หลักการ (Principles ) พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถานได้ใหค้ วามหมาย “หลักการ” หมายถึง สาระสาคญั ท่ียึดถือเปน็แนวปฏบิ ัติ แนวคดิ ( Concept ) พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถานไดใ้ ห้ความหมาย “แนวคดิ ” หมายถึง ความคดิ ท่ีมีแนวทางปฏิบตั ิ แนวความคดิ เกิดขน้ึ ได้มีองค์ประกอบดงั นี้ คือ 1. การสังเกต 2. การเปรียบเทียบความคลา้ ยและความแตกตา่ ง 3. จัดแยกประเภทและรวมเป็นหมวดหมู่ 4. สรา้ งความหมายเฉพาะเพอ่ื ความเข้าใจของตนเอง แนวคิด เป็นการกลา่ วสง่ิ ใดส่งิ หนง่ึ ซ่ึงใช้ความเชอ่ื ความรู้สกึ ทัศนคติ แง่คดิ ความรู้และประสบการณ์เขา้ ร่วมอาจจะเป็น บทความ เปน็ ขา่ ว เป็นข้อเสนอแนะ หรือความคิดจากใครท่ีเชี่ยวชาญก็ได้ แนวคดิ อาจจะถูกหรือผิดก็ได้ทฤษฎี ( theory) พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถานไดใ้ ห้ความหมาย \"ทฤษฎ\"ี วา่ หมายถึง ความเห็น การเหน็การเห็นดว้ ยลักษณะที่คาดเอาตามหลักวชิ า เพ่ือเสรมิ เหตผุ ลและรากฐานให้แก่ปรากฎการณ์ หรอื ข้อมูลในภาคปฏิบตั ิ ซ่งึ เกิดข้ึนอยา่ งมรี ะเบยี บ นอกจากนี้ นักวชิ าการหลายท่านได้ให้ความหมาย ดงั นี้ 1. Good : ทฤษฎี คือ ข้อสมมติต่าง ๆ(Assumption) หรอื ขอ้ สรปุ เป็นกฎเกณฑ์ (Generalization) ซึง่ ไดร้ บัการสนับสนนุ จากข้อสมมติทางปรัชญาและหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือใช้เปน็ เสมือนพ้ืนฐานของการปฏิบัติข้อสมมติซงึ่ มาจากการสารวจทางวทิ ยาศาสตร์ การคน้ พบต่าง ๆ จะได้รบั การประเมนิ ผล เพ่ือให้มีความเทย่ี งตรงตามหลักวทิ ยาศาสตร์ และขอ้ สมมตทิ างปรัชญา อันถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของการสรา้ ง(Construction) 2. Kneller : ไดใ้ ห้ความหมายของทฤษฎไี ว้ 2 ความหมาย คือ 2.1 ข้อสมมติฐานต่าง ๆ (Hypothesis) ซึง่ ได้กลนั่ กรองแล้ว จากการสังเกตหรือทดลอง เชน่ ในเรือ่ งความโน้มถ่วงของโลก 2.2 ระบบขอความคิดตา่ ง ๆ ท่ีนามาปะติดปะต่อกัน (Coherent) 3. Feigl : ทฤษฎีเปน็ ข้อสมมตติ า่ ง ๆ ซง่ึ มาจากกระบวนการทางตรรกวทิ ยา และคณิตศาสตร์ ทาให้เกิด กฎเกณฑท์ ี่ได้มาจากการสังเกตและการทดลอง
4. ธงชยั สนั ติวงษ์ : ทฤษฎี หมายถึง ความรู้ท่เี กดิ ข้ึนจากการรวบรวมแนวความคดิ และหลกั การตา่ ง ๆ ให้เป็นกลุ่มก้อนและสร้างเปน็ ทฤษฎีขน้ึ ทฤษฎีใด ๆ ก็ตามที่ตั้งข้ึนมานั้น เพื่อรวบรวมหลักการและแนวความคิดประเภทเดียวกันเอาไว้อยา่ งเปน็ หมวดหมู่ 5. เมธี ปลิ นั ธนานนท์ : ได้กล่าวถงึ หน้าท่ีหลกั ของทฤษฎี มี 3 ประการ คือ การพรรณนา(Description) การอธิบาย (Explanation) และการพยากรณ์ (Prediction) ทฤษฎีองค์กร (Organization Theory)การวิเคราะห์ถงึ ความจริงท่เี กิดขนึ้ ตามธรรมชาติรอบตวั อย่างมีระบบและแบบแผนในเชิงวทิ ยาศาสตร์ 1. ทฤษฎีองคก์ รสมยั ด้ังเดิม (Classical Theory) - Frederick Taylor แนวคดิ การบริหารงานแบบวิทยาศาสตร์ - Max weber แนวคิดระบบราชการ เป็นสงั คมในยคุ สงั คมอตุ สาหกรรม มีโครงสรา้ งที่แนน่ อน มีระเบียบแบบแผน มุ่งใหผ้ ลผลติ มีประสิทธิภาพ (efficient and effective Productivity) มองมนุษยเ์ หมือนเครื่องจักร (Mechanistic) ในองค์การ 2. ทฤษฎอี งค์กรสมยั ใหม่ (Neo-Classical Theory of Organization) - Hugo Munsterberg ผู้เร่ิมต้น วิชาจติ วิทยาอุตสาหกรรม เนน้ สภาพสงั คมที่มผี ลต่อการปฏบิ ัติงาน มองมนษุ ยเ์ ป็นสิ่งมีชีวติ ทมี่ ีความร้สู ึก มีจติ ใจ (Organic) นาความรดู้ ้าน มนษุ ยส์ ัมพันธ์มาใช้ 3. ทฤษฎอี งค์กรสมัยปัจจุบัน (Modern Theory of Organization) เน้นสังคมเศรษฐศาสตร์ (Socioeconomic) มองมนุษยเ์ ป็นสิง่ มีชวี ิตท่ีมคี วามรสู้ ึก มีจิตใจ นาความรู้ดา้ นมนุษย์สัมพนั ธ์มาใช้ นาส่ิงแวดลอ้ มมาพจิ ารณา ใช้แนวความคดิ .นเชิงระบบ คานึงถึงความเปน็ อิสระ และสิ่งแวดล้อมภายใน และภายนอก จากความหมายดังกล่าวข้างต้น ทฤษฎี จงึ หมายถงึ การกาหนดข้อสันนิษฐาน ซึ่งได้รับมาจากวธิ ีการทางตรรกวิทยา วทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ทาใหเ้ กิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการสงั เกต คน้ ควา้ และการทดลองโดยใช้เหตผุ ลเป็นพ้ืนฐานเพื่อกอ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในความเป็นจรงิ และนาผลทเี่ กดิ ขน้ึ น้ันมาใช้เป็นหลกั เกณฑ์
แนวคิดในหลกั การจดั การ สามารถแบง่ ได้ 3 กลุ่มหลัก ๆ ได้แก่ แนวคดิ คลาสสกิ แนวคดิ พฤตกิ รรมมนษุ ย์ และแนวคิดการจดั การสมยั ใหม่ กลุ่มคลาสสกิ มีแนวคดิ หลกั ในการจดั การทเ่ี น้นการแยกการบรหิ ารออกจากการเมอื ง โดยมที ฤษฎีที่เกยี่ วข้องไดแ้ ก่ การจดั การเชิงวิทยาศาสตร์ การจดั การเชิงบรหิ าร และการจัดการตามแนวคดิ ของระบบราชการ หลกั สาคญั ของการจดั การเชงิ วทิ ยาศาสตร์ มี หลักเรือ่ งเวลา หลกั การกาหนดหนว่ ยการจ้าง หลกั การแยกงานวางแผนออกจาการปฏบิ ัติ หลักการทางานแบบวิทยาศาสตร์ หลกั การควบคุมโดย ฝา่ ยจัดการ หลกั การจัดระเบยี บในการปฏิบตั ิงาน การจัดการเชิงบรหิ าร มีหลักการสาคัญคือ การวางแผน การจดั หน่วยงาน การบงั คับบัญชา การประสานงานและการควบคุม การจดั การตามแนวคิดของระบบราชการ มีหลกั การสาคัญ คือ การแบง่ แผนกในองค์กรไว้ อย่างชดั เจนแน่นอน การจดั หน่วยงานเปน็ ลาดับช้นั การกาหนดกฎระเบียบเพ่ือใช้ในการควบคุมดแู ล การจาแนกสิทธิและทรพั ย์สินส่วนบคุ คลออกจากองค์กร การกาหนดวิธกี ารคดั เลือกหรือสรรหาบคุ ลา กรการทางานในองค์กรสามารถยึดเปน็ อาชีพได้ กลมุ่ พฤตกิ รรมมนุษย์เป็นกล่มุ ทใ่ี ห้ความสาคัญกับมนุษย์ กลุ่มน้ีมองวา่ มนุษยไ์ ม่ใชเ่ ครื่องจักร แต่เปน็ทรพั ยากรทีม่ คี วามรู้สกึ นกึ คิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องได้แก่ แนวคดิ จิตวทิ ยาอุตสาหกรรม พฤตกิ รรมมนุษย์ เป็นตน้ การจดั การจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมเป็นแนวคิดของนักวชิ าการชาวปรสั เซียชอื่ ฮวิ โก เมานส์ เตอร์เบิร์ก (Hugo Mounsterberg) โดยให้ความสาคญั กับความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์เพ่ิมมากขึ้น เพราะมีความเชือ่ ทวี่ ่ามนษุ ยจ์ ะสามารถทางานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพต้องมีทกั ษะทางรา่ งกายและมี ใจรกั ท่ีจะทางานดงั กลา่ ว แนวคดิ นจ้ี งึ พยายามศกึ ษาและทดสอบ เพ่อื คดั เลือกคนงานเขา้ ทางาน ดว้ ยการทดสอบทางจิตวิทยาด้วย การศึกษาทีฮ่ อวธ์ อรน์ (Hawthorne Studies) เป็นการศกึ ษาของเอลตัน เมโยล์ ไดท้ าการ ศกึ ษาทดลองทัศนคติและจติ วิทยาของคนงานในการทางานในสถานการณท์ แ่ี ตกตา่ งกนั โดยได้ เนน้ ความสนใจในเร่ืองบรรยากาศการจัดการและภาวะผ้นู า ทาใหพ้ บว่า 1. คนเปน็ สง่ิ มชี ีวติ มีจติ ใจ การสรา้ งขวัญและกาลงั ใจเป็นส่งิ สาคญั ของการทางาน 2. การให้รางวัลทางใจ เช่น การยกยอ่ งชมเชย การใหเ้ กียรติ มผี ลตอ่ การทางานไมน่ ้อย ไปกว่าการจูงใจดว้ ยเงนิ 3. ความสามารถในการทางานของคนไม่ไดข้ น้ึ อยกู่ ับสภาพแวดล้อมทางกายภาพเพียง อยา่ งเดียว แต่ยงั ข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อมทางสงั คมของหน่วยงานดว้ ย เชน่ ปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งคนงาน เป็นตน้
4. อทิ ธิพลของกลุ่มมคี วามสาคญั อย่างย่ิงต่อการดาเนินงานของหนว่ ยงาน จึงมุ่งเน้นที่จะ ใหม้ ีการทางานเปน็ ทีม เพื่อชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั กล่มุ การจดั การสมัยใหม่เน้นการสร้างระบบการจัดการทางานโดยนาความรใู้ นทางคณิตศาสตร์สถิติ วิศวกรรม การบญั ชี เขา้ มาชว่ ยในการจดั การ ทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ แนวคิดวิทยาการจัดการ ารบรหิ ารศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์ แนวคิดเชิงสถานการณ์ และแนวคดิ เชงิ ระบบ แนวคิดเชงิ สถานการณ์ เป็นแนวคิดท่ีใหค้ วามสาคัญกบั สภาพแวดล้อมและสถานการณท์ ี่แวดล้อมองค์กร ดงั น้นั ผู้จัดการจะต้องสามารถปรับเปลี่ยนวธิ กี ารจดั การของตนเองใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั สภาพทเ่ี กิดขนึ้ ได้ แนวคดิ น้ีมีจดุ เด่นคอื ไมเ่ ชื่อในหลักการสากล แตม่ ุ่งเน้นความเปน็ สากลของสถานการณ์ เพราะเชอ่ืวา่ ไมม่ ีหลักการใดที่สามารถนาไปใช้ในการจัดการองค์กรได้ทกุ องคก์ ร ดังน้นั การจัดการแต่ละองคก์ รจึงขน้ึ อยู่กับสภาพแวดลอ้ มขององคก์ รนัน้ ๆแนวคิดนถี้ กู วิพากษว์ จิ ารณ์ว่าเปน็ เพยี งกรอบปฏิบัตหิ นา้ ที่ ไมใ่ ช่ทฤษฎหี รือแนวคิดที่นามาใชใ้ นการจดั การได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: