราหู ผ๎พู ิทักษศ์ าสนสถานบนหน๎าบัน รูปเทวดาประณมกรหรอื เทวดายืนแทนํ ถือพระขรรคท์ ีบ่ านพระทวาร การตกแตงํ ผนงั อาคารดว๎ ยดอกไม๎ทพิ ย์อยํใู นกรอบลายพมํุ ข๎าวบณิ ฑ์ หมายถึงความอดุ มสมบรู ณ์ในยคุ ที่ครบู าเจ๎าศรวี ิชัยได๎มกี ารตํอเติมซอํ มเสรมิ ในสวํ นของปูนป้ัน ท่สี องขา๎ งบันไดนาคทางขึน้ ชน้ั บนน้ัน ไดม๎ ีการนารปู ตวั “ สงิ ห์มอม ” สตั ว์ผสมระหวาํ งแมว เสอื สุนัข ไวท๎ ่ผี นังข๎างบันได มอมเปน็ สัตวใ์ นจนิ ตนาการทน่ี ยิ มทาในหมูชํ าวไทล้อื -ไทยอง จากสบิ สองปนั นา

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Sumeru Mountain Model “Sumeru Mountain” was originated from Hindu located on southeast side of Phrathat Hariphunchai orlocated on west side of Tripitaka Hall. Aside Tripitaka Hall placed the statues of elephant crouching beside thepond with liveliness. Ponds in 4 directions in Buddhavas Area would have clear water all year long like pondsaround Sumeru Mountain. เขาพระสเุ มรจุ าลอง “เขาพระสเุ มร”ุ นั้นมที ม่ี าจากศาสนาฮินดู ตง้ั อยํทู างด๎านทศิ ตะวันออกเฉยี งใต๎ ของพระบรมธาตเุ จดียศ์ รีหริภุญชัย หรือตั้งทางทิศตะวันตกของหอไตร หรือขา๎ งหอไตรมีรูปปน้ั ชา๎ ง หมอบอยขูํ ๎องบอํ น้าลักษณะมชี ีวิตชีวามาก บอํ น้าในเขตพุทธาวาสนี้มีประจาทง้ั ๔ ทิศ เปน็บํอทม่ี นี ้าใสตลอดปีเทียบไดก๎ บั สระทง้ั ส่ที ี่รายลอ๎ มเขาพระสุเมรุ เขาพระเสมรุ(สิเนรุ)จาลองขนาดยอํ ม ตัง้ อยูบํ นพืน้ ดินไมมํ ฐี านรองรบัสวํ นลํางกํออิฐถือปนู เป็นทรงกลมระบายสชี าดแดง ดา๎ นบนหลํอด๎วยทองคาสาริดลดหลัน่ ข้นึ ไปเป็นวงกต ๗ ช้ัน ลักษณะของการล๎อมรอบเขาพระสเุ มรุท้ัง ๗ ชั้น ประกอบด๎วย ๑.ยุคนธร ๒.อสิ นิ ธร ๓.กรวนิ ๔.สทุ สั สนะ ๕.เนมินทร๖.วนิ ันตกะ ๗.อัสกนั ซง่ึ ชาวล๎านนามปี ะวัติความเป็นมาผูกพนั กบั “นาค” อยํางมากเหน็ ไดจ๎ ากความนยิ มทา “สตั ตภัณฑ์” หรอื เชิงเทียน ๗ ก๎านประดษิ ฐานตามพระวหิ ารเพือ่ ใช๎ในการสักการะไตรรัตน์ ระหวํางเขาแตํละชน้ั นนั้ มีเกษียรสมุทรคั่นสลบั สัตตบรภิ ณั ฑน์ ้ชี าํ งได๎แกะสลักรูปเปน็ รูปป่าซงึ่ เปน็ ทอ่ี ยํูของพวกอสูรที่ถกู พระอินทร์ขับไลํลงมาจากสวรรค์ช้นั ดวงดงึ ส์ ลวดลายมคี วามละเอียดอํอนในองคป์ ระกอบท่ีเป็นปา่ ไมส๎ ตั ว์และเหลําอสูร สวํ นยอดบนสดุ เปน็ปราสาทหลํอสารดิ ปดิ ทอง ขนาดเลก็ ทรงหกเหล่ยี ม แตํละดา๎ นมซี ๎มุ โขงเปิดโลํงถึงกนั หมด ปราสาทจาลองนค้ี ือ ไพชยนต์ มหาปราสาท อันเปน็ ทีส่ ถิตประทบั ของพระอศิ วร หรอื ตํอมาถูกแปลงเปน็ พระอนิ ทร์ เทวดาในศาสนาพทุ ธท่มี หี น๎าทีค่ อยดูแลความสงบสุขให๎แกชํ าวโลกทง้ั ยังคอยชวํ ยเหลือผม๎ู บี ญุ ทีต่ กทกุ ข์ได๎ยาก

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Phrathat Chedi Hariphunchai Phrathat Chedi Hariphunchai was architecture in Lanna kingdom that highly influenced the concept ofMaster Srivichai Conclusively, the first work of Master Sivichai in Wat Phrathat Hariphunchai was collaboratingto renovate Phrathat Hariphunchai. Lamphun people donated a great deal of brass plates at that time and MasterSrivichai received money and donation for 480 Baht. The second work piece was decorating patterns in front ofRoyal Vihara with 1,000 Baht. Renovation of Royal Vihara was an essential work of Master Srivichai with urgentoperation to bring morale and encouragement to Lamphun people.Components of apex part - Harmika : northern people called it as “TaenKaew”. It’s next to the bell like the throne of Buddha - Kanchat - Plongchanai - Chatravalee - MednamkhangElements around Phrathat Hariphunchai The surrounding elements made Phrathat Hariphunchai to look even more magnificent including - Sattibunchorn (balcony fence) or Lamwiang was used to prevent evil spirits not to harm Phrathat - Stupa-shaped urn - Samphaothong was a symbol of trespassing transmigration - Royal many-tiered umbrella - 4-direction tower - Giant Parlor (Angel protecting Phrathat) องคพ์ ระบรมธาตหุ รภิ ุญชัย องค์พระบรมธาตหุ รภิ ญุ ชัยมีลักษณะศิลปะแบบล๎านนาภายในบรรจุพระเกศบรมธาตุในโกศทองคา เชือ่ กันวาํ หากเดนิ ทางมาสกั การะสกั ครัง้ จะทาใหป๎ ระสบความสาเรจ็ ตามท่ปี รารถนา และจะชวํ ยสงํ เสริมให๎ชวี ิตมีความสาเรจ็ เจรญิ รํงุ เรือง องค์พระบรมธาตุหรภิ ญุ ชัยเป็นผลงาน ช้นิ แรกสดุ ของครูบาเจา๎ ศรวี ชิ ัยในวัดพระธาตหุ ริภุญชยั ก็คอื การมีสวํ นรํวมในการบรู ณปฏสิ งั ขรณอ์ งค์พระธาตุเจดีย์หริภุญชัยนัน่ เอง โดยชาวลาพูนรํวมกันบรจิ าคแผํนทองจังโกจานวนมหาศาล ในคร้ังนนั้ ครูบาเจา๎ ศรวี ชิ ัยได๎รบั เงินและรํวมบญุ รวบรวมได๎๔๘๐ บาทองคป์ ระกอบของพระบรมธาตุหรภิ ุญชัยส่วนฐาน ฐานเจดียข์ องศิลปะล๎านนามีลักษณะโดดเดํน คือเปน็ ฐานสงู ลดหล่ันสอบข้นึ ไป แบงํ ไดเ๎ ป็นฐานชว่ งที่ ๑ : ฐานเขยี ง (ฐานหน๎าพิง) ๓ ชั้น ฐานชน้ั ลํางสุดเป็นฐานเขยี งในผังส่ีเหลย่ี ม ถัดขึ้นมาอกี สองชั้นเป็นฐานเขียงในผังยกเกจ็ ซ่ึงฐานเขยี งทาหน๎าทป่ี รบั ฐานเจดียใ์ ห๎เรยี บสม่าเสมอและรับน้าหนักของเจดยี ท์ ง้ั องค์ เปน็ ฐานทย่ี กและแยกองค์เจดยี ข์ น้ึ พน๎ จากระดับชัน้ ดินอยํางชัดเจน

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province ฐานชว่ งท่ี ๒ : ฐานบวั สองฐานซอ้ นกนั และ ยอ่ เก็จแบบลา้ นนา เกดิ จากการนาฐานบวั คว่า-บวั หงายมาลดรูปและปรบปรงุ คัน่ กลางด๎วยทอ๎ งไม๎ รวมแลว๎ มุมหน่ึงจะยํอเก็จ ๗ แนว สวํ นยอดของแตลํ ะแนวประดบั ดว๎ นกระดึงทองคล๎ายรูปสาเภาสามเหลีย่ มรวมทัง้ สิน้ ๒๘ ใบองคป์ ระกอบของพระบรมธาตุหรภิ ญุ ชยั สว่ นกลางฐานชว่ งท่ี ๑ : ฐานหนา้ กระดานทรงกลมเรยี บ ๓ ชัน้ ซ่ึงตัง้ อยํบู นฐานบัวยอํ เก็จ ฐานชว่ งที่ ๒ : ฐานบัวลูกแกว้ ทรงกรม หรือ มาลยั ลูกแกว้ ซ้อนกนั ๓ ช้นั ซึง่ แตลํ ะชนั้ มีสํวนประกอบของบัวคว่า-บวั หงาย คอื หน๎ากระดาน ลวดบัว บัวคว่า บัวหงาย และประดบั ทอ๎ งไมด๎ ว๎ ยลูกแก๎วอกไกํ ๒ เสน๎ เปน็ จานวนเทํากัน แตํมขี นาดเล็กลดหลั่นตามรูปทรงของพระเจดีย์ทส่ี อบข้นึ ไปจนถึงฐานองค์ระฆัง องค์ระฆัง :ภาษาสนั สกฤตใช๎คาวํา “ครรภธาตุ” เปน็ สํวนท่ีสาคญั ที่สุดขององค์พระเจดีย์ โดยปกติเป็นสํวนท่บี รรจพุ ระบรมสารรี ิกธาตใุ นผอบ แตํในทนี่ ี้มไิ ด๎ย๎ายผอบบรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตทุ ี่พระเจ๎าอาทิตยราชทรงประดิษฐานไว๎ เปน็ เพยี งการครอบทับพระมณฑปทรงปราสาทไว๎ข๎างในองคร์ ะฆังทาเป็นทรงกลมประดบั ด๎วยลวดลายของดอกประจายามโดยรอบแปดทศิ เรยี กลายกระจังกลบี บัวบานระหวาํ งลายกระจงั กลีบบวั บาน มีการดนุนนู เป็นภาพพระพุทธเจ๎าแปดทศิ รอบองค์ระฆงั เปน็ พระลลี าและประทับยืนปางถวายเนตร องคป์ ระกอบของพระบรมธาตุหริภญุ ชยั ส่วนยอดบัลลงั ก์ :ชาวเหนือเรยี กวํา “แทน่ แก้ว” อยูถํ ัดจากองค์ระฆงั ขน้ึ ไป เปรียบเสมือนที่ประทับของพระพทุ ธเจา๎ กา้ นฉัตร : อยูํเหนอื บัลลงั ก์ มีก๎านฉัตรทองฉลลุ าย ๑ ชั้น หอ๎ ยกระดึงต๎ุงตง้ิ โดยรอบ มศี พั ท์เฉพาะเรียกวาํ “ฉัตรคอน้า” ปล้องไฉน : ภาษาเหนอื เรียก “สรไน” (สะระไน) อยูํถัดจากชัน้ ระบายฉตั ร ประกอบดว๎ ยวงลูกแกว๎ เสน๎ กลมหรอื บวั ลกู แก๎วซอ๎ นจากใหญไํ ปหาเลก็ ปรียอด : หรือ “มานปลี” คอื สํวนยอดบนสุดขององค์พระเจดีย์ เปน็ รปู กรวยลาเพรียวแหลมขึ้นไปองค์ประกอบรายล้อมองคพ์ ระบรมธาตหุ รภิ ุญชยั - สัตติบัญชร (ร้ัวระเบยี งหอก) หรอื ลาเวียง ณ ลานดา๎ นลาํ งสาหรับเดนิ ประทักษิณ ๒ ชน้ั คมหอกคมดาบทแี่ หลมเหมอื นใช๎เป็นเครอ่ื งปอ้ งกนั ภูตผปี ศี าจ ไมใํ หเ๎ ข๎ามาทาอันตรายแกพํ ระธาตุ สรา๎ งเมื่อปี พ.ศ.๒๐๕๔ โดยพระเมอื งแกว๎ กษตั ริยน์ ครเชยี งใหมํ - โกศทรงสถูป หรือเจดยี จ์ าลองทัง้ สีม่ มุ ท่ฐี านเขยี งช้นั ลํางสดุ หมายถึงเขาพระสุเมรุ มี ๕ ยอด นับรวมกับองคก์ ลางคอื เจดีย์ประธาน - สาเภาทอง ประดษิ ฐานอยปูํ ระจารัว้ ชัน้ ในทศิ เหนือและทิศใต๎ พรอ๎ มโคมปราสาท และแทํนบูชาประจาทิศทงั้ ๘ - ฉตั รหลวง เป็นเครอ่ื งสูงประกอบพระเกยี รติยศ เป็นฉัตร ๙ ชน้ั ครอบด๎วยทองทา แกะสลกั ฉลลุ ายด๎วยแผํนทองจงั โก ประดับไวท๎ ง้ั ๔ มุม - หอยอประจาทัง้ ๔ ดา้ น ภายในหอยอมพี ระพุทธรูปประทบั น่งั ปางมารวิชัย เปน็ สญั ลกั ษณ์แหํงการปราบกิเลสมาร - ซุ้มกมุ ภณั ฑ์ (เทวดาเฝ้าพระธาตุ) สร๎างไว๎ประจามุมทัง้ ๔ ทศิ

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Suwan Chedi or Pathumwadee Chedi It is a pagoda that Queen Pathumwadee, the wife of PhayaArthitayaraj, was kind enough to construct itafter PhayaArthitayaraj constructed Buddha’s relics Chedi for 4 years. It was located on northwest side for 50-meter far from Phrathat near Glass Wall. Lamphun people called it as SuwanChedi “Phrathat Liam”, “That Liam” or“PathumwadeeChedi”. It’s been said that in the past, there would be cerebration with traditional dancing in 4thmonth of northern region (6th month of central region) which was the period after harvesting in every year.Currently, this ceremony disappeared. The characteristic of Buddha image in the arch was found to reshape theface from square to oval shape in Lanna style and to make eyebrows thick and connected with protruding eyesglancing down, flat and big nose, wide and thick mouth, mustache line and hair line. Over the forehead was roundUrana with small hair knots and plain Usaniya cone aside the head that was bulging. The body was covered withthin and plain outer robe and girdle-cloth. This was the characteristics of Hariphunchai-style Dhavaravati Art.The top of pagoda was made in shape of lotus petal with multitier pollens alternate with Plongchanai in squareshape. This was important evidence to show why the top part of SuwanakotChedi at Wat Cham Dhevi was missing. สวุ รรณเจดยี ์ หรอื ปทุมวดีเจดีย์ เป็นเจดียท์ ่พี ระนางปทุมวดี อคั รมเหสขี องพญาอาทิตยราช ทรงโปรดให๎สร๎างข้ึนหลังจากท่ีสร๎างพระบรมธาตเุ จดยี ไ์ ด๎ ๔ ปี ตั้งอยทูํ างด๎านทิศตะวันตกเฉียงเหนอื ขององค์พระธาตุ ในระยะหาํ ง ๕๐ เมตร ตดิ กับแนวกาแพงแกว๎ หรือศาลาบาตร ซงึ่ ชาวลาพนู เรียกสวุ รรณเจดียว์ าํ “พระธาตุเหล่ยี ม” “ธาตเุ หล่ียม” หรอื “ปทุมวดีเจดีย์” รูปทรงของเจดยี ์เป็นการยํอสํวนมาจากเจดียท์ รงปราสาทสีเ่ หลี่ยมขน้ั บันไดของ “สุวรรณจงั โกฏเจดยี ์”(กูกํ ฏุ ิ) ที่วดั จามเทวแี ตํมีรายละเอยี ดน๎อยกวาํ ฐานกวา๎ งประมาณ ๖ เมตร กว๎าง ๑๔ เมตร องคเ์ จดีย์สรา๎ งด๎วยศิลาแดงผสมอฐิ ในผังทรงสีเ่ หลีย่ มซ๎อนเหลื่อมกนั ๕ ชั้น เรอื นพระธาตุแตํละชั้นประดบั ซม๎ุ จระนา (ซม๎ุ พระพทุ ธรูป) ดา๎ นละ ๓ ซ๎ุม ช้ันละ ๑๒ ซ๎ุม รวมท้งั สน้ิ ๖๐ ซุ๎ม ซ่งึ จะประดิษฐานพระพทุ ธรปู ประทับยนื เปน็ ศลิ ปะหรภิ ุญชัย ทาด๎วยปนู ป้นั มีแกนเป็นอฐิ พบรํองรอยการลงรักปดิ ทอง และการบรู ณะใหมดํ ๎วยการพอปูนป้ันทบั ในยคุหลัง ปจั จบุ นั มีพระพุทธรปู ปางประทานอภยั ดว๎ ยการยกพระหตั ถ์ขวาเหนือพระอรุ ะเหลอื อยํูบ๎างเพยี งไมกํ ่ีซมุ๎ รวมท้งั หมด ๖๐ องค์ ซงึ่ นาํ จะหมายถึงจานวนของพระอรหนั ต์ ๖๐ รูปทีบ่ รรลุธรรมในพรรษาแรกของการตรัสรข๎ู องพระพทุ ธเจ๎า สํวนยอดของเจดีย์ทาเปน็ กลีบบวั กลํุมประดับเกสรบัวซอ๎ นช้ันกนั ขึน้ ไปหลายชัน้ สลับกัลปลอ๎ งไฉนในรปู ทรงสเ่ี หลี่ยม อนั เป็นหลักฐานสาคัญที่ชวํ ยไขปรศิ นาของปลียอดท่ีหกั หายไปของ “สวุ รรณโกฏเจดีย์” วดั จามเทวีเป็นอยํางดี

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Metal Gong Tower Metal Gong tower in the inscription was referred to as “Hor La Kangsadan” located on north side of RoyalVihara or northeast side of Buddha’s relic Chedi. Its original shape was short wooden posts with a piece of wood lying ontwo posts. This wooden stick was used to hit the Gong. Later, two posts were changed with concreting and the largeround bell which Lanna people called it “Kangsadan” was hung. This round bell was molded in 1870 in the reign of 4th king.The molder was a revere monk from Prae City named “Master MahapaKanchana” from WatSungmen. The molding placewas Wat Phrasing Chiang Mai as offering to Phratha tLuangLamphun. So, it was named as “Three-city Bell Tower” Later, the posts where the bell was hung were worn out, so they were removed and the new Bell tower wasconstructed as appeared in present. It was the location of HorPhranak which was originally the location ofHorPhrakaewKhao in Hariphunchai era. This bell tower later became the remarkable symbol of Wat Phrathat Hariphunchai. The objectives of hittingthe Gong or Kangsadan was different from general temples. Hitting bells that were placed orderly was to give signal forspirits of predecessors to receive merit. However, hitting Kangsadan would be in important ceremonies only such asgiving signal while welcoming personage traveling to this temple or the consoling ceremony of Royal Nak etc. หอกังสดาล หอกงั สดาล หรือหอระฆงั ซึง่ ในจารึกเขียนวาํ หอหละกังสะดาน ตั้งอยดูํ ๎านทศิ เหนอื ของวิหารหลวง หรือทางทศิ ตะวนั ออกฉยี งเหนือของพระบรมธาตเุ จดยี ์ เดิมมรี ปู ทรงเป็นเสาไม๎เต้ยี ๆสองต๎นมีไมท๎ ํอนหนึ่งวางพาดอยํู ไมท๎ อํ นนี้คอื ไมส๎ าหรบั ใชต๎ ฆี อ๎ ง ตํอมาเสาเปล่ยี นเปน็ กํออฐิ ฉาบปูน ๒ ตน๎ แขวนระฆังแผนํ กลมหรอื ชาวล๎านนาเรียกวาํ “กงั สดาร” ขนาดใหญไํ ว๎ ซึง่ หลํอขนึ้ ราว พ.ศ.๒๔๑๓ สมัยราชการที่ ๔ โดยผูห๎ ลํอเปน็ พระผ๎ใู หญํจากเมอื งแพรํช่อื “ครบู ามหาป่ากญั จนะ” จากวดั สุงํ เมนํ (สงู เมนํ ) ใช๎สถานทห่ี ลอํ ณ วัดพระสงิ คเ์ ชียงใหมํ แตํถวายแดพํ ระธาตุหลวงลาพูน จงึ ไดร๎ บั ฉายาวาํ “หอระฆงั สามนคร” ตํอมาเสาที่แขวนกังสดาลชารดุ ลง ภายหลงั จึงมีการร้ือถอนและสร๎างหอกังสดาลข้ึนใหมํดังปรากฏอยูํในปัจจบุ นั โดยใชส๎ ถานท่ีหอพระนาคซึง่ เดิมในสมัยหรภิ ญุ ชัยเปน็ ท่ีตงั้ ของหอพระแก๎วขาว หอกงั สดาลรปู แบบปัจจบุ นั สร๎างโดยพระครูพทิ กั ษเ์ จตยิ านุกิจ หรอื ครบู าคาฟู เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๑ โดยใช๎เงนิ ๑๘๐ รูปี เป็นอาคารโลํงสงู ๒ ชน้ัมที างข้นึ หนั สูํทิศตะวันตกเพ่อื แสดงความสักการะแดพํ ระบรมธาตหุ รภิ ญุ ชยั ช้ันบนแขวนระฆงั ที่หลอํ สมยั เจา๎ หลวงดาราดเิ รกรตั นไ์ พโรจน์ เจา๎ ผ๎คู รองนครลาพูนองค์ที่ ๗ (พ.ศ.๒๔๑๔-๒๔๓๑) แตํเดมิ ระฆงั เคยแขวนอยํูใต๎หอทางทศิ ตะวันออกเฉียงใต๎ของพระวหิ ารหลวง ณ บรเิ วณหอกลองเภรี ปัจจบุ นั สํวนลํางแขวนฆ๎องหรอื กงั สดาลขนาดใหญํ หลายทํานอาจเช่อื วาํ นาํ จะเปน็ กงั สดาลทีม่ ขี นาดใหญทํ ส่ี ุดในประเทศไทย ใช๎ทองสารดิ หนกั ถึง ๗๒๙,๐๐๐ ตาลงึ หลํอสมัยเจ๎า กาวโิ ลรสสุริยวงค์ เจา๎ ผ๎ูครองนครเชยี งใหมํองค์ที่ ๖ (พ.ศ.๒๓๙๙-๒๔๑๓) โดยครูบาเฒํา แหงํ วัดสงู แมํนเมอื งแพรํ หรอื ครูบากัญจนะ สถานทห่ี ลอํคือวดั พระสิงห์ มีจารึกอกั ษรไทลา๎ นนาแบบฝกั ขาม ปรากฏอยํูบนกังสดาล ระบถุ ึงปวี อก โทศกจุลศกั ราช ๑๒๒๒ อนั ตรงกับ พ.ศ.๒๔๐๓ อยใูํ นสมัยรชั กาลท่ี๔หอกังสกาลแหงํ น้ตี ํอมาไดก๎ ลายเป็นสญั ลกั ษณอ์ ันโดดเดํนของวัดพระธาตุหรภิ ุญชัย วตั ถปุ ระสงคข์ องการล่นั ฆอ๎ งหรือกงั สดาลนน้ั ตาํ งจากการตีระฆงั วัดท่วั ไป การตีที่วางเรียงรายหลายใบเปน็ การสงํ สัญญาณบอกบุญให๎แกํวญิ ญาณบรรพบุรษุ ผล๎ู วํ งลบั ใหม๎ ารับบุญนน้ั แตกํ ารลน่ั กังสดาล จะใชเ๎ ฉพาะในพิธีกรรมสาคัญเทํานัน้ เชํน ให๎สญั ญาณขณะต๎อนรับบุคคลสาคญั ทกี่ าลงั เดนิ ทางมาถึงวดันี้ หรอื ใชท๎ าพิธีรับขวญั นาคหลวง เปน็ ตน๎

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Phrajao Thongthip Ubosot It was located outside the wall on east side. It was large-scale Ubosot where at least 150 monkscould enter. It had portico at the front with 2-tiered roof and balcony on northern side- it’s influenced byRattanakosin Style. This Ubosot was used to be monks’ assembly in lent and off-lent periods. Monks inNaimueang District will assemble here every year. อุโบสถพระเจ้าทองทพิ ย์ อุโบสถ์แหํงน้ีต้งั อยนูํ อกกาแพงวดั ด๎านทศิ ตะวันออก เป็นพระอุโบสถขนาดใหญํ บรรจพุ ระสงฆ์ไดไ๎ มตํ ่ากวํา ๑๕๐ รูป มมี ขุ ยืน่ดา๎ นหนา๎ หลังคาซ๎อนกนั ๒ ชนั้ มรี ะเบยี งเปดิ พาไลด๎านเหนือ-ใตแ๎ บบรัตนโกสินทร์ ภายในมคี ้ายนั รูปรปู หนุมานสูก๎ นั ๒ ตวั พระเจา๎ ทองทพิ ย์ พระประธารหลํอสารดิ ลงรกั ปดิ ทอง ศลิ ปะล๎านนาสรา๎ งราวสมัยพระเจา๎ ติโลกราชถงึ สมัยพระยายอดเชยี งรายประดษิ ฐานในมณฑปโขงพระเจา๎ ซึง่ พลตรีเจ๎าจักรคาขจรศกั ด์ิ ได๎อญั เชิญพระพุทธรูปองค์นมี้ าจากวัดหนองหนาม ตาบลบา๎ นแป้น อาเภอเมือง จังหวดั ลาพูน พระอุโบสถน้ีใชเ๎ ปน็ ท่ปี ระชมุ สงฆค์ รงั้ ใหญํ ในฤดูเขา๎ พรรษาและออกพรรษา โดยพระภกิ ษสุ งฆ์เขตตาบลในเมอื งจะมาประชุมกันเป็นปกติทุกปี

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Buddha Vihara It’s located on southern part of PhrathatHariphunchai with legend thatit was constructed in the reign of PhraMueangKetkao or Phramueang Ai (1525-1538), the 13th king of Mungrai Dynasty. He was kind enough to construct Viharaon the south of PhrathatHariphunchai where large Manwichai Buddha imagein Lanna kingdom was equipped inside. It’s lacquered and placed gold and namedas “Phra Buddha”. There was an observation that “Buddha Vihara” appearedin WatPhrathatLampangLuang on the southern part also. วหิ ารพระพทุ ธ ต้งั อยํทู างด๎านทศิ ใต๎ขององคพ์ ระธาตุหรภิ ญุ ชยั ในตานานระบวุ าํ สร๎างในสมัยพระเมืองเกษเกลา๎ หรอื พระเมอื งอา๎ ย (พ.ศ.๒๐๖๘-๒๐๘๑) รัชกาลท่ี ๑๓ แหํงราชวงศ์มงั ราย โดยโปรดให๎สร๎างวหิ ารประจาทศิ ใต๎ของพระธาตุหริภุญชยั ภายในประดิษฐานพระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ัยขนาดใหญํสมัยล๎านนา ลงรักปิดทอง เรียกวํา “พระพทุ ธ ”

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province PhraLavoVihara It’s located on northern part of PhrathatHariphunchai and currently, it’sused to be the place for Dharma Practices of Buddhists that stayed at thetemple during lent period. It was renovated many times and inside placed largestanding Buddha image named “PhraLavo” from the legend of oral story ofWatThongsaja. It reflected relationship between Hariphunchai City and Lavo City such asWatPhrathat LampangLuang where affiliated cities of Hariphunchai Kingdomwere in the same era of Queen Cham Dhevi. วิหารพระละโว้ ตงั้ อยทูํ างทิศเหนือขององคพ์ ระธาตุหรภิ ุญชัย ปัจจุบนั ใชเ๎ ป็นสถานท่ปี ฏบิ ัติธรรมของศรัทธาสาธชุ นที่ถอื อุโบสถศีลนอนวดั ระหวาํ งชวํ งพรรษากาล ได๎รับการบูรณปฏิสังขรณห์ ลายครั้ง ภายในประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปยนื ขนาดใหญํเรยี กวาํ“พระละโว้ ” ตามตานานเลําวําพระนางจามเทวไี ดอ๎ ญั เชิญพระพทุ ธรปู ปางอม๎ุ บาตรจากเมืองละโว๎มาสององค์ องคเ์ ล็กให๎ประดิษฐานในวิหารเลก็ วดั หลวง (คอื วัดพระธาตหุ ริภญุ ชัย) แล๎วประดิษฐานตุงใหก๎ วดั แกวงํ ไปทวั่ เมือง หากตงุ (ธง) ไปตดิ ตั้ง ณ บรเิ วณใดจะโปรดให๎สรา๎ งวัดอีกแหงํ ณ บรเิ วณน้นั พรอ๎ มให๎อญั เชญิ พระพุทธรูปยนื ปางอม๎ุ บาตรองคใ์ หญํไปประดิษฐานในวิหารวดั นน้ั น่ันกค็ ือ “วดั ตงุ สัจจะ” หรือวัดธงสจั จะ นนั่ เองมีข๎อนําสังเกตวํา ชอื่ เรียก “วิหารพระละโว๎” นี้ยงั ปรากฏอยทูํ ว่ั ไปในเขตลาพนู -ลาปาง-เชยี งใหมํ สะท๎อนถึงความสัมพันธใ์ นอดตี ระหวาํ งนครหรภิ ญุ ชยั กับเมอื งละโว๎ เชํนท่ีวัดพระธาตลุ าปางหลวง

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province PhrajaoThanjai It’s located in west side of Phrathat Hariphunchai where PhrajaoThanjai,the Buddha image in Kingdom Lanna in posture of standing and holding alms-bowlor “AumAo” as called by Lanna people, was placed inside. วิหารพระเจ้าทันใจ ต้ังอยูํทางดา๎ นทศิ ตะวนั ตกขององคพ์ ระธาตหุ รภิ ุญชยั ภายในประดิษฐานพระเจ๎าทันใจเป็นพระพทุ ธรูปปฏิมาประทับยนื ปางอ๎มุ บาตร หรอื ท่ีชาวลา๎ นนาเรยี กวาํ “ปางอุ้มโอ”เช่อื วําจากการบูรณะวิหารพระเจ๎าทนั ใจซึ่งประดษิ ฐาน “พระเจ๎าทนั ใจ” องคส์ าคญั ยิง่ น้ีเองทสี่ ํงผลใหต๎ อํ มาครบู าเจา๎ ศรีวิชัยได๎รับแนวคดิ การสรา๎ งปชู นียวัตถแุ ละปูชนียสถานให๎สาเร็จเรียบร๎อยในเวลาอันรวดเรว็ ฉับพลันทันดวํ น เกิดความนิยมในการสร๎าง “พระธาตุทันใจ” ทีส่ าเรจ็ภายในไมํกวี่ นั และการสรา๎ ง “พระเจา๎ ทนั ใจ” ประดษิ ฐานภายในวหิ ารตาํ งๆ ทที่ ํานไปบูรณปฏสิ งั ขรณ์

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Province Vihara of Siroi Buddha’s footprint It’s located behind Buddha Vihara on southwest of Phrathat. It wasconstructed after the renovation of Royal Vihara due to storm by duplicatingthe model from WatPhra Buddha Bata Siroi in Maerim District, Chiang MaiProvince. วหิ ารพระพทุ ธบาทสี่รอยจาลอง ตั้งอยูํหลงั วหิ ารพระพทุ ธ มมุ ตะวันตกเฉยี งใตข๎ องพระบรมธาตุ สร๎างขึ้นหลงั จากการบูรณปฏิสังขรณพ์ ระวหิ ารหลวงซึ่งถกู พายุถลมํ จากคาบอกเลาํ ของศรทั ธาภายในวดั ยนื ยันวาํ วิหารดงั กลาํ วเป็นแนวคิดสอดคลอ๎ งกับครูบาเจา๎ ศรีวชิ ัยอยํางมาก นัน่ คอื การให๎ความเคารพตํอ “พระพุทธบาทสรี่ อย” ตามตานานพระเขา๎ เลยี บโลกซึง่ เชอ่ื วําในภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ๎าทง้ั หมดหา๎ พระองค์ ทผ่ี าํ นมาได๎โปรดเวไนยสัตว์แลว๎ จานวนทง้ั สิน้ สี่พระองค์ โดยมีการจาลองรูปแบบมาจากท่ีวดั พระพทุ ธบาทสีร่ อย อาเภอแมรํ ิม จงั หวดัเชียงใหมํ ลวดลายบนหน๎าบนั ของพระวหิ ารพระพุทธบาทสี่รอย แกะสลกั ไมร๎ ะบายสที องบนพนื้ หลังกระจกเจือเปน็ รูปเทพนมอยตํู อนกลาง ทาํ มลายพนั ธพุ์ ฤกษากนกชํอหางโต มหี นุมาน ๔ ตวั

13 Amazing Sacred Sites at Wat Phrathat Hariphunchai, Lamphun Little Guides : Pratoolee Municipal SchoolContact: PTL. Little Guides ID : tatchtacha Designed and Complied by Mr.Tatchtacha Panyarat


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook