โครงงาน เรื่อง สีน้าจากธรรมชาติ โดย นางสาว พิชชา พลอยมี เลขท่ี 7 นางสาว พมิ พพ์ ชิ ชา ปรปี ระทมุ เลขท่ี 8 นางสาว ชญาภา ประมาณานนท์ เลขที่ 12 นางสาว ชมพนู ทุ พระราชวี ะ เลขท่ี 13 นางสาว ชลณิชา เทียนเจริญ เลขที่ 14 นางสาว วราภรณ์ ธรี ธรรมธาดา เลขที่ 17 นางสาว กานต์ธดิ า เลิศกาญจนาพร เลขที่ 19 นางสาว ฉัฐวลยั วรรณวงษ์ เลขที่ 20 นางสาว ฐิตาภา แสงทอง เลขท่ี 21 นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนสตรวี ัดระฆงั อา้ เภอบางกอกน้อย จังหวัดกรุงเทพมหานคร รายงานการวจิ ยั นเี้ ปน็ ส่วนหนึง่ ของวิชา การศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation : IS1) ปกี ารศึกษา 2563
หนา้ อนุมัติ ชื่อเรอื่ ง โครงงานสนี ้าจากธรรมชาติ ผู้ทา้ รายงานกลุ่มท่ี 2 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 นางสาว วราภรณ์ ธรี ธรรมธาดา ประธาน (เลขประจ้าตวั 30948) นางสาว พชิ ชา พลอยมี สมาชกิ (เลขประจา้ ตัว 30911) นางสาว พมิ พพ์ ิชชา ปรีประทุม สมาชิก (เลขประจา้ ตวั 30912) นางสาว ชญาภา ประมาณานนท์ สมาชิก (เลขประจา้ ตัว 30924) นางสาว ชมพนู ุท พระราชีวะ สมาชกิ (เลขประจา้ ตวั 30925) นางสาว ชลณิชา เทียนเจริญ สมาชิก (เลขประจ้าตัว 30926) นางสาว กานต์ธดิ า เลศิ กาญจนาพร สมาชกิ (เลขประจา้ ตวั 30957) นางสาว ฉฐั วลัย วรรณวงษ์ สมาชิก (เลขประจา้ ตัว 30959) นางสาว ฐติ าภา แสงทอง สมาชิก (เลขประจา้ ตวั 30961) รายงานนไ้ี ด้รับการพิจารณาอนมุ ตั ิให้เป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษา รายวชิ า การศกึ ษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้(IS1) I21201 ตามหลักสตู รโรงเรยี นสตรวี ดั ระฆัง ปกี ารศกึ ษา2562 .........................................................................................ครทู ่ปี รึกษาผลงาน (........................................................................................) วนั ท่ี............เดือน..................................................พ.ศ.................
ก บทคดั ยอ่ การศกึ ษาคน้ คว้าเรอ่ื ง สนี ้าจากธรรมชาติ นี้มีจดุ ประสงค์ คือ 1.เพื่อศกึ ษาสีน้าจากธรรมได้แก่ สแี ดง สเี หลือง สีน้าเงิน 2.เพอื่ ศกึ ษาและทดลองสูตรสีน้าจากธรรมชาติ และ 3.เพือ่ ศึกษาและตรวจสอบความพึงพอใจของสีนา้ จากธรรมชาติ มีขอบเขต ของการศึกษาคน้ คว้า คอื การศึกษาสีน้าจาก สีแดง จากแกน่ ฝางเสน สเี หลอื ง จาก หรดาล สีน้าเงนิ จากดอกอญ้ ชนั มี กลุ่มเปา้ หมาย คอื นักเรยี นระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ห้อง 1 จา้ นวน 45 คน และมวี ิธีดา้ เนนิ การ คอื ผจู้ ัดท้าไดด้ า้ เนินการสร้าง แบบประเมินความพงึ พอใจและแบบทดสอบประสิทธิภาพ ตามข้นั ตอน ดัง นคี้ อื 1.แบบทดสอบประสทิ ธภิ าพของสีน้าจาก ธรรมชาติ โดยเปน็ การเก็บผลจากการทดลองประสิทธิภาพของสีนา้ จากธรรมชาติ และ 2.แบบประเมินความพงึ พอใจของสีนา้ จากธรรมชาติ เป็นการให้ท้าแบบสอบถามจะเป็นคา้ ถามที่เกีย่ วกบั พงึ พอใจของผูใ้ ชส้ นี า้ จากธรรมชาติ โดยจดั ท้าแบบสอบถาม ผ่าน Google from และในการวิจยั คร้งั นี้ผู้วิจยั ไดใ้ ชว้ ิธกี ารวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยการนา้ แบบสอบถามความพึงพอใจของสนี า้ มา วิเคราะห์ ประมวลผลและน้าเสนอในรูปแผนภูมวิ งกลม และนา้ แบบสอบถามคณุ ภาพสนี ้า มาหา คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานและการศกึ ษาในครัง้ น้ีมีผลการด้าเนินงาน......................................จงึ สรุปผลการด้าเนนิ งานดงั น.ี้ ..................................
ข กติ ติกรรมประกาศ ศึกษาค้นควา้ เร่ือง............................................................................................................................. ................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………. ส้าเร็จลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดีก็เพราะไดร้ บั การชว่ ยเหลอื จาก………………………………….…………………………….…………………………………… ที่ให้คา้ ปรึกษาและคา้ แนะน้าตลอดเวลาของการดา้ เนินตามจดุ ประสงค์ของศึกษาค้นควา้ เรือ่ งที่ได้ก้าหนดไว้ ผู้จัดทา้ ขอขอบพระคณุ ท่านทีใ่ ห้ความชว่ ยเหลือในเรื่องตา่ งๆ และหวังเป็นอย่างยงิ่ ว่า วิจัยเรอ่ื ง………………………………… นี้นา่ จะเกดิ ประโยชน์ต่อผทู้ ม่ี ีความสนใจศกึ ษา คณะผจู้ ัดทา้
สารบัญ ค บทคดั ย่อ หน้า กติ ติกรรมประกาศ ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนา้ ค - ความเปน็ มา และความส้าคัญของปญั หา 1 - จุดมงุ่ หมายของการศึกษา 1 - ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ 2 - กลมุ่ เป้าหมาย ประชากร กลมุ่ ตัวอย่าง 2 - คา้ นยิ ามศัพท์เฉพาะ 2 - ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วข้อง - เอกสาร 3 - ผลงานท่เี กยี่ วข้อง 5 บทท่ี 3 วิธีด้าเนินการ - เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั 6 - การสรา้ งเครื่องมือ 6 - การเกบ็ ข้อมูล 7 - การวเิ คราะหข์ ้อมลู 7 - สถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 7 บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ 8 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการศกึ ษาคน้ คว้า 11 - สรุปผล 11 - อภิปรายผล 11 - ขอ้ เสนอแนะ 11 บรรณานุกรม 12 ภาคผนวก
1 บทท่ี 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา เนอื่ งจากสนี ้าในปัจจบุ นั ในจะมีสารเคมีเป็นองคป์ ระกอบภายในสี สีน้า (water color) คอื สีชนดิ หน่งึ ที่มกี ารใชน้ ้าเปน็ ตวั ทาละลาย มสี ว่ นประกอบของสไี ด้แก่ ผงสที บ่ี ดแล้วอย่างละเอยี ด ( Pigment ) ผสมกับกาวอารบิค (gum arabic) ซง่ึ สกัดมา จากตน้ ตระกลู อะคาเซีย ( Acacia tree ) กาวชนดิ น้ีมีคณุ สมบัติละลายน้างา่ ยและเกาะตดิ กระดาษแน่น อีกทัง้ ยงั มีลกั ษณะ โปร่งใส กาวจะทาหนา้ ทีย่ ึดเนื้อสเี ข้าดว้ ยกนั ซึง่ สารเคมที ก่ี ล่าวไปนน้ั อาจจะไมม่ ีผลข้างเคียงทีม่ ากนักแต่ถา้ ไดท้ าสารเคมีเข้าไป ในอนาคตขา้ งหน้าอาจจะทาใหไ้ ด้รับสารเคมีเพิ่มขนึ้ เนือ่ งจากเกิดการสะสมซงึ่ จะสง่ ผลเสียต่อสุขภาพของผู้ใชอ้ ีกท้ังสีน้าทขี่ ายอยู่ ตามทอ้ งตลาดยังมีราคาสูง ทางคณะผ้จู ดั ทาจงึ คดิ ทจ่ี ะทดลองทาสีนา้ จากธรรมชาติข้ึนมาเพื่อลดปรมิ าณเคมีในสแี ละเปน็ การนาของธรรมชาติมาใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์อีกทั้งยังสามารถประหยัดเงินในการซ้อื สนี ้าตามทอ้ งตลาดซึ่งมรี าคาท่ีสงู และในปจั จบุ นั กไ็ ดม้ ีคนนาครามมาทาเปน็ สไี ดเ้ ราจงึ คิดท่ีจะศกึ ษาสีอื่นจากสิง่ ของจากธรรมชาติชนดิ อ่ืนบา้ งโดยเราทาการทดลองดว้ ยสง่ิ ของจากธรรมชาตทิ งั้ หมด 3 อย่าง ไดแ้ ก่ ผงแก่นฝาง หรดาล และอญั ชัน เพอ่ื ทจี่ ะศกึ ษาวา่ ส่ิงของจากธรรมชาตทิ น่ี ามาทาการทดลองน้นั ให้ออกมาเปน็ สีอะไรบา้ ง แล้วจากนั้นจะทาการทดลองหาสูตรสนี า้ จากธรรมชาติวา่ สตู รไหนมปี ระสิทธภิ าพมากที่สุดโดยเราจะนาสที ่ีได้จากสง่ิ ธรรมชาติท่ี ไดไ้ ปผสมกบั กัมอารบิคซึ่งเป็นสว่ นประกอบในการทาสีนา้ เราจะคัดเลอื กสตู รที่ดีท่ีสุดและนาไปเปรยี บเทยี บกับสนี ้าท่ีผสม สารเคมีเพื่อเปรยี บเทยี บกันว่าสนี ้าจากธรรมชาติมีประสทิ ธภิ าพเทียบเทา่ กับสีท่ีผสมสารเคมหี รือไมแ่ ละเราจะนาไปใหก้ ลุ่มผู้ ทดลองไดท้ ดลองใช้ จากนน้ั จะจดั ทาแบบประเมนิ เชงิ คณุ ภาพและความพงึ พอใจในการใชส้ นี า้ จากธรรมชาติ ทางคณะผู้จดั ทาหวังวา่ สีน้าจากธรรมชาตจิ ะสามารถลดปริมาณสารเคมีในสไี ดแ้ ละปลอดภยั ตอ่ ผใู้ ช้ อกี ทัง้ ยังสามารถ ชว่ ยประหยัดค่าใชจ้ า่ ยในการที่ต้องซื้อสีนา้ ตามทอ้ งตลาดท่มี ีราคาสูง ทางคณะผจู้ ัดทารสู้ ึกภมู ิใจเป็นอยา่ งย่ิงท่สี ามารถนาสง่ิ ของ จากธรรมชาตมิ าใชเ้ พือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ได้ และในอนาคตทางคณะผู้จดั ทาจะพัฒนาทาการทดลองหาสีอ่ืนจากสิ่งของจาก ธรรมชาติชนิดอ่ืนเพ่อื ใหไ้ ดเ้ ปน็ สีใหมแ่ ละนาไปต่อยอดจัดทาเปน็ สีน้าจากธรรมชาติสอี นื่ ไดใ้ นภายภาคหน้า จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา 1. เพอื่ ศึกษาสีนา้ จากธรรมได้แก่ สีแดง สีเหลอื ง สนี า้ เงิน 2. เพ่ือศึกษาและทดลองสตู รสีนา้ จากธรรมชาติ 3. เพ่อื ศึกษาและตรวจสอบความพึงพอใจ สมมตฐิ าน 1. สามารถคดิ สตู รสีน้าจากธรรมชาตไิ ด้ 2. สามารถสรา้ งสีแดงจากผงแก่นฝาง สเี หลอื งจากหรดาล สีนา้ เงินจากดอกอัญชันได้ และสามารถใช้งานได้จรงิ
2 ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ เพอ่ื ศึกษาสนี ้าจาก สเี หลือง จาก หรดาล สีแดง จาก ผงแกน่ ฝางเสน สีน้าเงิน จาก ดอกอญั ชนั กลุ่มประชากรและกลมุ่ ตวั อย่างหรือกลุ่มเปา้ หมาย นักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ห้อง 1 จานวน 45 คน คานิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. หรดาล น. แรช่ นิดหนึ่ง ประกอบด้วยธาตสุ ารหนแู ละกามะถนั มีปรากฏในธรรมชาติ ๒ ชนิด คอื หรดาลแดงกับหรดาลกลบี ทอง มกั จะปรากฏอยู่ปนกัน ในปัจจุบนั สามารถสงั เคราะหข์ ้นึ ไดท้ ง้ั ๒ ชนดิ 2. สีน้า น. สีสาหรับระบายชนดิ หนึง่ ใชน้ ้าเจือใหล้ ะลายก่อนจะใชร้ ะบาย 3. ธรรมชาติ (๑) น. ส่ิงทเี่ กิดมีและเป็นอยตู่ ามธรรมดาของสิง่ นน้ั ๆ, ภาพภมู ปิ ระเทศ. (๒) ว. ทเ่ี ป็นไปเองโดยมไิ ด้ปรุงแต่ง เช่น สีธรรมชาติ ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ 1) สามารถคดิ สูตรจากสนี า้ ธรรมชาตไิ ด้ 2) สามารถสร้างสีแดงจากฝางสเี หลืองจากหรดาล สนี า้ เงินจากดอกอัญชัน 3) สามารถลดปริมาณสารเคมไี ด้ 4) กลุ่มผู้ทดลองมคี วามพึงพอใจ
3 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกยี่ วข้อง 1. สีน้า สนี า้ คอื สชี นดิ หนึง่ ทีม่ กี ารใช้น้าเปน็ ตวั ทาละลาย โดยจะมีเนือ้ สีผสมกบั กัมอารบิก (gum Arabic) ซึ่งสกัดมาจากต้นอะคา เซยี (Acacia tree) กาวชนดิ น้ีมีคุณสมบตั ิพเิ ศษ คือ ละลายนา้ ง่ายและเกาะตดิ กระดาษแนน่ ทง้ั ยังมีลกั ษณะโปรง่ ใสอกี ด้วย นา เปน็ ตวั ยึดเนอ้ื สีเขา้ ดว้ ยกนั สนี ้าจะให้เอฟเฟค็ ต์ท่ีใส และโดยปกติจะไม่นยิ มผสมสีขาว ต่างจากสนี ้ามนั ทสี่ ามารถระบายทับ หลายๆชัน้ ไดเ้ รี่อยๆ และมีการผสมสขี าวเพอ่ื ใหส้ อี ่อนลง สนี า้ จะใช้การเว้นขาวแทนการผสมขาว และสนี ้าถา้ ระบายจางๆอาจจะ กลายเปน็ สีอืน่ ไดส้ นี ้ามีมาแตส่ มัยโบราณตงั้ แตม่ นษุ ยย์ งั เปน็ มนุษย์ถา้ กนั อยู่ และใชใ้ นการจารกึ มาตงั้ แตย่ คุ สมยั ของอยี ิปโบราณ โดยการจารึกจะมีการผสมสดี ว้ ยน้าแลว้ วาดลงไปบนผนังถา้ ดว้ ย่น้ิวมอื หรอื กระดูกสัตว์ ชาวอียิปตโ์ บราณใชส้ ีนา้ ในการตกแตง่ หลมุ ศพ และวดั ชาวญีป่ ุน่ และชาวจีนมกี ารใชส้ นี า้ ในการวาดภาพพ่กู นั และวาดภาพววิ ตา่ งๆ โดยไดร้ ับการผสมผสานแนวทางนี้ จากศิลปะตะวนั ตก ในยุคกลาง นักบวชมีการใช้สฝี ุ่มเทมเพอรา (tempera) ในการจารึกคมั ภีร์ พระคัมภรี ์เหล่านี้ถือเป็นศิลปะ ชนิดหนึ่งเทียบเท่ากับงานศลิ ปะท่วี าดบนขาต้ังภาพ ใชเ้ วลาหลายปจี ึงจะเสรจ็ จากน้นั มกี ารลอกภาพเหล่านลี้ งบนหนังแกะ และ มีการตกแตง่ ดว้ ยภาพสัญลกั ษณต์ า่ งๆ 2. ลกั ษณะของสนี า้ 2.1 ลกั ษณะโปร่งใส เนอื่ งจากสีน้ามีส่วนผสมของกาว และสที บี่ ดอย่างละเอียด เมื่อระบายน้าบนกระดาษสีขาวจึงมีเนื้อทไ่ี ม่หนาทบึ จนเกินไป ทา ใหเ้ กิดลกั ษณะโปรง่ ใส และการระบายสนี า้ จะต้องระบายไปทเี ดยี ว ไม่ระบายซา้ กนั เพราะจะทาใหส้ ีช้าหรือหม่นได้ และควร ระบายจากสีอ่อนไปหาสีแก่ ในบางกรณอี าจระบายจากสีแก่ไปหาออ่ นกไ็ ด้ ทง้ั นตี้ อ้ งคอยระวงั อย่าใหน้ ้าทใ่ี ช้ผสมสขี นุ่ หรือคลา้ เพราะจาทาให้สีหมน่ หรอื ทบึ ได้ 2.2 ลักษะเปยี กช่มุ เน่อื งจากการระบายสี จะต้องผสมผสานกบั นา้ และระบายให้ซมึ เขา้ หากันเม่ือต้องการให้กลมกลนื กนั เมื่อระบายไปแลว้ ลกั ษณะของสที ี่แหง้ บนกระดาษ จะคงความเปียกชมุ่ ของสปี รากฏให้เหน็ อยเู่ สมอ และในบางกรณที ีใ่ ชส้ นี า้ ระบายมากเกินไป แล้วปล่อยให้สแี ห้งไปเอง ก็จะเกดิ คราบของสปี รากฏใหเ้ ห็น ซึง่ ถือเปน็ ลักษณะพเิ ศษทไี่ ด้รับความนิยมเป็นอย่างมาก หากศลิ ปิน สีน้าทา่ นใดสามารถสรา้ งสรรค์ใหค้ ราบนนั้ น่าดแู ละมคี วามหมายขึ้น ถอื ว่าเป็นลักษณะพิเศษของสีน้าที่มีคา่ ควรชน่ื ชมเปน็ อย่าง ย่ิง
4 3. คุณสมบัติของสีน้า 3.1 คุณสมบัติแห้งเรว็ สนี ้าแหง้ เรว็ มากเม่ือเปรยี บเทียบกบั สีน้ามนั จงึ ทาใหเ้ กดิ ความเช่อื ต่อผู้สนใจวา่ เปน็ สีทรี่ ะบายยาก และเหมาะสาหรับผทู้ ่ี สามารถตดั สินใจรวดเรว็ ในการถา่ ยทอดเทา่ นั้น แตค่ วามเชอ่ื ดังกลา่ วอาจแก้ไขได้ ดว้ ยการลงมือทาจรงิ เพราะเหตวุ ่า การระบาย สีน้ามวี ธิ ีระบายได้หลากหลายวิธี และเราสามารถควบคุมคณุ สมบัตแิ ห้งเรว็ นี้ได้ ดว้ ยการผสมกลีเซอรนี ลงในน้าผสมสกี ็จะชว่ ยให้ แหง้ ช้าได้ 3.2 คณุ สมบัตริ ุกราน และการยอมรบั สอี ่นื การรกุ ราน และการยอมรับของสีเกีย่ วข้องกบั เนื้อสแี ละสารเคมที ผ่ี สม ซ่ึงผู้สนใจจะต้องสอบทานดว้ ยว่าสีใดที่มกี ารรุกรานสี อืน่ หรอื สใี ดยอมใหส้ ีอื่นรกุ ราน และสีใดท่ตี ิดกระดาษแน่นล้างนา้ ไมอ่ อก 4. ประโยชนข์ องสนี ้า สีน้าสามารถใชเ้ ป็นส่ือถ่ายทอดรปู แบบของสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้ตามทม่ี องเหน็ และเพอ่ื แสดงคณุ ค่าของความรูส้ กึ เรียบง่าย สนี ้า สามารถใช้เปน็ ส่ือบันทกึ ความรู้สึกประทบั ใจ และประสบการณข์ องเราโดยตรงต่อสถานที่ และสงิ่ แวดลอ้ ม สนี ้ามีคณุ คา่ ของ ความงามเทา่ กับความงามของโลกภายนอกเท่าทจ่ี ะสามารถรับรู้ได้อีกท้งั การเขยี นภาพสีน้าเป็นพฤติกรรมตอบสนองจากการ รบั รขู้ องมนุษยด์ ้วยมอื และสมองผสมกับความคิดสร้างสรรคท์ ีต่ ิดตวั ประเภทหนง่ึ ซ่ึงสือ่ สนี ้าที่มนุษย์นามาใชส้ ร้างสรรคน์ ีไ้ ด้รบั การพัฒนามาจากการวาดเขยี นโดยสามารถเพมิ่ คุณค่าเชงิ คุณภาพดา้ นบรรยากาศไดด้ ีกว่าการวาดเขียน 5. สี และส่ิงทีห่ าไดจ้ ากธรรมชาติ 5.1 สแี ดง จากฝางเสน แกน่ ฝาง เปน็ ไมพ้ มุ่ ต้นสูง 5-8 เมตรมีหนามทว่ั ใบเปน็ ใบประกอบแบบขนนกสองชนั้ ออกเรยี งสลบั ใบย่อยรปู ไข่ ปลาย แหลม โคนเบยี้ ว หรอื เกือบมน สีเขียวสด ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด แต่ละชอ่ ประกอบด้วยดอกย่อยจานวนมาก กลบี ดอกเปน็ สีเหลือง ผลเปน็ ฝกั แบนสีน้าตาลคลา้ ยฝักถัว่ แปบแตจ่ ะมีขนาดใหญก่ ว่าเลก็ นอ้ ย พบขนึ้ ตามปา่ เบญจพรรณและปา่ ราบทุกภาคของประเทศไทย ขยายพนั ธุ์ด้วยเมล็ด และตอนกงิ่ คนโบราณท่ีนิยมนามาใชป้ ระโยชน์มากมาย เช่น ใชเ้ ป็นสมนุ ไพร พน้ื บา้ นชว่ ยบารงุ เลอื ดในสตรี ช่วยขบั ประจาเดอื น แกเ้ ลอื ดกาเดา เป็นตน้ รวมถงึ นามาใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นเปน็ สยี อ้ มผา้ ธรรมชาติ 5.2 สเี หลอื ง จากหรดาร หรดาร เป็นช่อื แร่ชนิดหน่ึง ประกอบด้วยธาตุสารหนู และกามะถนั มี 2 ชนิดคือ หรดาลแดง กบั หรดาลกลบี ทองสามารถ ใช้เขียนลายบนแผน่ ทม่ี ีพื้นเป็นรกั เพ่อื ทาการปิดทองรดน้าต่อไป จึงเรยี กกนั ว่า ลายรดน้า เป็นกรรมวธิ ที างศลิ ปะของไทย ท่สี ืบ เน่ืองกันมาช้านานไม่ตา่ กว่าสมัยอยธุ ยาตอนต้น หรือมากกวา่ นนั้ 5.3 สนี ้าเงิน จากอญั ชนั อัญชันเปน็ ไม้เลอ้ื ยเน้ือออ่ น อายสุ ั้น ใช้ยอดเลือ้ ยพัน ลาตน้ มีขนปกคลุม ใบประกอบแบบขนนก เรยี งตรงขา้ มยาว 6-12 เซนตเิ มตร มีใบย่อยรูปไข่ 5-7 ใบ กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ผวิ ใบดา้ นล่างมีขนหนา ปกคลมุ ดอกมีสขี าว ฟา้ และมว่ ง ดอกออกเดี่ยว ๆ รูปทรงคลา้ ยฝาหอยเชลล์ออกเปน็ คตู่ ามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ กลีบคลมุ รปู กลม ปลายเว้าเป็นแอ่ง ตรงกลางมสี ีเหลอื ง มที ั้งดอกซอ้ นและดอกลา ดอกชนั้ เดยี วกลบี ขั้นนอกมีขนาดใหญ่กลางกลีบสี เหลอื ง ส่วนกลบี ชนั้ ในขนาดเล็กแตด่ อกซอ้ นกลบี ดอกมีขนาดเทา่ กัน ซอ้ นเวียนเป็นเกลียว ออกดอกเกือบตลอดปี ผลแห้ งแตก เป็นฝกั แบน นยิ มนาไปทาอาหาร โดยปกติจะใช้สจี ากการต้มและคนั้ นา้ ของดอกเพ่อื มาผสมกับแป้งตา่ ง ๆ
5 งานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง คณุ จนิ น่ี สาระโกเศศ (2563) เม่ือหวั ใจอ่อนล้าจากชีวติ ประจาวัน การได้นัง่ พักสบายๆ หยิบสีน้า และพ่กู ันมาแต่งเตมิ สสี นั บนหน้ากระดาษ จะสามารถชว่ ยให้ผ่อนคลายจากความกังวลไดไ้ ม่น้อย จึงจดั ตัง้ ผลิตภัณฑ์ Sunday Motivation เปน็ แบรนดส์ ีนา้ ทามือทผี่ ลิตจากวัตถดุ ิบธรรมชาติ บรรจใุ นกล่องขนาดเล็ ก พกพางา่ ย ราคาจับต้องได้ เกดิ จากการเป็นวาดรปู อยู่แล้ว เม่อื ผสมสี จะสามารถสังเกตว่าแตล่ ะคนจะมโี ทนสที ีใ่ ช้เป็นเอกลกั ษณ์อยู่ เลยเริ่มสนใจเร่อื งการทาสี นา้ แตส่ นี ้าทามือสว่ นใหญ่มรี าคาแพง จึงได้ทดลองทาเอง ศึกษาโดยการดูยูทูบ หรือการอา่ นหนังสือ ซ่ึงกไ็ ม่มใี ครบอกสู ตรได้ อย่างชัดเจน คุณ สุวัลญา ศักดสิ์ มบตั ิ (2555) ศลิ ปนิ ท่ีประสบปญั หาแพส้ ีนา้ จนมอื ลอก จึงไดต้ ัดสนิ ใจตามหาสีจากธรรมชาติเพ่อื มา ทางานศลิ ปะในชว่ งทไ่ี ดศ้ กึ ษาปริญญาโททป่ี ระเทศอินเดยี เป็นเวลากวา่ 3 ปี ซง่ึ ไดส้ ะสมประสบการณต์ ามหาสจี ากดิน แก่นไม้ ดอกไม้ ทาใหไ้ ดก้ ลั บไปศึกษาศิลปวัฒนธรรมครั้งที่ 2 จนสามารถผลิตสจี ากธรรมชาตใิ ส่ตลับพกไปใชไ้ ด้ทกุ ท่ี หลังจากศกึ ษา ปรญิ ญาโทท่ีประเทศอินเดียแล้วกลบั มายังประเทศไทย จงึ ได้เช่าบา้ นอยเู่ พอ่ื ทาเปน็ สตูดิโอสนี า้ ธรรมชาติ ซึ่งสตดู โิ อทไ่ี ด้รงั สรรค์ ใหม้ ชี วี ติ และเปน็ เหมือนบา้ นทีอ่ ยแู่ ลว้ สบายใจ มตี ้นไม้ อย่ใู กล้ดนิ และทางานได้ทุกเมอ่ื
6 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวจิ ัย ศกึ ษาค้นควา้ เร่ือง สนี า้ จากธรรมชาติ จุดมุ่งหมายของการศกึ ษา 1. เพ่อื ศึกษาสีน้าจากธรรมไดแ้ ก่ สีแดง สีเหลอื ง สีนา้ เงิน 2. เพือ่ ศึกษาและทดลองสูตรสนี ้าจากธรรมชาติ 3. เพือ่ ศกึ ษาและตรวจสอบความพงึ พอใจของสนี ้าจากธรรมชาติ เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวิจัย 1. แบบทดสอบประสิทธภิ าพของสีนา้ จากธรรมชาติ 2. แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1 จานวน 45 คน วธิ กี ารสร้างเคร่อื งมอื ผู้จดั ทาไดด้ าเนนิ การสรา้ ง แบบประเมินความพึงพอใจและแบบทดสอบประสิทธิภาพ ตามขัน้ ตอน ดังนี้คอื 1. แบบทดสอบประสิทธิภาพของสนี ้าจากธรรมชาติ โดยเป็นการเกบ็ ผลจากการทดลองประสทิ ธภิ าพของสนี า้ จากธรรมชาติ โดยท่ีใหผ้ ู้ทีไ่ ดใ้ ช้จรงิ เป็นผทู้ าแบบประเมนิ โดย ประเมินผ่าน Google Form และมเี กณฑ์การให้คะแนนเกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 ถงึ 5 แทนระดับความพึงพอใจ ดังตอ่ ไปนี้ คะแนนระดับ 5 หมายถงึ ความพึงพอใจมากที่สุด คะแนนระดับ 4 หมายถึง ความพึงพอใจมาก คะแนนระดบั 3 หมายถงึ ความพึงพอใจปานกลาง คะแนนระดบั 2 หมายถงึ ความพงึ พอใจนอ้ ย คะแนนระดับ 1 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยท่ีสดุ 2. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของสนี า้ จากธรรมชาติ เปน็ การใหท้ าแบบสอบถามจะเป็นคาถามท่ีเกี่ยวกับพงึ พอใจของผใู้ ช้สนี า้ จากธรรมชาติ โดยจัดทาเปน็ Google Form โดย ให้ผู้ตอบคาถามเลือกตอบได้เพียงคาตอบเดียว จานวน 5 ขอ้ โดยกาหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 ถงึ 5 แทนระดบั ความพึงพอใจ ดงั ต่อไปนี้ คะแนนระดับ 5 หมายถงึ ความพึงพอใจมากทสี่ ดุ คะแนนระดบั 4 หมายถึง ความพงึ พอใจมาก คะแนนระดับ 3 หมายถงึ ความพงึ พอใจปานกลาง คะแนนระดับ 2 หมายถึง ความพึงพอใจนอ้ ย คะแนนระดับ 1 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยทสี่ ดุ
7 แบบทดสอบประสิทธิภาพของสีนา้ จากธรรมชาติ เกณฑท์ ่ีใช้ในการพิจารณา ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 54 3 2 1 1. คณุ ภาพสนี า้ จากธรรมชาติ 2. สนี า้ จากธรรมชาติมีกลิน่ ทน่ี ่าพึงพอใจ 3. สนี า้ จากธรรมชาติมคี วามคล้ายคลงึ สีนา้ ตามท้องตลาด 4. สีน้าจากธรรมชาติสามารถใชง้ านไดจ้ ริง 5. สีน้าจากธรรมชาตมิ ีความสะดวกตอ่ การใชง้ าน แบบประเมินประสทิ ธภิ าพ เกณฑท์ ่ใี ช้ในการพจิ ารณา ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 54 3 2 1 1. สนี ้าจากธรรมชาติมคี วามคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ 2. สีน้าจากธรรมชาตชิ ว่ ยลดสารเคมีในชีวิตประจาวนั 3. สีน้าจากธรรมชาติสามารถทดแทนสีนา้ จากท้องตลาดได้ 4. ความพึงพอใจต่อสีนา้ 5. ในอนาคตทา่ นสนใจท่ีจะใช้สีน้าจากธรรมชาติมากกวา่ การ ใช้สนี า้ ทีม่ สี ารเคมี การเก็บขอ้ มลู ผู้จดั ทาไดน้ าแบบสอบถามทส่ี มบูรณ์แล้วดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู มีข้นั ตอน ดงั นี้ 1. ผ้จู ดั ทาได้สร้างแบบสอบถาม เพ่ือใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2. เก็บรวบรวมขอ้ มลู จากแบบสอบถาม ผ้จู ัดทานาแบบสอบถามไปใหผ้ ู้ทไ่ี ด้ใช้งานเพอื่ ตอบแบบสอบถาม การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในการวิจัยคร้ังนผี้ วู้ จิ ยั ได้ใชว้ ิธกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูล ดงั นี้ 1. นาแบบสอบถามทไี่ ดร้ บั กลบั คืนมาตรวจสอบความสมบรู ณ์ในการตอบแบบสอบถาม แล้วนามาวิเคราะห์ ประมวลผลและ นาเสนอในรปู แผนภมู ิวงกลมท่านมคี วามพึงพอใจตอ่ สีน้าจากธรรมชาติ 2. วเิ คราะหข์ ้อมูลความคดิ เหน็ ของผู้ใช้งานต่อคณุ ภาพของสนี า้ จากธรรมชาติ สถิติที่ใช้คอื สถติ ิ ได้แกร่ ้อยละความถ่ี สถติ ทิ ใี่ ช้ ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล สถิติท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ในการศึกษาครั้งนีผ้ ู้จัดทาไดใ้ ช้ สถติ ิ คือ คา่ เฉล่ยี ร้อยละ (Percentage) ใชใ้ นการรายงานข้อมลู ของกลุ่มของผู้ใชส้ นี ้าจากธรรมชาติ
8 บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า การดาเนนิ โครงงานทดลอง สีนา้ จากธรรมชาติ มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาคน้ คว้า แบ่งออกเปน็ 3 ขั้นตอนดงั นี้ 1. เพือ่ ศึกษาสีนา้ จากธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สีแดง สีเหลือง สนี ้าเงิน 2. เพอื่ ศึกษาและทดลองสตู รสนี ้าจากธรรมชาติ 3. เพือ่ ศกึ ษาและตรวจสอบความพึงพอใจ โดยมีตัวแปรต้น : หรดาล ผงฝาง ดอกอญั ชนั ตัวแปรตาม : เม็ดสี นา้ ตวั แปรควบคุม : กรมั อารบกิ กรเี ซอรนี ตอนท่ี 1 ศึกษาการทาเมด็ สีจากธรรมชาติ สี และ ส่งิ ทนี่ ามาทา ขนั้ ตอนการทา ผลท่ไี ด้ หมายเหตุ - สีเหลอื ง 1) นาหรดาลมาทบุ ให้เปน็ ผงละเอยี ด หรดาลเป็นผงสเี หลือง - จากหรดาล ละเอียด - สแี ดง 1) ผงฝางสามารถนามาใช้เป็นเมด็ สี เป็นผงฝางละเอยี ด จากผงฝาง ได้เลย 1) นาดอกอญั ชัน ในส่วนท่ีเป็นสีม่วง สีนา้ เงนิ ไปอบให้แห้ง ( อย่รู ะหวา่ งการทดลอง) จากดอกอญั ชนั 2) นาดอกอัญชนั ที่อบแหง้ แลว้ มาปนั่ ให้เปน็ ผงละเอียด ตารางท่ี 4-1 ตารางสรุปการทาเม็ดสี สรปุ ผลการทาเมด็ สจี ากธรรมชาติทัง้ 3 สี ผลทีไ่ ด้คือ สีเหลืองไดจ้ ากหรดาล โดยการนาไปทุบเพอื่ ใหก้ ลายเปน็ ผง ละเอียด สแี ดง จากผงฝาง โดยที่ผงฝางทามาจากฝางและสามารถใช้เปน็ เม็ดสไี ดเ้ ลย เนอื่ งจากเป็นผงแลว้ สีนา้ เงนิ จากดอก อัญชัน โดยการนาดอกอัญชันมาอบแหง้ แลว้ นาไปปัน่ จะได้เป็น......................................... และทง้ั 3 สีนีส้ ามารถนาไปใชใ้ นการ ทาสนี า้ จากธรรมชาตไิ ด้
ตอนที่ 2 ทดลองการทาสนี า้ จากธรรมชาตจิ ากเมด็ สที ่ีไดม้ า 9 สี ส่วนผสมทีใ่ ชใ้ นการทดลอง ผลการทดลอง หมายเหตุ - แดง -เม็ดสี 1 แพน - -กรมั อารบิก 1 แพน - - -กรีเซอรีน 4-6 หยด -น้า 10-40 หยด เหลือง เม็ดสี 1 แพน -กรมั อารบิก 1 แพน - -กรีเซอรนี 4-6 หยด -นา้ 10-40 หยด นา้ เงิน -เม็ดสี 1 แพน -กรมั อารบิก 1 แพน - -กรีเซอรนี 4-6 หยด -น้า 10-40 หยด ตารางที่ 4-2 ตารางสรุปสูตรการทดลอง สรปุ ผลการทดลองการทาสีนา้ จากธรรมชาตจิ ากเม็ดสที ีไ่ ดม้ า โดยทง้ั 3 สไี ด้ใชส้ ตู รเดียวกนั คอื เมด็ สี 1 แพนกรมั อารบกิ 1 แพน กรเี ซอรนี 4-6 หยด และน้า 10-40 หยด โดยที่สีแดง มลี ักษณะ...................................และมคี วามเข้มของสีทร่ี ะบาย ................................. สีเหลือง มลี กั ษณะ................................และมคี วามเขม้ ของสี......................................... และสนี ้าเงิน มี ลกั ษณะ.......................................และมคี วามเข้มของสี...................................................
10 ตอนท่ี 3 ศึกษาแบบประเมนิ สิ่งประดิษฐ์ “สนี ้าจากธรรมชาต”ิ เกณฑ์ทีใ่ ช้ในการพจิ ารณา ระดบั คุณภาพ/ประสิทธภิ าพ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน แปรผล ดา้ นคุณภาพ - - 1. คุณภาพสนี า้ จากธรรมชาติ -- - - 2. สนี า้ จากธรรมชาติมีกล่ินท่ีนา่ พึงพอใจ -- - 3. สีน้าจากธรรมชาตมิ ีความคล้ายคลงึ สนี ้าตามทอ้ งตลาด - - 4. สีนา้ จากธรรมชาติสามารถใชง้ านไดจ้ รงิ -- 5. สนี ้าจากธรรมชาตมิ คี วามสะดวกต่อการใชง้ าน - - ตารางที่ 4-3 ตารางสรุปผลประสิทธิภาพ จากการศกึ ษาตารางแบบประเมินสิง่ ประดิษฐ์ “สีน้าจากธรรมชาติ” แสดงค่าเฉล่ียและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจต่อสิ่งประดษิ ฐโ์ ดยแบ่งเปน็ 1 ด้านคอื ด้านคุณภาพ โดยภาพรวมพบความพึงพอใจตอ่ ส่งิ ประดษิ ฐ์ “สีน้าจากธรรมชาติ” เฉล่ียอยใู่ นระดบั ................และดา้ นคณุ ภาพทม่ี ีคา่ เฉล่ียสงู สุด ได้แก่ .................................. มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กับ ........... และค่า เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั ............. ตอนท่ี 4 ศึกษาแบบประเมินความพงึ พอใจของ..............................ต. ่อสีนา้ จากธรรมชาติ รายการ คา่ เฉล่ีย ระดับความพงึ พอใจ แปรผล ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน - 1. สีนา้ จากธรรมชาตมิ ีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - - - - 2. สีนา้ จากธรรมชาตชิ ว่ ยลดสารเคมีในชีวิตประจาวัน - - - - - 3. สีนา้ จากธรรมชาติสามารถทดแทนสนี ้าจากทอ้ งตลาดได้ - - - 4. ความพงึ พอใจต่อสนี า้ - 5. ในอนาคตท่านสนใจท่จี ะใช้สนี ้าจากธรรมชาตมิ ากกว่า - การใชส้ นี า้ ทีม่ สี ารเคมี ตารางท่ี 4-4 ตารางสรปุ ความพึงพอใจ จากการศึกษาตารางแบบประเมินความพงึ พอใจของ ...................... ตอ่ สนี ้าจากธรรมชาติ แสดงคา่ เฉลยี่ และสว่ น เบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของ ...................... จานวน............. คน โดยภาพรวมพบว่าความพงึ พอใจอยู่ในระดับ .......ท้ัง 4 รายการ และรายการทมี่ ีคา่ เฉลี่ยสูงที่สุดคอื ................ มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ ........ และมีค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั ........ และ รองลงมาคือ.................... มีคา่ เฉล่ียเทา่ กบั ........และมีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ........
11 บทที่ 5 สรุปและอภปิ รายผลการค้นควา้ การดาเนินงานการศกึ ษาค้นควา้ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องสนี า้ จากธรรมชาติ มจี ดุ มุ่งหมายของการศึกษาค้นควา้ เพ่ือ ศกึ ษาสีนา้ จากธรรมชาติ ได้แก่ สแี ดง สีเหลือง สีนา้ เงนิ สขี าว สดี า และสเี ขยี ว ศกึ ษาและทดลองสตู รสนี า้ จากธรรมชาติ ศึกษา และตรวจสอบความพงึ พอใจของผใู้ ชท้ ีม่ ีตอ่ สีน้าจากธรรมชาติ โดยผจู้ ดั ทาได้สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี 5.1 สรุปผลการศกึ ษาค้นคว้า จากการศึกษาการทดลองทาสนี า้ จากธรรมชาตทิ ง้ั หมด 3 สไี ดแ้ ก่ สแี ดง จากแกน่ ฝางเสน สเี หลอื ง จากหรดาล และสนี า้ เงิน จาก ดอกอญั ชนั โดยใชส้ ตู รดังน้ี เม็ดสี 1 แพน กรมั อารบกิ 1 แพน กรีเซอรีน 4-6 หยด และน้า 10-40 หยด 5.2 อภปิ รายผลการศึกษาคน้ ควา้ . . . 5.3ข้อเสนอแนะ . . . ฃ ฟื
12 บรรณานกุ รม Kunkritkhema Dantee. (2558). คุณสมบตั ขิ องสนี ้าทัว่ ไป.(ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก http://patdramaa111.srp.ac.th/khunsmbati-khxng-si. (วันทีส่ ืบคน้ ขอ้ มูล 26 มกราคม 2564) ไม่ระบุชื่อผเู้ ขียน. (2561). การถ่ายทอดรูปแบบของสีนา้ .(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://artwater407.wordpress.com/. (วันที่สบื ค้นขอ้ มูล 26 มกราคม 2564) สุดารตั น์ พรมสใี หม่. (2562). ตามศิลปินผู้แพ้สีเคมไี ปเกบ็ หนิ ดิน และดอกไมม้ าทาสีธรรมชาติทสี่ ตูดิโอ (ออนไลน์). เข้าถึงไดจ้ าก https://adaymagazine.com/sand-natural-colors/. (วนั ท่ีสืบค้นขอ้ มูล 26 มกราคม 2564) ครนู ภาพร. (2559) .ลกั ษณะเฉพาะของสนี ้า.(ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จา https://watercolor99.blogspot.com/2016/04/blog-post.html. (วนั ที่สืบค้นขอ้ มูล 26 มกราคม 2564) Kuchiki Byakuya. (2556). สนี ้ามสี ว่ นประกอบอะไรบ้าง.(ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.trueplookpanya.com/ (วันทส่ี ืบค้นขอ้ มูล 26 มกราคม 2564) Puechkaset. (2558). ฝาง สรรพคณุ และประโยชน์ .(ออนไลน์). เขา้ ถึงได้จาก https://puechkaset.com/. (วนั ที่สืบค้นขอ้ มลู 26 มกราคม 2564) Puechkaset. (2558). ต้นหกู วาง ประโยชน์ และสรรพคุณ .(ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก https://puechkaset.com/. (วนั ท่สี บื คน้ ข้อมลู 26 มกราคม 2564) ไมร่ ะบุช่อื ผเู้ ขียน. (2555) .ไมย้ ้อมสธี รรมชาติ.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/tint/ (วนั ท่สี บื คน้ ข้อมูล 26 มกราคม 2564) นษิ ณาต นลิ ทองคา. (2563). เปลี่ยนทกุ วันใหส้ ดใส ดว้ ยสนี า้ ทามอื จากธรรมชาติ.(ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.happeningandfriends.com. (วันท่สี บื ค้นข้อมลู 26 มกราคม 2564)
13 ประวัติผู้จดั ทาโครงงาน นางสาว พิชชา พลอยมี เลขที่ 7 นางสาว พิมพพ์ ชิ ชา ปรีประทมุ เลขที่ 8 นางสาว ชญาภา ประมาณานนท์ เลขที่ 12 นางสาว ชมพูนทุ พระราชีวะ เลขท่ี 13 นางสาว ชลณชิ า เทียนเจริญ เลขท่ี 14 นางสาว วราภรณ์ ธรี ธรรมธาดา เลขท่ี 17 นางสาว กานต์ธดิ า เลศิ กาญจนาพร เลขที่ 19 นางสาว ฉฐั วลยั วรรณวงษ์ เลขที่ 20 นางสาว ฐิตาภา แสงทอง เลขที่ 21 นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 แผนการเรยี น วิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: