Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม

Published by sawan_1966, 2019-06-13 09:05:45

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม

Search

Read the Text Version

เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์ โทรคมนาคม วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื การจดั การอาชพี

ความรูเ้ บอ้ื งต้นเก่ียวกบั คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ (Computer) หมายถึง เครอื่ งมือหรือเครอ่ื งจักรท่ีประกอบขึน้ จากอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ โดยสามารถนาข้อมลู มาประมวลผลเพ่อื ให้ได้ผลลัพธท์ ี่ต้องการอยา่ งรวดเร็ว และเปน็ อัตโนมัติ โดยทางานตาม ขัน้ ตอนของโปรแกรมสัง่ งานที่กาหนดไวล้ ่วงหน้า สว่ นสารสนเทศ คือข้อมูลสรปุ ท่เี กิดจากการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ซ่งึ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ ประเภทของคอมพิวเตอร์ มีอยหู่ ลายประเภทดว้ ยกนั แต่เมื่อ พิจารณาตามขนาดแล้ว จะสามารถจัดแบง่ ประเภทของคอมพวิ เตอร์ออกเป็น 6 ประเภทดว้ ยกัน คือ 1. ซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ (Supercomputer) คณุ ลกั ษณะ เปน็ คอมพิวเตอรข์ นาดใหญ่ท่สี ุด ภายในประกอบไปดว้ ยหนว่ ยประมวลผลกลาง หรือซพี ยี ู (CPU : Central Processing Unit) นบั พันตวั ทส่ี ามารถคานวณดว้ ยความเรว็ กวา่ หลายล้านล้านคาสั่งต่อ วินาที จดั เปน็ คอมพิวเตอรท์ ่มี ีราคาแพงท่สี ดุ และเร็วที่สุด ประเภทของงาน เหมาะกับงานประมวลผล ขอ้ มลู ท่ีมปี รมิ าณมหาศาล เช่น การวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์ การค้นคว้าทางดานอากาศยานและอาวุธ ยุทโธปกรณ์ การสารวจสามะโนประชากร งานพยากรณ์อากาศ การออกแบบ การสรา้ งแบบจาลองระดับ โมเลกุล 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computers) คุณลักษณะ เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมขี ดี ความสามารถรอง จากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมลู ได้ถึง 10 ลา้ นคาสั่งภายใน 1 วินาที ประเภทของงาน คอมพวิ เตอร์แบบเมนเฟรม เหมาะสาหรับใช้งานในองค์กรขนาดใหญ่ เชน่ ธนาคาร โรงงานอตุ สาหกรรม สายการบิน มหาวทิ ยาลัย คอมพิวเตอร์แบบนี้ จะมีพลังความ

สามารถในการประมวลผลธุรกรรมนับลา้ นรายการ โดยใช้ระยะเวลาอันสั้น ระบบคอมพิวเตอร์เมนเฟรมมี ประสิทธิภาพเพียงพอท่จี ะรองรับผ้ใู ชไ้ ด้หลายร้อยคนพร้อมๆ กัน เครอ่ื งเมนเฟรมจะเก็บ โปรแกรมของผใู้ ชเ้ หลา่ นั้นไวใ้ นหนว่ ยความจาหลักและมีการสบั เปลยี่ นการทางานตา่ งๆ อย่างรวดเร็ว และ สามารถทางานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนั 3. มนิ คิ อมพิวเตอร์ (Minicomputer) คณุ ลักษณะ เปน็ คอมพิวเตอรข์ นาดกลาง ซึ่งมีขนาดเล็กรองลงมาจาก เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ ประสิทธภิ าพการทางานจะด้อยกว่าเคร่ืองเมนเฟรม เน่อื งจากความจขุ องหน่วยความจามีขนาดนอ้ ยกวา่ และสามารถประมวลผล ขอ้ มลู ไดเ้ พยี ง 1 ลา้ นคาสัง่ ภายใน 1 วินาที ประเภทของงาน เหมาะกบั ธรุ กิจขนาดกลาง เชน่ โรงพยาบาล ห้างสรรพสินคา้ โรงแรม เปน็ ต้น 4. เวิร์กสเตช่นั (Workstation) คุณลกั ษณะ เปน็ คอมพวิ เตอร์ท่ีมี ลกั ษณะคลา้ ยกับเคร่ืองพีซที วั่ ไปแต่มีราคา แพงกวา่ และมีขดี ความสามารถสงู กว่ามาก ประเภทของงาน คอมพวิ เตอร์แบบ เวริ ก์ สเตชัน่ มกั ถกู ใชง้ านทางด้าน วทิ ยาศาสตร์ งานด้านการแพทย์ งาน คานวณทางคณิตศาสตร์ท่มี ีความซับซอ้ น รวมไปถึงเพ่อื งานออกแบบกราฟิก แอนเิ มชนั แบบสามมิติ การสรา้ งรปู ภาพ ภาพเคล่ือนไหว และช่วยในงานผลติ ผู้ใชง้ านสว่ นใหญ่จะเปน็ วศิ วกร นกั วิทยาศาสตร์ สถาปนิก และนกั ออกแบบ 5. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) คณุ ลกั ษณะ ไมโครคอมพวิ เตอร์หรือเรยี กอกี อย่างหนงึ่ ว่าเครื่องพีซ(ี Personal computer : PC) จัดเป็นคอมพิวเตอรท์ ่ีไดร้ ับความนิยมเนื่องจากมีราคา ไม่แพง เหมาะสาหรับงานเฉพาะบุคคลหรอื หน่วยงาน ขนาดเลก็ สามารถใช้งานไดท้ งั้ แบบเดี่ยว(Stand Alone) หรอื เชือ่ มต่อระบบเครอื ข่าย(LAN)

ประเภทของงาน เหมาะกับงานธรุ กิจขนาดเลก็ และนิยมนามาใช้งานที่บ้านหรือสานกั งาน เน่ืองจาก ราคาถูกและสามารถใชไ้ ดเ้ พียง 1 คน ตอ่ 1 เครื่องเท่านน้ั ไมโครคอมพิวเตอร์มหี ลาย ประเภท ซงึ่ จะพอสรปุ ได้ดงั นี้ 1)คอมพวิ เตอร์ต้งั โต๊ะ หรอื เดสก์ท็อปพีซี (Desktop PC) เปน็ เคร่ืองพซี ีทีอ่ อกแบบมาเพ่ือใช้บนโตะ๊ โดยจะประกอบไปดว้ ยเคส หน้าจอ เมาส์ คยี ์บอรด์ เป็นตน้ 2)คอมพิวเตอรโ์ น้ตบ๊กุ หรอื แล็ปท็อป (Notebook/Laptop) คอมพิวเตอรช์ นิดน้จี ะสามารถเคล่อื นท่ี ได้ มนี า้ หนกั เบาและมหี น้าจอบาง หรือมักเรียกกนั วา่ คอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊ก สามารถทางาน ไดโ้ ดยใชแ้ บตเตอร่ี 3)แท๊ปเลต็ คอมพวิ เตอร์ (Tablet Computer) มีหนา้ จอในตวั เปน็ เหมือนคอมพวิ เตอร์มือถือ สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลได้บนหน้าจอ 6. ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Microcontrollers) เป็นคอมพวิ เตอรแ์ บบฝังตวั คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ทอ่ี อกแบบมาเปน็ พิเศษ มีขนาดเลก็ ปอ้ น โปรแกรมเพื่อใช้งานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ สงั เกตได้ จากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในปัจจบุ นั เช่น โทรทัศนส์ มาร์ททวี ี เครื่องไมโครเวฟ เครอ่ื งซกั ผา้ เปน็ ต้น อปุ กรณโ์ ทรคมนาคม (Telecommunications)

อปุ กรณ์โทรคมนาคม เป็นเครอื่ งมือในการส่งสารสนเทศในรปู แบบของตวั อกั ษรภาพและเสยี ง โดยใช้ คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ หรอื การติดต่อส่ือสารจากท่หี นึ่งไปยังอีกท่ีหนึง่ โดยใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ให้ไหลผา่ นไปยังสาย เคเบิลทองแดง หรอื โดยการส่งไปในบรรยากาศ เช่น การส่งวิทยุ โทรทัศน์ การสง่ คลื่นไมโครเวฟ และการสง่ สญั ญาณผา่ นดาวเทียม โดยจุดสง่ กบั จดุ รับจะอยูห่ ่างไกลกัน อุปกรณ์โทรคมนาคม เป็นการใชส้ ือ่ อุปกรณ์รบั ไฟฟา้ ต่างๆ เชน่ คอมพวิ เตอร์ วิทยุ โทรทศั น์ โทรศพั ท์ โทรสาร และโทรพิมพ์ เพ่ือการสื่อสารในระยะไกลโดย อุปกรณ์เหลา่ นจ้ี ะแปลงข้อมลู ในรูปแบบต่างๆเช่น ภาพและเสียง จะสามารถตดิ ต่อส่ือสาร รบั ความรู้ ความ บนั เทงิ ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดๆ ในโลก องค์ประกอบของระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Systems) ระบบโทรคมนาคม คือ ระบบท่ีประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์จานวนหน่งึ ท่สี ามารถทางาน รว่ มกนั และถูกจัดไวส้ าหรบั การติดตอ่ สื่อสารข้อมูลจากสถานท่ีแห่งหน่ึงไปยังสถานท่ีอีก แหง่ หนึง่ ซง่ึ สามารถถา่ ยทอดข้อความ ภาพ เสยี งสนทนา และวดี ที ัศนไ์ ด้ มีรายละเอียดของโครงสร้าง สว่ นประกอบดังนี้ 1.เครื่องคอมพิวเตอรห์ รอื เครือ่ งมือเปลย่ี นปริมาณใดให้เปน็ พลังงานไฟฟ้า(Transducer) เช่น โทรศพั ท์หรือไมโครโฟน 2.เครอื่ งเทอรม์ ินลั สาหรับการรับข้อมูลหรือแสดงผลข้อมลู เช่น เคร่อื งคอมพิวเตอร์หรอื โทรศัพท์ 3. อปุ กรณ์ประมวลผลการสอื่ สาร (Transmission) ทาหน้าทแี่ ปรรปู สัญญาณไฟฟา้ ใหเ้ หมาะสมกับ ชอ่ งสัญญาณ เชน่ โมเด็ม มัลตเิ พลก็ เชอร์ แอมพลิไฟเออร์ ดาเนินการได้ทั้งรับส่งข้อมูล 4.ช่องทางสอื่ สาร (Transmission Channel) หมายถึงการเช่ือตอ่ รูปแบบใดๆ เช่น สายโทรศพั ทใ์ ย แก้วนาแสง สายโคแอกเชียล หรือแม้แต่การสื่อสารแบบไรส้ าย

5. ซอฟตแ์ วร์การสื่อสาร ทาหน้าท่ีควบคมุ กิจกรรมการรบั ส่งข้อมลู และอานวยความสะดวกในการ สือ่ สาร หนา้ ทข่ี องระบบโทรคมนาคม ระบบโทรคมนาคม ทาหนา้ ที่ในการรับสง่ ข้อมูลระหวา่ งจดุ สองจดุ ไดแ้ ก่ ผ้สู ่งขา่ วสาร (Sender) และผู้รับขา่ วสาร (Receiver) จะดาเนินการจัดการลาเลยี วงขอ้ มลู ผา่ นเสน้ ทางทีม่ ี ประสทิ ธิภาพท่สี ุด สามารถปรับเปลี่ยนรปู แบบขอ้ มลู ให้ทง้ั สองฝ่ายเขา้ ใจตรงกัน ซงึ่ ทก่ี ล่าวมาจะให้ คอมพวิ เตอร์เป็นตัวจดั การอปุ กรณ์ตา่ งชนดิ ต่างยห่ี ้อ สามารถแลกเปลย่ี นข้อมูลระหว่างกันได้ เพราะใช้คาส่ังมาตรฐานชดุ เดียวกัน เรยี กวา่ “โปรโตคอล(Protocol)” โปรโตคอลท่ีรู้จกั กันมาก ได้แก่ โปรโตคอลในระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต เช่น TCP/I, IP Address ทใี่ ชก้ ันอยู่ทุกวันนี้ ประเภทของสญั ญาณในระบบโทรคมนาคม สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) หมายถึงสัญญาณข้อมูลแบบต่อเนื่อง มีขนาดของสญั ญาณ ไม่คงที่ มีลักษณะเป้นเสน้ โค้งตอ่ เนอื่ งกันไป ดดยการส่งสญั ญาณแบบแอนะล็อกจถกู รบกวนให้มกี ารแปลความหมายผิดพลาดได้ง่าย เช่น สัญญาณเสยี งในโทรศัพท์ เป็นตน้ สญั ญาณดจิ ิทัล (Digital Signal) หมายถงึ สัญญาณทเี่ กยี่ วข้องกบั ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ทีม่ ีขนาด แน่นอนซ่ึงขนาดดงั กลา่ วอาจจะกระโดดไปมาระหวา่ งค่าสองคา่ คอื สญั ญาณระดับสงู สุด และระดบั ตา่ สุด ซ่งึ สญั ญาณดิจิทลั น้ีเปน็ สัญญาณท่ีคอมพวิ เตอร์ใช้ในการทางานและติดต่อสอ่ื สารกัน