Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit1 musroom

unit1 musroom

Published by pachorn0831483892, 2018-03-28 05:59:29

Description: unit1 musroom

Search

Read the Text Version

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 เร่ือง เหด็ และความสาคญั ของการผลติ เห็ดคาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีจานวน 10 ขอ้ ขอ้ ละ 1 คะแนน เวลา 15 นาที 2. ใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ทบั ช่องอกั ษร ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตอ้ งท่ีสุด1. ขอ้ ใดคือสิ่งบง่ ช้ีวา่ เห็ดไม่สามารถสร้าง 4. เห็ดท่ีคนไทยนิยมบริโภคมากท่ีสุด คือ อาหารเองได้ เห็ดชนิดใด ก. เป็นพชื ช้นั ต่า ก. เห็ดเสมด็ ข. ตอ้ งการความช้ืนสูง ข. เห็ดหอม ต. ตอ้ งการแสงแดดในการเจริญเติบโต ค. เห็ดนางฟ้ า ง. ไมม่ ีคลอโรฟิ ลล์ ง. เห็ดฟาง2. ส่วนใดต่อไปน้ีไมใ่ ช่ส่วนประกอบของ 5. เห็ดทุกชนิดใหค้ ุณคา่ ทางอาหารดา้ นใด ดอกเห็ด มากท่ีสุด ก. วงแหวน ก. โปรตีน ข. ราก ข. คาร์โบไฮเดรต ค. เปลือกหรือเยื่อหุม้ ดอก ค. พลงั งาน ง. กา้ น ง. ไขมนั3. ส่วนที่อยดู่ า้ นบนสุด มีรูปร่างตา่ งๆ เช่น 6. สารเรทิน (retine) ท่ีมีคุณสมบตั ิในการ โคง้ นูน รูปกรวย รูปปากแตร มีลกั ษณะผวิ ตอ่ ตา้ นและชะลอการเจริญของเน้ืองอก เรียบ หรือ ขรุขระ มีสีตา่ งกนั ไป คือ พบในเห็ดชนิดใด ส่วนใดของเห็ด ก. เห็ดแชมปิ ญอง ก. หมวกเห็ด ข. เห็ดหลินจือ ข. ครีบเห็ด ค. เห็ดเป๋ าฮ้ือ ต. เปลือกหรือเยอื่ หุม้ ดอก ง. เห็ดหออม ง. เน้ือเห็ด

7. บุคคลใดต่อไปน้ีท่ีเป็นผบู้ ุกเบิกการเพาะ 10. ขอ้ ใดถูกตอ้ งท่ีสุด เห็ดฟางในประเทศไทย ก. สามารถเพาะเห็ดทุกชนิดไดท้ ุกพ้ืนท่ี ก. อนงค์ จนั ทร์ศรีกุล ในประเทศไทย ข. พนั ธ์ทวี ภกั ดีดินแดง ข. เห็ดฟางเป็ นเห็ดท่ีมีปริมาณการผลิต ค. ก่าน ชลวจิ ารณ์ สูงสุดของจานวนเห็ดท่ีผลิตทว่ั โลก ง. วนิดา แจง้ ศรี ค. เห็ดชนิดแรกท่ีนามาศึกษาเพาะใน ประเทศไทย คือเห็ดฟาง8. เห็ดที่ข้ึนไดด้ ีในสภาพอากาศหนาวเยน็ ง. สาเหตุท่ีญ่ีป่ ุนไมม่ ีปัญหาเร่ือง เช่นบริเวณแถบภาคเหนือ คือเห็ดชนิดใด การตลาดเห็ด เนื่องจากมีผบู้ ริโภค ก. เห็ดหอม มาก ข. เห็ดหูหนู ค. เห็ดโคน ง. เห็ดนางรม9. เพราะเหตุใดการเพาะเห็ดจึงเป็นอาชีพที่ สามารถสร้างรายไดใ้ หผ้ เู้ พาะเห็ดใน ประเทศไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ก. สภาพแวดลอ้ มเหมาะตอ่ การเจริญ ของเห็ด ข. ตลาดมีความตอ้ งการสูง ค. ตน้ ทุนการผลิตต่า ง. ถูกทุกขอ้

หน่วยท่ี 1เห็ดและความสาคญั ของการผลติ เห็ดหัวข้อเรื่อง 1. ความหมายและความสาคญั ของเห็ด 2. ส่วนต่างๆของเห็ด 3. ความสาคญั ของเห็ดที่มีต่อชีวติ ประจาวนั 4. ความสาคญั ของเห็ดท่ีมีต่อเศรษฐกิจของประเทศ 5. ความเป็นมาของการเพาะเห็ดในประเทศไทย 6. แหล่งผลิตเห็ดที่สาคญั ของไทย 7. สรุปสาระสาคญั เห็ดเป็ นพืชช้ันต่าประเภทฟังไจ (fungi) ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ตอ้ งอาศยั สารอินทรีย์จากส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ดอกเห็ดประกอบด้วยส่วนของหมวกเห็ดครีบดอก วงแหวน เปลือกและเยอ่ื หุม้ ดอก และเน้ือ เห็ดมีความสาคญั ในชีวิตประจาวนั คือ มีคุณค่าทางอาหาร มีแร่ธาตุ และวติ ามินสูง และ มีสรรพคุณทางยา เช่น เห็ดหลินจือ สรรพคุณช่วยในการรักษาโรคหลายชนิด เช่น ความดนั โลหิต โรคบวมน้า โรคมะเร็ง โรคตบั โรคภูมิแพ้ เป็นตน้ เห็ดมีความสาคญั ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในแง่การผลิตเห็ดเพ่ือสร้างรายไดข้ องเกษตรกร ซ่ึงสามารถจาหน่ายไดท้ ้งั ในและนอกประเทศ สร้างรายไดใ้ หป้ ระเทศไดถ้ ึงปี ละ 1,200ลา้ นบาท และมีแนวโนม้ สูงข้ึนเร่ือย ๆ เน่ืองจากคุณภาพเห็ดที่ผลิตในประเทศไดร้ ับการพฒั นาและเป็ นที่ยอมรับของตลาดมากข้ึน ในประเทศไทยมีแหล่งการผลิตเห็ดที่สาคญั กระจายอยทู่ วั่ ไป เห็ดท่ีมีการผลิตมากที่สุด คือเห็ดฟาง รองลงมา คือ เห็ดนางรม เห็ดเป๋ าฮ้ือ เห็ดนางฟ้ า เห็ดหูหนู เป็นตน้

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของเห็ดได้ 2. จาแนกส่วนประกอบของเห็ดได้ 3. อธิบายความสาคญั ของเห็ดในชีวติ ประจาวนั ได้ 4. บอกคุณคา่ ทางอาหารของเห็ดได้ 5. บอกแหล่งการผลิตเห็ดท่ีสาคญั ในประเทศไดถ้ ูกตอ้ งเนือ้ หา1. ความหมายและความสาคัญของเหด็ เห็ด (mushroom) หมายถึง พืชช้นั ต่าประเภทฟังไจ (fungi) ท่ีมีความแตกต่างไปจากพืชชนิดอื่น คือ ไมม่ ีคลอโรฟิ ลล์ (chlorophyll) หรือสารสีเขียว ทาใหเ้ ห็ดไม่สามารถสร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ตอ้ งอาศยั สารอินทรียจ์ ากสิ่งมีชีวิตและส่ิงที่ไม่มีชีวิตเพ่ือใชใ้ นการเจริญเติบโต รากพืชท่ีตายแลว้ (saprophyte) หรืออาศยั อาหารจากพืชอ่ืน ๆ (mycorrhiza)โดยทวั่ ไปเห็ดเป็ นชื่อใชเ้ รียกราช้นั สูงกลุ่มหน่ึง ซ่ึงมีวิวฒั นาการสูงกวา่ ราอื่น ๆ เห็ดมีวงจรชีวติ ท่ีสลบั ซบั ซอ้ นกวา่ เช้ือราทวั่ ไป เร่ิมจากสปอร์ซ่ึงเป็ นอวยั วะหรือส่วนที่สร้างเซลลข์ ยายพนั ธุ์ เม่ือตกไปในสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมจะงอกเป็ นเส้นใย (hypha) และกลุ่มเส้นใยรา (mycelium) เจริญพฒั นาเป็ นกลุ่มกอ้ นเกิดเป็ นดอกเห็ด อยเู่ หนือพ้ืนดิน บนตน้ ไม้ ขอนไม้ ซากพืช มูลสัตว์ เป็ นตน้เมื่อดอกเห็ดเจริญจะสร้างสปอร์ ซ่ึงจะปลิวไปงอกเป็นใยรา และเป็ นดอกเห็ดไดอ้ ีก หมุนเวยี นเช่นน้ีเรื่อยไป มนุษยส์ ามารถนามาใชเ้ ป็นอาหารได้ เนื่องจากเห็ดเป็ นอาหารท่ีมีรสชาติดี นอกจากเห็ดจะมีประโยชน์ต่อชีวติ ประจาวนั ของมนุษยใ์ นแง่ของอาหารและยาป้ องกนั รักษาโรคแลว้ เห็ดยงั มีความสาคญั ทางเศรษฐกิจอีกดว้ ย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย ซ่ึงมีสภาพแวดลอ้ มเหมาะสมสาหรับการเพาะเห็ดหลายชนิดประกอบกบั ตน้ ทุนในการผลิตเห็ดแต่ละชนิดค่อนขา้ งต่า จึงทาใหผ้ ู้เพาะเห็ดมีรายไดด้ ี มีฐานะความเป็ นอยู่ดีข้ึน ซ่ึงจะส่งผลไปถึงฐานะทางเศรษฐกิจของชาติดว้ ยดังน้ัน ผูเ้ รียนควรศึกษาความสาคัญของการเพาะเห็ดให้มีความรู้ ความเข้าใจ ก่อนจะเลือกประกอบอาชีพการเพาะเห็ดในอนาคต

2. ส่วนต่าง ๆ ของเห็ด (morphology) 2.1 หมวก (cap or pilleus) เป็ นส่วนท่ีอยดู่ า้ นบนสุด มีรูปร่างต่าง ๆ กนั เช่น โคง้ นูน รูปกรวย รูปปากแตร รูประฆงั เป็ นตน้ ผวิ บนหมวกมีลกั ษณะต่างกนั เช่น ผิวเรียบ ขรุขระ มีขน เกล็ดมีสีแตกตา่ งกนั และอาจมีการเปล่ียนแปลงได้ 2.2 ครีบ (gill or lamelta) อาจเป็ นแผน่ หรือซ่ีบาง ๆ อยใู่ ตห้ มวกเรียงเป็ นรัศมี หรือเป็ นรู(pores) ครีบเป็นที่เกิดของสปอร์ 2.3 กา้ น (stalk or stripe) ปลายขา้ งหน่ึงของกา้ นยดึ ติดกบั ดอกหรือหมวกเห็ด มีขนาดรูปร่าง และสีตา่ งกนั ในแต่ละชนิดของเห็ด ผวิ หยาบ เรียบ ขรุขระ มีขนหรือเกล็ด เห็ดบางชนิดไม่มีกา้ น เช่น เห็ดหูหนู เห็ดเผาะ เป็นตน้ 2.4 วงแหวน (ring or annulus) เป็ นส่วนที่เกิดจากเยอ่ื บาง ๆ ที่ยดึ ขอบหมวกกบั กา้ นดอกท่ีขาดออกจากหมวกเห็ดบาน 2.5 เปลือกหรือเยื่อหุ้มดอก (volva outer veil) เป็ นส่วนนอกสุดท่ีหุ้มหมวกและกา้ นไว้ภายในขณะที่ยงั เป็นดอกออ่ น จะแตกออกเม่ือดอกเริ่มบาน ส่วนของเปลือกหุม้ จะยงั อยทู่ ่ีโคน 2.6 เน้ือ (cortext) เน้ือภายในหมวกหรือกา้ นอาจจะเหนียวนุ่ม เปราะ เป็ นเส้นใย เป็ นรู หรือคอ่ นขา้ งแขง็ ภาพที่ 1 ส่วนตา่ งๆของดอกเห็ด ที่มา : ดาเกิง ป้ องพาล ( มปป.)

3. ความสาคญั ของเห็ด 3.1 ความสาคญั ของเหด็ ทม่ี ีต่อชีวติ ประจาวนั มนุษย์ทั่วโลกรู้จักเห็ดมานาน ท้ังประเภทท่ีนามาใช้เป็ นอาหารและประเภทท่ีมีพิษสายพนั ธุ์ของเห็ดมีมากกว่า 30,000 สายพนั ธุ์ กระจดั กระจายอยู่ทวั่ โลก ในจานวนสายพนั ธุ์ดงั กล่าวมีถึงร้อยละ 99 สายพนั ธุ์ ท่ีมนุษยส์ ามารถนามาบริโภคเป็ นอาหารได้ ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 1 เป็ นเห็ดที่มีพิษหรือเห็ดเมา ซ่ึงถ้าบริโภคเขา้ ไปอาจเป็ นอนั ตรายถึงแก่ชีวิตได้ เห็ดท่ีนามาบริโภคเป็ นอาหารในอดีตน้ันมีเพียงไม่กี่ชนิด เช่น เห็ดฝร่ังหรือเห็ดแชมปิ ญอง ซ่ึงนิยมบริโภคกนั มากในแถบยโุ รป เห็ดหอมเป็ นเห็ดท่ีชาวจีนนิยมบริโภคกนั มากที่สุด ส่วนคนไทยน้นันิยมบริโภคเห็ดโคนหรือเห็ดฟาง แต่เน่ืองจากเมื่อนาเห็ดมาประกอบอาหารแลว้ มีรสชาติดี ให้คุณค่าทางอาหารสูงและเห็ดบางชนิดยงั มีสรรพคุณเป็ นยาป้ องกนั และรักษาโรค จึงทาใหม้ ีผนู้ ิยมบริโภคเห็ดกนั มากข้ึนตามลาดบั ในปัจจุบนั พบว่าหลาย ๆ ประเทศเกือบทว่ั โลกหนั มาให้ความสนใจและร่วมมือกนั ในการวิจยั คน้ ควา้ ทดลอง คดั เลือกและปรับปรุงพนั ธุ์เห็ดให้มีจานวนมากข้ึน ในขณะเดียวกนั ก็ไดพ้ ฒั นาเทคนิควิธีการเพาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์เห็ดเพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตให้เพียงพอกบั ความตอ้ งการของผูบ้ ริโภค ประเทศที่มีการผลิตเห็ดเป็ นจานวนมากและส่งไปจาหน่ายยงั ตลาดโลก ไดแ้ ก่ ประเทศไตห้ วนั ญ่ีป่ ุน อินเดีย เกาหลี และประเทศไทย สาหรับประเทศไทยน้นั นอกจากจะนิยมบริโภคเห็ดกนั มากแลว้ ยงั ไดใ้ ห้ความสาคญั แก่เห็ดมากจนเห็ดกลายเป็ นอาหารท่ีมีคุณค่าสูงเทียบเคียงกบั เน้ือสัตว์ ดงั จะเห็นไดจ้ ากคากล่าวท่ีติดปากคนไทยมาชา้ นานวา่ “หมู เห็ด เป็ด ไก่ เป็นอาหารสาหรับผทู้ ่ีมีอนั จะกิน” ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นวา่เห็ดเป็ นอาหารท่ีคนทว่ั ไปยอมรับมาช้านานแล้ว ในเรื่องของรสชาติและคุณค่าทางอาหาร ซ่ึงสามารถแบง่ ความสาคญั ของเห็ดท่ีมีต่อชีวติ ประจาวนั ไดด้ งั น้ี 3.1.1 คุณคา่ ทางอาหารของเห็ด จากการคน้ ควา้ วจิ ยั เก่ียวกบั คุณค่าทางอาหารของเห็ดโดยกรมวทิ ยาศาสตร์พบวา่ เห็ดประกอบดว้ ยสารอาหารท่ีมีคุณค่าและคุณประโยชน์ต่อร่างกายในปริมาณท่ีสูงกวา่ พืชผกั ชนิดอ่ืน ๆ ยกเวน้ พืชผกั ตระกลู ถวั่ ซ่ึงเห็ดท่ีมีจาหน่ายในทอ้ งตลาดทว่ั ไปเช่น เห็ดฟาง เห็ดหูหนู เห็ดนางรม เห็ดเป๋ าฮ้ือ เห็ดนางฟ้ า เมื่อนาวิเคราะห์พบวา่ ประกอบดว้ ยสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั แร่ธาตุต่าง ๆ และวิตามิน ในปริมาณท่ีแตกต่างกนัและพบวา่ เห็ดหูหนูบางชนิดมีปริมาณสารอาหารท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ ร่างกายสูงสุด และจากการวจิ ยัของหน่วยงานวิจยั อุตสาหกรรมการเพาะเห็ดแห่งสหรัฐอเมริกา (America Mushroom IndustryResearch) พบว่าเห็ดท่ีนิยมบริโภคโดยทว่ั ไปประกอบด้วยวิตามินหลายชนิด เช่น ไทอามีนไรโบฟลาวิน ไนอาซีน และวิตามินซี ส่วนวิตามินบี 12 พบเฉพาะในเห็ดเป๋ าฮ้ือเท่าน้ัน ส่วน

แร่ธาตุต่าง ๆที่พบในเห็ดทวั่ ไปไดแ้ ก่ ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส และแคลเซียม แต่ในเห็ดเป๋ าฮ้ือมีธาตุแมกนีเซียมและโพแทสเซียมเป็นองคป์ ระกอบอยดู่ ว้ ย ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบนั ราคาอาหารประเภทเน้ือสัตวค์ ่อนขา้ งสูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกบั อาหารท่ีเป็ นผลผลิตจากพืช ดงั น้นั เพื่อเป็ นการปรับตวั ให้เขา้ กบั ภาวะเศรษฐกิจ จึงควรเลือกบริโภคพืชผกั ท่ีมีคุณค่าทางอาหารสูงทดแทนเน้ือสัตวบ์ างตามความเหมาะสม โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเห็ดซ่ึงมีโปรตีนสูง และโปรตีนของเห็ดไม่มีคลอเรสเตอรอลที่เป็ นอนั ตรายต่อระบบไหลเวียนของโลหิต ประกอบกบั เห็ดมีปริมาณธาตุโซเดียมคอ่ นขา้ งต่า จึงเป็ นอาหารท่ีเหมาะสาหรับผปู้ ่ วยท่ีเป็ นโรคตบั โรคไต โรคหัวใจ และโรคความดันโลหิตสูง นอกจากน้ีอาหารประเภทเห็ดยงั นิยมบริโภคกนั มากในหมู่นกั ปฏิบตั ิมงั สวิรัติ (vegetarian) รวมไปถึงผทู้ ่ีตอ้ งการลดความอว้ น ผปู้ ่ วยหลงั พกั ฟ้ื นหรือผตู้ อ้ งการบารุงร่างกาย และที่สาคญั ท่ีสุดกค็ ือ มีเห็ดบางชนิดท่ีสามารถป้ องกนั และรักษาโรคบางอยา่ งได้ เห็ดหอม เห็ดหลินจือ เป็นตน้ ที่มา : หมอชาวบา้ น, มปป.

3.1.2 สรรพคุณทางยาของเห็ด เมื่อประมาณ 20 ปี ล่วงมาแลว้ ที่นกั วิจยั เห็ดและนักการเพาะเห็ด ได้คน้ พบสรรพคุณทางยาของเห็ดหลายชนิด เช่น เห็ดหอม เห็ดฝรั่ง เห็ดหลินจือ เป็นตน้ วา่ สามารถนาไปใชเ้ ป็นยาธรรมชาติในการป้ องกนั และบาบดั โรคการสะสมไขมนัในหลอดเลือด โรคความดันโลหิต และโรคมะเร็งได้อย่างปลอดภัยและได้ผล อีกท้ังยงั มีสารเรทีน (retine) ซ่ึงมีคุณสมบตั ิต่อตา้ นและชะลอการเติบโตของเน้ืองอกในร่างกายไดโ้ ดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เห็ดหลินจือ ไดช้ ื่อวา่ เป็นเห็ดวเิ ศษสาหรับชาวจีนและชาวญ่ีป่ ุนมาชา้ นาน เนื่องจากมีความเช่ือวา่ สามารถป้ องกนั และบาบดั โรคไดห้ ลายชนิด ในปี พ.ศ. 2530 มีการคน้ ควา้ วิจยั เกี่ยวกบั คุณสมบตั ิของเห็ดหลินจือในประเทศไทยข้ึนอยา่ งแพร่หลายและขยายวงกวา้ งข้ึนโดยกรมวชิ าการเกษตรร่วมกบั สมาคมนกั วจิ ยั การเพาะเห็ดแห่งประเทศไทยภายใตก้ ารสนบั สนุน ดา้ นวชิ าการของรัฐบาลญี่ป่ ุน ทาใหว้ งการแพทยใ์ นประเทศไทยและประเทศแถบตะวนั ออกอ่ืน ๆ ยอมรับวา่ เห็ดหลินจือ เป็ นยาสมุนไพรที่มีผลต่อการบาบดั รักษาโรคไดห้ ลายชนิด เช่น โรคความดนั โลหิตผิดปกติ โรคบวมน้า โรคมะเร็ง โรคตบั โรคภูมิแพ้โรคเบาหวาน โรคกระเพาะและลาไส้ โรคประสาท เป็ นตน้ ในปัจจุบนั ประเทศญี่ป่ ุนไดน้ าเอาดอกเห็ดหลินจือที่เจริญเติบโตเต็มที่มาสกดั และผลิตเป็ นหลินจือผง ใช้เป็ นเครื่องดื่มบารุงรักษาและส่งเสริมสุขภาพ สาหรับประเทศไทยกม็ ีผยู้ อมรับเห็ดหลินจือกนั มากข้ึน

ตารางท่ี 1. 2 แสดงคุณค่าทางอาหารของผงสกดั จากเห็ดหลนิ จือสารอาหาร (%) ธาตุอาหาร วติ ามิน อ่ืน ๆ (%) (มิลลิกรัม/1000 กรัม (มิลลิกรัม/1000 กรัมโปรตีน 26.4 เหล็ก 82.6 ไทอามีน (บี 1) 3.49 น้า 6.9ไขมนั 4.5 โซเดียม 375 ไรโบฟลาวนี (บี 2) 17.10 โพลีแซ็กคาไรด์ 11.4คาร์โบไฮเดรต 43.1 แคลเซียม 832 ไพริดอ๊ กซิน(บี 6) 0.71เถา้ 19.0 แมกนีเซียม 1,030 โคลีน 1,150เส้นใย 0.1 โพแทสเซียม 3,590 ไนอาซีน 61.90 ฟอสฟอรัส 4,150 อินโนซิตอล 307ท่ีมา : วงเดือน พองไสยา, 2552. ส่วนเห็ดชนิดอื่น ๆ เช่น เห็ดหอม เห็ดนางฟ้ า เห็ดหูหนู เห็ดฟาง ถึงแมว้ า่ จะมีสรรพคุณทางป้ องกนั และบาบดั โรคได้น้อยกว่าเห็ดหลินจือก็ตาม แต่เห็ดทุกชนิดดงั กล่าวก็มีคุณค่าทางอาหารสูง ซ่ึงหากร่างกายไดร้ ับครบถว้ นจะสามารถสร้างความตา้ นทานโรคไดด้ ีเช่นเดียวกนั 3.2 ความสาคัญของเหด็ ทมี่ ตี ่อเศรษฐกจิ ของประเทศ ประเทศไทยนบั ไดว้ า่ มีสภาพเหมาะสมและเอ้ืออานวยต่อการเพาะเห็ดอยา่ งมาก เนื่องจากมีวสั ดุเหลือใช้และมีผลพลอยได้จากการผลิตทางการเกษตรจานวนมากท้งั ท่ีไดจ้ ากพืชและสัตว์รวมไปถึงวชั พืชบางชนิดท่ีมีอยู่ทว่ั ไปในประเทศไทย เช่น ผกั ตบชวา หญา้ คา เป็ นตน้ ส่วนวสั ดุเหลือใช้และผลพลอยไดจ้ ากการเกษตรที่สามารถนามาใช้ในการเพาะเห็ดได้ เช่น ฟางขา้ ว ตน้กลว้ ย ชานออ้ ย ตน้ ขา้ วโพด ซงั ขา้ วโพด เปลือกถว่ั เขียว กากน้าตาล ป๋ ุยหมกั มูลไก่ มูลเป็ ด มูลมา้ และมูลโค เป็นตน้ ซ่ึงวสั ดุเหล่าน้ีสามารถนาไปดดั แปลงและปรับปรุงใชใ้ นการเพาะเห็ดชนิดต่าง ๆ ไดต้ ามความเหมาะสม นอกจากน้นั สภาพดินฟ้ าอากาศของประเทศไทยยงั เหมาะกบั การเจริญเติบโตของเห็ดเศรษฐกิจเกือบทุกชนิด อาทิเช่น เห็ดฟาง เห็ดนางรม เห็ดเป๋ าฮ้ือ เห็ดหูหนู

รวมไปถึงเห็ดแชมปิ ญอง และเห็ดหอม ก็สามารถเพาะไดด้ ีในบางทอ้ งถิ่นของประเทศไทย ดงั น้นัถา้ ไดม้ ีการส่งเสริมให้เกษตรกรไทยไดร้ ู้จกั การเพาะเล้ียงเห็ดท่ีถูกวิธี นอกจากจะทาให้มีผลผลิตเห็ดเพิ่มข้ึนท้งั ดา้ นปริมาณและคุณภาพแลว้ ยงั เป็ นการเพ่ิมอาหารท่ีมีคุณค่าแก่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ทาใหม้ ีคุณค่าสุขภาพพลานามยั สมบูรณ์แขง็ แรง พร้อมท่ีจะพฒั นาประเทศชาติไดใ้ นทุกทางโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทางดา้ นเศรษฐกิจ เพราะเม่ือผลผลิตเห็ดเพิ่มข้ึนรายไดข้ องเกษตรกรก็จะเพ่ิมข้ึนดว้ ย จากการจาหน่ายผลผลิตท้งั ในประเทศและส่งเป็ นสินคา้ ออก ซ่ึงเป็ นผลให้ระบบเศรษฐกิจของชาติเจริญกา้ วหนา้ และพฒั นาข้ึนตามลาดบั ประเทศต่าง ๆ กวา่ 70 ประเทศทวั่ โลก ไดเ้ ล็งเห็นถึงความสาคญั ของการเพาะเห็ดเป็ นอย่างมาก เห็ดที่นิยมเพาะกนั มากมีอยู่ 8 ชนิดดว้ ยกนั คือ เห็ดแชมปิ ญอง เห็ดหอม เห็ดหูหนูเห็ดฟาง เห็ดนางรม เห็ดหูหนูขาว เห็ดเข็มทอง และเห็นนามิโกะ นอกจากเห็ดท้งั 8 ชนิดดงั กล่าวแล้วยงั มีเห็ดอ่ืน ๆ อีก เช่น เห็ดเป๋ าฮ้ือ เห็ดนางฟ้ า เห็ดตีนแรด เห็ดหลินจือ เป็ นตน้แต่นิยมเพาะกนั มากเฉพาะบางประเทศเท่าน้นั และจานวนการผลิตเห็ดทุกประเทศทวั่ โลกต้งั แต่ปีพ.ศ. 2522 เป็ นตน้ มา มีปริมาณการผลิตเห็ดฝรั่งหรือเห็ดแชมปิ ญองสูงสุด ปริมาณร้อยละ 78ของจานวนผลผลิตเห็ดท้งั หมดในตลาดโลก จากจานวนประเทศผผู้ ลิตเห็ดทวั่ โลกพบวา่ ประเทศต่าง ๆ ที่มีการพฒั นาเทคนิค วธิ ีการและระบบการเพาะเห็ดท่ีสาคญั จนเป็นท่ียอมรับโดยทวั่ ไปมีเพียง 5 ประเทศเทา่ น้นั คือ 1) ประเทศจีน (ไตห้ วนั ) เป็ นประเทศที่ผลิตเห็ดฝร่ังเห็ดหรือเห็ดแชมปิ ญองได้มากเป็นอนั ดบั ที่สามของโลก แต่สามารถส่งจาหน่ายไดเ้ ป็ นอนั ดบั ที่หน่ึงของโลก โดยประเทศจีนผลิตไดป้ ระมาณร้อยละ 95 และส่งเป็ นสินคา้ ออก การพฒั นาการเพาะเห็ดของไตห้ วนั นบั ไดว้ ่าเจริญรุดหน้ารวดเร็วกว่าประเทศอ่ืน ๆ เน่ืองจากมีการวางแผนการผลิตท่ีดี โดยหาขอ้ มูลความต้องการเห็ดชนิดต่าง ๆ ของต่างประเทศจากทูตพาณิชย์ จึงทาให้ไม่มีปัญหาเร่ืองการตลาดเห็ดแชมปิ ญองหรือ ในขณะเดียวกนั ภาครัฐบาลและภาคเอกชนก็ร่วมมือประสานงานกนั อยา่ เตม็ ท่ีในการควบคุมการผลิตและการส่งเสริมความรู้ทางด้านการเพาะเห็ดให้แก่เกษตรกรผูผ้ ลิตโดยพยายามสนบั สนุนให้นาเทคโนโลยีเขา้ มาช่วยในการเพ่ิมผลผลิตเพ่ือลดตน้ ทุนการผลิตด้านการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ก็ไดร้ ับความช่วยเหลือจากเอกชนอยา่ งเตม็ ที่ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ บริษทั การท่องเท่ียวได้ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ด้วยการจัดทา อาหารประเภทเห็ดให้นักท่อนเที่ยวได้รับประทานทุกม้ือ จึงทาใหก้ ารพฒั นาการเพาะเห็ดของไตห้ วนั พฒั นาไดเ้ ร็วกวา่ ประเทศอ่ืน ๆ ในแถบเอเชีย 2) ประเทศญี่ป่ ุน การเพาะเห็ดในประเทศญ่ีป่ ุนได้ตื่นตวั ในสมยั สงครามโลกคร้ังที่ 2 ซ่ึงก่อนหน้าน้ีเกษตรกรจะหาเห็ดหอมจากป่ าบริเวณที่มีไม้ก่อข้ึนอยู่มากมาย ทาให้

ทรัพยากรธรรมชาติส่วนมากถูกทาลาย ดงั น้นั เพื่อเป็ นการแกป้ ัญหาดงั กล่าวทางรัฐบาลญ่ีป่ ุนจึงอนุญาตใหผ้ เู้ พาะเห็ดมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดินเพอื่ ใชป้ ลูกไมก้ ่อสาหรับเพาะเห็ดหอม พร้อมท้งั ส่งเสริมการค้นควา้ วิจยั เพ่ือนาเทคนิคต่าง ๆ มาใช้ในการเพิ่มผลผลิตเห็ด จนทาให้ญ่ีป่ ุนสามารถผลิตเห็ดหอมไดม้ ากและส่งเป็นสินคา้ ออกเป็นอนั ดบั หน่ึงของโลก 3) ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใตไ้ ดเ้ ร่ิมพฒั นาการเพาะเห็ดเม่ือปี พ.ศ. 2515 โดยรัฐบาลไดจ้ า้ งผูเ้ ช่ียวชาญการเพาะเห็ดจากประเทศไตห้ วนั จานวน 2 คน ให้ความรู้แก่นกั วชิ าการชาวเกาหลีพร้อมท้งั ส่งเสริมและสนบั สนุนอย่างจริงจงั ท้งั ดา้ นบุคลากรและงบประมาณ จงทาให้เกาหลีใตใ้ ชเ้ วลาในการพฒั นาการเพาะเห็ดเพียง 6 ปี ก็สามารถกลายเป็ นประเทศคู่แข่งท่ีสาคญัของไตห้ วนั ในการส่งเห็ดแชมปิ ญองและเห็ดหอมเป็นสินคา้ ออก 4) ประเทศอินเดีย เป็ นประเทศเดียวในแถบเอเชียที่ตื่นตัวช้าท่ีสุดในการพฒั นาการเพาะเห็ด เนื่องจากความเชื่อถือท่ีถูกปลูกฝังมาต้งั แตใ่ นอดีตวา่ เห็ดเป็ นดอกไมม้ ูลสัตวจ์ ึงทาให้พลเมืองของอินเดียในอดีตรังเกียจเห็ดเป็ นอย่างมากทาให้ขาดนกั วิชาการการเพาะเห็ด แต่ดว้ ยความช่วยเหลือและรณรงคข์ ององคก์ ารอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ไดร้ ณรงค์การเพาะเห็ดเพื่อใหส้ ถาบนั ดงั กล่าวเป็นผผู้ ลิตเช้ือเห็ดและป๋ ุยหมกั และให้เกษตรกรหรือสมาชิกของสถาบนั นาไปเพาะ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตแลว้ ให้นาผลผลิตมารวมกนั เพ่ือจาหน่ายโดยมีเจา้ หนา้ ท่ีของสถาบนั คอยดูแลอย่างใกลช้ ิด ซ่ึงในปัจจุบนั ชาวอินเดียจานวนมากหันมาบริโภคเห็ด เห็ดท่ีเพาะกนั มากในอินเดียคือ เห็ดนางรม และเห็ดนางนวล 5) ประเทศไทย ในปัจจุบนั ประเทศไทยมีการปรับปรุงและพฒั นาการเพาะเห็ดไปมากจนกลายเป็ นอาชีพหลกั ที่สาคญั ของเกษตรกรอาชีพหน่ึง ถ้าจะเปรียบเทียบกบั ประเทศในภมู ิภาคเอเชียแลว้ ประเทศไทยจดั อยใู่ นระดบั แนวหนา้ จะเป็นรองอยบู่ า้ งกแ็ ต่ประเทศญ่ีป่ ุนเท่าน้นัจานวนเห็ดที่ผลิตไดส้ ูงสุดในแต่ละปี คือ เห็ดฟาง ส่วนเห็ดท่ีผลิตไดน้ ้อยและน้อยมาก คือเห็ดแชมปิ ญอง และเห็ดหอมตามลาดบั โดยมีสาเหตุมาจากฤดูกาลและวสั ดุท่ีใช้เพาะ ซ่ึงเรายงั ไม่สามารถควบคุม ปรับปรุงและดดั แปลงใหเ้ หมาะสมไดต้ ลอดท้งั ปี แต่อยา่ งไรก็ตามอาชีพการเพาะเห็ดเป็ นอีกอาชีพหน่ึงที่สามารถทารายไดใ้ หป้ ระเทศชาติปี ละไม่นอ้ ยกวา่ 1,200 ลา้ นบาท และมีแนวโนม้ ท่ีจะสูงข้ึนเร่ือย ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในช่วงต้งั แต่ตน้ ปี พ.ศ. 2530 นบั เป็ นปี ทองของเห็ดไทยเพราะตลาดตา่ งประเทศมีความตอ้ งการเห็ดไทยทุกชนิดเพิ่มข้ึน เน่ืองจากคุณภาพของเห็ดของประเทศไทยไดร้ ับการพฒั นา จนเป็นท่ียอมรับของตลาดโลก4. ความเป็ นมาของการเพาะเหด็ ในประเทศไทย การเพาะเห็ดในประเทศไทยเริ่มตน้ จากการคน้ ควา้ ทดลองของ อาจารยก์ ่าน ชลวิจารณ์เม่ือปี พ.ศ. 2480 ซ่ึงท่านผู้น้ีสาเร็จการศึกษามาจากมหาวิทยาลัยเกษตรแห่งฟิ ลิปปิ นส์

แนวความคิดในการเพาะเห็ดของท่านเกิดข้ึนคร้ังแรกเมื่อไดไ้ ปศึกษาดูงานท่ี Bureau of PlantIndustry ที่กรุงมะนิลา ระหว่างการดูงานน้นั ไดพ้ บกบั ดร. คลาร่า (Dr.F.M. Clara) ซ่ึงเป็ นนกั โรคพืชวิทยา กาลงั ทดลองเพาะเห็ดฟางโดยการใชเ้ ศษและกา้ นใบยาสูบ เศษตน้ ป่ านมนิลาตน้ กลว้ ย กาบกลว้ ย รวมท้งั กระสอบป่ านเก่า ๆ จากการท่ีไดพ้ บเห็นการทดลองดงั กล่าวประกอบกบั ไดม้ ีโอกาสไปดูงานท่ีประเทศญ่ีป่ ุนพบวา่ การเพาะเห็ดเป็ นอุตสาหกรรมท่ีประเทศญี่ป่ ุนสามารถทารายไดใ้ หป้ ระเทศปี ละหลายร้อยลา้ นบาท จากประสบการณ์ดงั กล่าวเมื่ออาจารยก์ ่าน ชลวจิ ารณ์ กลบั มาประเทศไทยจึงไดบ้ ุกเบิกริเร่ิมการทดลองการเพาะเห็ดต้งั แต่ปี พ.ศ. 2480 เป็ นตน้ มา ซ่ึงขณะน้นั เห็ดท่ีคนไทยนิยมบริโภคกนั มากคือ เห็ดฟางหรือเห็ดบวั เห็ดโคน เห็ดหูหนู และเห็ดหิ่งห้อย จึงไดศ้ ึกษาทดลองวิธีการเพาะเห็ดดงั กล่าว ในสมยั น้นั มีคนจีนบริเวณตาบลซงั ฮ้ี กรุงเทพมหานครไดเ้ พาะเห็ดบวั โดยอาศยักองขยะมูลฝอย คือนาฟางขา้ วมาปูทบั กองขยะแล้ววางลงั ไม้ฉาฉาซ่ึงไม่มีก้นลงบนกองฟางบางคร้ังเห็ดก็ข้ึน แต่ที่ใดที่เห็ดเคยข้ึนแล้วเห็ดจะไม่ข้ึนอีก นับว่าเป็ นการเพาะเห็ดโดยอาศัยธรรมชาติ แสดงให้เห็นวา่ เปลือกบวั ฟางขา้ ว และกองขยะซ่ึงให้ความร้อนเป็ นสิ่งที่เห็ดบวั ชอบและอาจารยก์ ่าน ชลวิจารณ์ ก็ไดอ้ าศยั ขอ้ สังเกตดงั กล่าวมาใชใ้ นการคน้ ควา้ วิธีเพาะเห็ด ท่านได้ดาเนินการทดลองเพาะเห็ดโดยแบ่งออกเป็ น 3 ข้นั ตอน คือ 1) การทดลองเล้ียงเช้ือเห็ดบริสุทธ์ิ (pure culture) จากเมล็ดหรือจากเยอ่ื ของดอกเห็ดในอาหารวุน้ ชนิดต่าง ๆ และศึกษาว่าเช้ือเห็ดตอ้ งการอาหารชนิดใด ระดบั pH ของอาหารและอุณหภูมิท่ีเหมาะสมควรจะเป็นเทา่ ไร เห็ดจึงจะเจริญเติบโตไดด้ ีท่ีสุด 2) การทดลองทาเช้ือเห็ด (spawn) เพอื่ ใหไ้ ดเ้ ห็ดปริมาณมากข้ึนสาหรับใชใ้ นการเพาะโดยใช้วสั ดุชนิดต่าง ๆ ท่ีเห็นว่าเหมาะสมสาหรับเป็ นอาหารของเช้ือเห็ด เช่น เปลือกบวั ฟางขา้ วเมล็ดฝ้ าย ใบกา้ มปู หญา้ แหง้ ผกั ตบชวาแหง้ มูลมา้ สด และวสั ดุอื่น ๆ เท่าท่ีจะหาไดแ้ ละมีราคาถูก จากการทดลองน้ีพบวา่ เช้ือเห็ดเจริญเติบโตไดด้ ีท่ีสุดในมูลมา้ สดผสมเปลือกบวั หรือฟางขา้ วสับและหมกั ไวจ้ นไดท้ ่ี 3) การทดลองวิธีการเพาะ (culture) โดยทาการเพาะเห็ดสองแบบ คือ การเพาะเห็ดในลงั ไมแ้ ละการเพาะเห็ดโดยทาแปลงบนพ้ืนดินในท่ีร่มและกลางแจง้ โดยใช้ฟางขา้ ว ซ่ึงวิธีการเพาะเห็ดแบบสร้างแปลงเห็ดดว้ ยฟางขา้ วเป็นวธิ ีท่ีไดผ้ ลดีท่ีสุด เม่ือการทดลองทาเช้ือเห็ดและการเพาะเห็ดฟางไดผ้ ลแน่นอนเป็ นท่ีพอใจแลว้ จึงไดน้ าเอาออกส่งเสริมและเผยแพร่ให้แก่เกษตรกรและประชาชนท่ัวไปทาเช้ือเห็ดหรือเพาะเห็ดเป็ นอุตสาหกรรมภายในครอบครัว จากความสาเร็จคร้ังน้ีนอกจากจะไดร้ ับความสนใจจากประชาชนทวั่ ไปแลว้ ชาวต่างประเทศจานวนมากไดต้ ิดต่อขอคาแนะนาและขอซ้ือเช้ือเห็ดจากประเทศไทย

จ น ต้อ ง จัด พิ ม พ์เ อ ก ส า ร เ ผ ย แ พ ร่ เ ป็ น ภ า ษ า อัง ก ฤ ษ ข้ึ น เ มื่ อ ปี พ . ศ . 2 4 9 3 ชื่ อ ว่ า“Culture of Mushroom in Thailand” ต้งั แต่น้นั เป็ นตน้ มา เห็ดฟางหรือเห็ดบวั กลายเป็ นเห็ดท่ีนิยมเพาะกนั มากในหมู่เกษตรกรและในขณะเดียวกนั ความตอ้ งการทางดา้ นการตลาดก็นบั วนั จะเพิ่มมากข้ึน ดงั น้นั อาจารยก์ ่าน ชลวิจารณ์ จึงไดร้ ับการยอมรับว่าเป็ นบุคคลแรกที่ทาการบุกเบิกและพฒั นาการเพาะเห็ดฟางจนประสบผลสาเร็จในปี พ.ศ. 2505 แผนกโรคพืช กรมวิชาการเกษตร ได้ทดลองเพาะเห็ดนางรม โดยอาจารย์พนั ธุ์ทวี ภักดีแดนดิน โดยความร่วมมือช่วยเหลือของดร.บล็อก (Dr.S.S. Block) ปรากฏว่าประสบผลสาเร็จและได้มีการพยายามปรับปรุงพนั ธุ์เห็ดนางรมในระยะเวลาตอ่ มาจนประเทศไทยสามารถเพาะเห็ดนางรมไดต้ ลอดท้งั ปี หลงั จากน้นั ก็ไดท้ าการอบรมเผยแพร่ แก่เกษตรกรจนกระทั่งปี พ.ศ. 2515 จึงได้จัดต้ังชมรมเห็ดข้ึนในมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ทาใหก้ ารเพาะเห็ดในประเทศไทยตื่นตวั มากข้ึน ปี พ.ศ. 2507 มีผูน้ าเอาเห็ดหูหนูจากไตห้ วนั มาทดลองเพาะท่ีจังหวดั เพชรบูรณ์เป็ นผลสาเร็จ กรมวชิ าการเกษตรโดย ดร. วนิดา แจง้ ศรี ไดท้ าการศึกษาและทดลองจนสามารถเพาะและใหผ้ ลผลิตเตม็ ท่ี จึงไดม้ ีการเผยแพร่วธิ ีการเพาะเห็ดหูหนูแก่เกษตรกร ปี พ.ศ. 2514 บริษทั ฟาร์มเอกชนที่จงั หวดั ลาปางไดท้ ดลองเพาะเห็ดแชมปิ ญองหรือเห็ดฝรั่งจนเป็นผลสาเร็จ หลงั จากน้นั อีกประมาณ 2 ปี ต่อมาอาจารยน์ ุชนารถ จงเลขา ไดท้ าการวจิ ยัและเผยแพร่ผลการวจิ ยั ไปสู่เกษตรกรจนเป็นท่ีแพร่หลายกนั ในเวลาตอ่ มา ปี พ.ศ. 2515 บริษทั สากลไดน้ าเห็ดเป๋ าฮ้ือมาทดลองเพาะเพื่อแปรรูปเป็ นเห็ดกระป๋ องแต่ไม่ไดเ้ ผยแพร่เทคนิคการเพาะ แต่ในท่ีสุดชมรมเห็ด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ไดศ้ ึกษาทดลองเพาะเห็ดเป๋ าฮ้ือจนเป็นผลสาเร็จ และส่งเสริมใหเ้ กษตรกรทาการเพาะเล้ียง จากอดีตท่ีผา่ นมาพบวา่ ประเทศไทยไดพ้ ยายามปรับปรุงและพฒั นาการเพาะเห็ดมานานถึง 52 ปี ซ่ึงถา้ เปรียบเทียบความกา้ วหนา้ ทางการเพาะเห็ดระหวา่ งประเทศต่าง ๆ ในเอเชียดว้ ยกนัแลว้ ประเทศไทยจะเป็ นรองเฉพาะประเทศญี่ป่ ุนเท่าน้นั เน่ืองจากเทคโนโลยที ่ีเกษตรกรใชอ้ ยนู่ ้นัเป็นเทคโนโลยขี ้นั พ้ืนฐานท่ีเรียนรู้และยอมรับไดง้ ่ายเหมาะแก่การถ่ายทอดและนาไปใช้ ซ่ึงมกั จะมีขอ้ จากดั ที่ผลผลิตจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพดินฟ้ าอากาศท้งั ทางดา้ นปริมาณและคุณภาพ จึงทาให้เกิดปัญหาทางการตลาด เพราะแมว้ ่าตลาดเห็ดของไทยจะกวา้ งขวางมากเพียงใดก็ตาม แต่ในขณะเดียวกนั ตลาดทุกประเภทตอ้ งการเห็ดท่ีมีคุณภาพสูงมากดว้ ยเช่นกนั

5. แหล่งผลติ เหด็ ทสี่ าคญั ของไทย จากการรวบรวมสถิติเกี่ยวกบั ผลผลิตของเห็ดทุกชนิดในประเทศไทยจากแหล่งต่าง ๆทวั่ ประเทศพบว่าเห็ดท่ีผลิตส่วนใหญ่เป็ นการผลิตเห็ดฟางมากที่สุด รองลงมาไดแ้ ก่ เห็ดนางรมเห็ดเป๋ าฮ้ือ เห็ดนางฟ้ า เห็ดหูหนู ซ่ึงสามารถจาแนกแหล่งผลิตเห็ดท่ีสาคญั ออกไดด้ งั น้ี คือ 6.1 เห็ดฟาง เห็ดฟางมีแหล่งผลิตอยทู่ ว่ั ประเทศ แต่แหล่งผลิตที่สาคญั ที่สามารถผลิตเห็ดฟางไดจ้ านวนมากที่สุดก็คือ บริเวณพ้ืนที่ชานเมืองและจังหวดั รอบนอกของกรุงเทพมหานคร เช่น เขตหนองแขม เขตตล่ิงชัน อาเภอกระทุ่มแบน จงั หวดั สมุทรสาคร อาเภอสามพราน จงั หวดันครปฐม อาเภอลาลูกกา จงั หวดั ปทุมธานี อาเภอภาชี จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา และจงั หวดัฉะเชิงเทรา ซ่ึงทุกแหล่งดังกล่าวจดั ได้ว่าเป็ นตลาดผูผ้ ลิตเห็ดฟางท่ีใหญ่ท่ีสุดของไทยโดยมีกรุงเทพมหานครเป็นตลาดกลาง และเป็นเมืองทา่ ส่งเห็ดฟางไปจาหน่ายยงั ต่างประเทศ 6.2 เหด็ นางรม เหด็ นางฟ้ า และเห็ดนางนวล แหล่งเพาะเห็ดท่ีสาคญั ส่วนใหญ่อยใู่ นบริเวณเดียวกบั การเพาะเห็ดฟาง 6.3 เหด็ เป๋ าฮือ้ แหล่งผลิตเห็ดเป๋ าฮ้ือท่ีสาคญั คือ จงั หวดั ทางภาคเหนือ ไดแ้ ก่ จงั หวดั เชียงใหม่ เชียงรายลาปาง และจงั หวดั รอบนอกกรุงเทพมหานคร เช่น อาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม อาเภอกระทุ่มแบน จงั หวดั สมุทรสาคร เป็นตน้ 6.4 เหด็ แชมปิ ญอง เห็ดแชมปิ ญอง อาจเรียกไดอ้ ีก 2 ช่ือวา่ เห็ดฝร่ังหรือเห็ดกระดุม มีแหล่งผลิตที่สาคญั คือจงั หวดั เชียงใหม่ จงั หวดั ลาปาง และกรุงเทพมหานคร 6.5 เห็ดหูหนู แหล่งผลิตเห็ดหูหนูกระจายอยทู่ ว่ั ทุกภาคของประเทศไทย แต่ส่วนใหญ่ผลิตเป็ นรายยอ่ ยเท่าน้นั 6.6 เห็ดหอม เห็ดหอม เป็ นเห็ดที่มีราคาแพงและชอบอากาศหนาวเยน็ แหล่งเพาะเห็ดหอมที่สาคญัคือ จงั หวดั ทางภาคเหนือ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ จงั หวดั เชียงใหม่ และจงั หวดั ลาปาง แต่ในปัจจุบนั มีผูน้ าเอามาปลูกในภาคกลางได้สาเร็จ โดยกาหนดระยะเวลาปลูกให้เห็ดหอมออกดอกในช่วงฤดู หนาว และได้ดดั แปลงวสั ดุที่ใช้ปลูกบนไม้ก่อ มาปลูกในถุงข้ีเล่ือยไมย้ างซ่ึงปรากฏว่าได้ผลผลิตดีใกลเ้ คียงกบั เห็ดหอมท่ีปลูกในภาคเหนือ

กจิ กรรม ท่ี 1.1วชิ า การผลติ เหด็ รหสั วชิ า 2501-2105ช่ือหน่วย เห็ดและความสาคญั ของการผลติ เห็ด สอนคร้ังท่ีชื่อเร่ือง สถติ ิการเพาะเห็ดและมูลค่าการจาหน่ายเห็ด เวลา ชั่วโมง ชนิดต่างๆในประเทศไทยและต่างประเทศจุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถคน้ ควา้ ขอ้ มลู ทางอินเทอร์เน็ตเก่ียวกบั สถิติการเพาะเห็ดและมลู คา่ การจาหน่าย เห็ดชนิดตา่ งๆในประเทศไทยและทวั่ โลก 2. ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีเจตคติท่ีดีต่องานเพาะเห็ดวสั ดุ/อปุ กรณ์ 1. คอมพิวเตอร์เพื่อการคน้ ควา้ ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ตคาสั่ง 1. ผเู้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 1 2. ศึกษาขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ตตามหวั ขอ้ ที่กาหนด คือ 2.1 สถิติการเพาะเห็ดและมูลคา่ การผลิตเห็ดภายในประเทศ 2.2 สถิติการเพาะเห็ดและมลู คา่ การผลิตเห็ดทว่ั โลก 3. บนั ทึกขอ้ มูลลงในแบบฟอร์มที่แจกให้ 4. ส่งขอ้ มลู ตามเวลาที่ผสู้ อนกาหนดการประเมินผล 9 คะแนน 1. ประเมินผลงาน สมบูรณ์ ถูกตอ้ ง ชดั เจน 3 คะแนน 2. ประเมินผลงานและคุณภาพของงาน 3 คะแนน 3. ความรับผดิ ชอบในการทางาน

แบบบันทึกกจิ กรรมท่ี 1ช่ือ....................................................................... สกลุ .............................. เลขท.ี่ .................ชนิดเหด็ สถติ กิ ารเพาะเหด็ และมูลค่าเห็ดภายในประเทศ ปี พ.ศ.2550 ปี พ.ศ.2547 ปี พ.ศ. 2548 ปี พ.ศ.2549 ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่าชนิดเหด็ สถิตกิ ารเพาะเหด็ และมูลค่าเหด็ ทวั่ โลก ปี พ.ศ.2550 ปี พ.ศ.2547 ปี พ.ศ. 2548 ปี พ.ศ.2549 ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่าอา้ งอิง..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

แบบประเมินกจิ กรรม ที่ 1ช่ือเร่ือง สถิติการเพาะเหด็ และมูลค่าการจาหน่ายเห็ดชนิดต่างๆในประเทศไทยและต่างประเทศชื่อ - สกลุ ผ้รู ับการประเมนิ คนท่ี 1....................................................................... ช้นั .............................. เลขที่.................. คนที่ 2....................................................................... ช้นั .............................. เลขที่.................. คนท่ี 3....................................................................... ช้นั .............................. เลขที่.................. คนที่ 4....................................................................... ช้นั .............................. เลขที่.................. คนที่ 5....................................................................... ช้นั .............................. เลขที่.................. คุณลกั ษณะ คะแนน คะแนนทไี่ ด้1. ผลงาน สมบรู ณ์ ถูกตอ้ ง ชดั เจน เตม็ คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนท่ี 52. ผลงาน สะอาด เรียบร้อย3. ความรับผดิ ชอบ ส่งผลงาน 9 ภายในเวลาที่กาหนด 3 คะแนนรวม 3 15เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพคะแนน 11 – 15 คะแนน ดีคะแนน 6 - 10 คะแนนคะแนนนอ้ ยกวา่ 5 คะแนน พอใช้ ปรับปรุงสรุป O ผา่ น O ไมผ่ า่ น .......................................................ผปู้ ระเมิน ( ....................................................... ) ............./...................../..............

เกณฑ์การประเมนิ1. ผลงาน สมบูรณ์ ถูกตอ้ ง ชดั เจน ใหน้ ้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 9 คะแนน ผลงานสมบูรณ์ ถูกตอ้ ง ดี 6 คะแนน ผลงานสมบูรณ์ ถูกตอ้ ง ปานกลาง 3 คะแนน ผลงานไม่คอ่ ยสมบูรณ์2. ผลงาน สะอาด เรียบร้อย น่าอ่าน ใหน้ ้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 3 คะแนน ผลงานสะอาด เรียบร้อย น่าอ่าน ดี 2 คะแนน ผลงานสะอาด เรียบร้อย น่าอา่ น ปานกลาง 1 คะแนน ผลงานไม่ค่อยสะอาด เรียบร้อย3. ความรับผดิ ชอบในการส่งผลงาน ภายในเวลาท่ีกาหนด 3 คะแนน ส่งผลงาน ภายในเวลาท่ีกาหนดในชว่ั โมงเรียน 2 คะแนน ส่งผลงาน เลยเวลาท่ีกาหนดในชว่ั โมงเรียน 1 คะแนน ส่งผลงาน เลยเวลาที่กาหนดหลงั ชวั่ โมงเรียน

แบบฝึ กหัดประจาบทเรียน หน่วยท่ี 1 เรื่อง เห็ดและความสาคญั ของการผลติ เห็ดคาส่ัง จงเติมคาหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (15 คะแนน)1. เห็ด หมายถึง.................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................2. ส่วนต่างๆของเห็ดประกอบดว้ ยส่วนตา่ งๆ คือ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................3. เห็ดมีความสาคญั ต่อชีวติ ประจาวนั 2 ดา้ น คือ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................4. จงบอกสารอาหารที่พบในเห็ดตามท่ีระบุต่อไปน้ี 4.1 เห็ดฟาง : ...................................................................................................................... 4.2 เห็ดเป๋ าฮ้ือ : ................................................................................................................... 4.3 เห็ดหูหนู :.....................................................................................................................5. แหล่งผลิตเห็ดท่ีสาคญั ในประเทศไทย จาแนกตามชนิดของเห็ด มีดงั น้ี คือ 5.1 เห็ดฟาง :....................................................................................................................... 5.2 เห็ดนางรม นางฟ้ า :...................................................................................................... 5.3 เห็ดเป๋ าฮ้ือ :.................................................................................................................. 5.4 เห็ดแชมปิ ญอง :.......................................................................................................... 5.5 เห็ดหูหนู :.................................................................................................................... 5.6 เห็ดหอม : ................................................................................................................

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมผ้เู รียน รายวชิ า การผลติ เหด็ -------------------------------------------------------------------------แบบประเมินน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือประเมินพฤติกรรมของผเู้ รียน ในการปฏิบตั ิงานตามใบกิจกรรมใบกิจกรรมท่ี ....................เรื่อง...........................................................................................................ชื่อผถู้ ูกประเมิน..(นาย/น.ส).....................................สกลุ .............................เลขที่.............................. รายการ 5 ระดบั พฤตกิ รรม 4 321 มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด1. มีความเขา้ ใจและเกิดการเรียนรู้มากข้ึนโดยการปฏิบตั ิจริง2. มีความสุ ขในการปฏิบัติตามกิจกรรมมอบหมาย3. มีความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิกิจกรรม4. มีความพยายามในการฝึ กทกั ษะใน กิจกรรมท่ีมอบหมายใหช้ านาญยงิ่ ข้ึน5. มีความรับผิดชอบต่อกิจกรรมที่ได้รับ มอบหมาย ส่งงานตามกาหนด6. มีพฤติกรรมการช่วยเหลือเพื่อนในการ ปฏิบตั ิกิจกรรม7. ผเู้ รียนเกิดความคิดสร้างสรรคใ์ นการปฏิบตั ิ กิจกรรม8. ผเู้ รียนมีระเบียบ วินยั ดีข้ึน9. รู้จกั ใชท้ รัพยากรอยา่ งคุม้ ค่าและประหยดั10. เกิดความรู้สึกท่ีดีต่อวิชาชีพเพาะเห็ดประเมินระหวา่ งวนั ท่ี..........................เดือน..........................พ.ศ........................................................ (ลงชื่อ)..............................................................ผปู้ ระเมิน (...........................................

สรุป เห็ดเป็ นพืชช้ันต่าประเภทฟังไจ ซ่ึงจดั เป็ นราชนิดหน่ึง พืชประเภทน้ีจึงไม่สามารถสังเคราะห์ดว้ ยแสงไดด้ ว้ ยตนเองเน่ืองจากไม่มีสารสีเขียว ตอ้ งอาศยั สารอินทรียจ์ ากสิ่งมีชีวิตหรือส่ิงไม่มีชีวติ อื่น ๆ เพ่อื ใชใ้ นการเจริญเติบโต เห็ดเป็ นอาหารของมนุษยม์ านานนบั เป็ นพนั ๆ ปี เห็ดทุกชนิดในโลกมีอยถู่ ึงร้อยละ 99 สายพนั ธุ์ที่มนุษยส์ ามารถนามาใชเ้ ป็ นอาหารได้ เนื่องจากเห็ดเป็ นอาหารท่ีมีรสชาติดี มีคุณค่าทางอาหารสูง และเห็ดบางชนิดยงั มีสรรพคุณทางยาที่สามารถป้ องกนั และรักษาโรคบางอยา่ งได้ จึงมีผนู้ ิยมบริโภคเห็ดกนั มากเกือบทุกประเทศทว่ั โลก เห็ดที่มีจาหน่ายในทอ้ งตลาดทวั่ ไป ไดแ้ ก่ เห็ดหอม เห็ดฝรั่ง เห็ดฟาง เห็ดหูหนู เห็ดเป๋ าฮ้ือ เห็ดนางฟ้ าและเห็ดนางรม ส่วนเห็ดอื่น ๆ ท่ีอาจพบเห็นไดใ้ นบางทอ้ งถ่ินท้งั ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมีผเู้ พาะเล้ียงซ่ึงมีจานวนไม่มากนกั เช่น เห็ดโคน เห็ดนางนวลและเห็ดหลินจือ เป็นตน้ นอกจากเห็ดจะมีประโยชน์ต่อชีวิตประจาวนั ของมนุษยใ์ นแง่ของอาหารและยาป้ องกนัรักษาโรคแล้ว เห็ดยงั มีความสาคญั ทางเศรษฐกิจอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย ซ่ึงมีสภาพแวดลอ้ มเหมาะสมสาหรับการเพาะเห็ดหลายชนิดประกอบกบั ตน้ ทุนในการผลิตเห็ดแต่ละชนิดคอ่ นขา้ งต่า เนื่องจากวสั ดุท่ีนามาเพาะเห็ดส่วนใหญ่เป็ นวสั ดุเหลือใชแ้ ละเป็ นผลพลอยไดจ้ ากการผลิตในภาคเกษตรกรรม จึงทาให้เกษตรกรผูเ้ พาะเห็ดมีรายได้ดี มีฐานะความเป็ นอยู่ดีข้ึนซ่ึงจะส่งผลไปถึงฐานะทางเศรษฐกิจของชาติดว้ ย แหล่งผลิตเห็ดที่สาคญั ของไทยส่วนใหญ่อยใู่ นเขตกรุงเทพมหานครบริเวณชานเมือง และจงั หวดั ใกลเ้ คียง เช่น จงั หวดั นครปฐม สมุทรสาครและปทุมธานี ส่วนทางภาคเหนือแหล่งผลิตเห็ดที่สาคญั คือ จงั หวดั เชียงใหม่ และลาปางซ่ึงส่วนมากจะผลิตเห็ดที่ชอบอากาศคอ่ นขา้ งเยน็ เช่น เห็ดหอม เห็ดแชมปิ ญอง เห็ดเป๋ าฮ้ือ เป็นตน้

บรรณานุกรมดาเกิง ป้ องพาล. มปป. เอกสารประกอบคาบรรยายวชิ า พส.413 \"การผลิตเห็ด(Mushroom Production). สาขาพชื ผกั ภาควชิ าพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ.้ เชียงใหม่.183 น.นิรนาม. มปป. ความสาคญั ของการเพาะเห็ด. เขา้ ถึงเมื่อ 10 เมษายน 2552 จาก http://www.vcharkarn.com/vblog/38061/5

แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 1 เร่ือง เหด็ และความสาคญั ของการผลติ เห็ดคาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีจานวน 10 ขอ้ ขอ้ ละ 1 คะแนน เวลา 15 นาที 2. ใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ทบั ช่องอกั ษร ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตอ้ งท่ีสุด1. ขอ้ ใดคือสิ่งบง่ ช้ีวา่ เห็ดไม่สามารถสร้าง 4. เห็ดท่ีคนไทยนิยมบริโภคมากท่ีสุด คือ อาหารเองได้ เห็ดชนิดใด ก. เป็นพชื ช้นั ต่า ก. เห็ดเสมด็ ข. ตอ้ งการความช้ืนสูง ข. เห็ดหอม ต. ตอ้ งการแสงแดดในการเจริญเติบโต ค. เห็ดนางฟ้ า ง. ไมม่ ีคลอโรฟิ ลล์ ง. เห็ดฟาง2. ส่วนใดต่อไปน้ีไมใ่ ช่ส่วนประกอบของ 5. เห็ดทุกชนิดใหค้ ุณคา่ ทางอาหารดา้ นใด ดอกเห็ด มากท่ีสุด ก. วงแหวน ก. โปรตีน ข. ราก ข. คาร์โบไฮเดรต ค. เปลือกหรือเยื่อหุม้ ดอก ค. พลงั งาน ง. กา้ น ง. ไขมนั3. ส่วนที่อยดู่ า้ นบนสุด มีรูปร่างตา่ งๆ เช่น 6. สารเรทิน (retine) ท่ีมีคุณสมบตั ิในการ โคง้ นูน รูปกรวย รูปปากแตร มีลกั ษณะผวิ ตอ่ ตา้ นและชะลอการเจริญของเน้ืองอก เรียบ หรือ ขรุขระ มีสีตา่ งกนั ไป คือ พบในเห็ดชนิดใด ส่วนใดของเห็ด ก. เห็ดแชมปิ ญอง ก. หมวกเห็ด ข. เห็ดหลินจือ ข. ครีบเห็ด ค. เห็ดเป๋ าฮ้ือ ต. เปลือกหรือเยอื่ หุม้ ดอก ง. เห็ดหออม ง. เน้ือเห็ด

7. บุคคลใดต่อไปน้ีท่ีเป็นผบู้ ุกเบิกการเพาะ 10. ขอ้ ใดถูกตอ้ งท่ีสุด เห็ดฟางในประเทศไทย ก. สามารถเพาะเห็ดทุกชนิดไดท้ ุกพ้ืนท่ี ก. อนงค์ จนั ทร์ศรีกุล ในประเทศไทย ข. พนั ธ์ทวี ภกั ดีดินแดง ข. เห็ดฟางเป็ นเห็ดท่ีมีปริมาณการผลิต ค. ก่าน ชลวจิ ารณ์ สูงสุดของจานวนเห็ดท่ีผลิตทว่ั โลก ง. วนิดา แจง้ ศรี ค. เห็ดชนิดแรกท่ีนามาศึกษาเพาะใน ประเทศไทย คือเห็ดฟาง8. เห็ดที่ข้ึนไดด้ ีในสภาพอากาศหนาวเยน็ ง. สาเหตุท่ีญ่ีป่ ุนไมม่ ีปัญหาเร่ือง เช่นบริเวณแถบภาคเหนือ คือเห็ดชนิดใด การตลาดเห็ด เนื่องจากมีผบู้ ริโภค ก. เห็ดหอม มาก ข. เห็ดหูหนู ค. เห็ดโคน ง. เห็ดนางรม9. เพราะเหตุใดการเพาะเห็ดจึงเป็นอาชีพที่ สามารถสร้างรายไดใ้ หผ้ เู้ พาะเห็ดใน ประเทศไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ก. สภาพแวดลอ้ มเหมาะตอ่ การเจริญ ของเห็ด ข. ตลาดมีความตอ้ งการสูง ค. ตน้ ทุนการผลิตต่า ง. ถูกทุกขอ้

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยท่ี 1 เรื่อง เหด็ และความสาคญั ของการผลติ เห็ดข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10ตอบ ง ข ก ง ค ข ค ก ง ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook