หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 พิกดั ภูมิศาสตร์และเวลาของโลก
พกิ ดั กบั ภูมศิ าสตร์ พิกดั ระบบเวลา เคร่ืองมือทาง ภูมิศาสตร์ ของโลก ภูมิศาสตร์
พกิ ดั ภูมิศาสตร์
พิกัดภูมิศาสตร์ (geographic coordinate) หมายถึง ระบบบอก ตาแหน่งบนพืน้ โลก โดยใช้จดุ ตดั ของละติจดู และลองจิจูดในการ บอกตาแหน่งพกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ พิกดั ภมู ิศาสตร์ เกิดจากการใช้จดุ ตดั ของเส้นโครง 2 ชดุ คอื 1) ละตจิ ูด อย่ใู นแนวนอน (การเรียกช่ือกาหนดเป็นองศา ลปิ ดา ฟิลปิ ดา และต้องบอกเหนือ/ใต้เสมอ) 2) ลองจิจูด อย่ใู นแนวตงั้ (การเรียกช่ือกาหนดเป็นองศา ลิปดา ฟิ ลิปดา และต้องบอกตะวนั ออก/ตะวนั ตกเสมอ)
ละตจิ ดู (latitude) ละตจิ ูด คือ ระยะทางที่วดั เป็นมุมไปทาง เหนือและทางใต้ ของเส้ นศูนย์ สูตร โดยเส้ นขนานละติจูดมีความสาคัญ ใน การแบ่งเขตอากาศของโลก เส้นขนาน ละติจูดมีทัง้ หมด 180 เส้น แต่ละเส้น หา่ งกนั 1 องศา - วัดไปทางขัว้ โลกเหนือได้ 90 องศา จะได้ละตจิ ดู 90 แนว - วัดไปทางขัว้ โลกใต้ได้ 90 องศา จะได้ ละติจดู 90 แนว
เส้นทรอปิ กออ แคนเซอร์ (Tropic of เส้นอาร์กตกิ เซอร์เคลิ (Arctic Circle) Cancer) คือ เส้นขนานที่ 23.5 องศาเหนือ คือ เส้นขนานท่ี 66.5 องศาเหนือ เส้นศูนย์สูตร (Equator) คือ เส้นละติจดู 0 องศา ลากผา่ นกงึ่ กลางของโลก แบง่ โลก ออกเป็น 2 ซีก คือ ซีกโลกเหนือกบั ซีกโลก ใต้ เส้นทรอปิ กออ แคปริคอร์น เส้นแอนตาร์กตกิ เซอร์เคลิ (Tropic of Capricorn) คือ (Antarctic Circle) คือ เส้นขนานท่ี 23.5 องศาใต้ เส้นขนานที่ 66.5 องศาใต้
ลองจจิ ูด (longitude) ลองจิจูด คือ ระยะทางที่วดั เป็นมมุ ไปทางตะวนั ออกและทางตะวนั ตกของ เมริเดียนแรก แตล่ ะเส้นห่างกนั 1 องศา โดยเส้น 180 องศาจะทบั กนั และอยู่ ตรงข้ามกบั เมริเดียน 0 องศา เส้นเมริเดียนมีทงั้ หมด 360 เส้น - วดั ไปทางตะวนั ออก 180 องศา - วดั ไปทางตะวนั ตก 180 องศา โดยเส้นเมริเดียน มีความสาคญั ในการกาหนดเวลาบนโลก
เส้นเมริเดยี นท่สี าคัญ มี 2 เส้น ประกอบด้วย เส้นเมริเดียนแรก (prime meridian) เส้นวันท่ีสากล (International Date Line) คือ เส้นเมริเดียนที่ 0 องศา (ลากผา่ น คือ เส้นเมริเดียนที่ 180 องศา มีหน้าที่ในการ เมืองกรีนิช) ใช้กาหนดเวลา แบง่ วนั ของโลก มลี กั ษณะเป็นเส้นสมมตุ ิ ไม่ ลากเป็นเส้นตรงเหมือนเส้นอ่ืน ๆ แตจ่ ะลาก มาตรฐานสากล และใช้แบง่ โลก วกไปตามหมเู่ กาะตา่ ง ๆ เพ่ือไมใ่ ห้เกิดความ ออกเป็น 2 ซีก คือ ซกี โลกตะวนั ออก สบั สนในการกาหนดวนั ของประเทศตา่ ง ๆ และซีกโลกตะวนั ตก
ระบบเวลาของโลก
เวลามาตรฐาน (Standard Time) เป็นเวลาท่ีกาหนดข้ึนใชเ้ ป็นมาตรฐานในเขตภาคเวลา ( Time Zone) โดยแบ่งเป็นเขตภาคเวลาท้งั หมด 24 เขต แต่ละเขตมีเวลาต่างกนั 1 ชว่ั โมง การกาหนดเวลามาตรฐานใชเ้ ส้นเมริเดียนแรก หรือเมริเดียนท 0 องศา ท่ีผา่ นหอดูดาวเมืองกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ ถือ เป็ น เวลาปานกลางกรีนิช ( Greenwich Mean Time ) อกั ษรยอ่ คือ GMT
เสน้ วนั ทสี่ ากล (International Date Line) เส้นวนั ที่สากล หมายถึง เส้นสมมุติ ซ่ึงนานาชาติไดต้ กลงกนั ใชเ้ ป็นเขต กาหนดการเปลี่ยนวนั ท่ี เม่ือมีการ เดินทางขา้ มเสน้ น้ีไป กล่าวคือ ถา้ ขา้ มจากตะวนั ตกของเสน้ วนั ที่สากล (จากทวปี เอเชีย) ไปยงั ตะวนั ออก ของเส้นวนั ท่ีสากล (ไปทวีป อเมริกา) วนั จะลดลงหน่ึงวนั
เวลาทอ้ งถ่ิน (Local Time) ประเทศท่ีมีพ้ืนที่กวา้ งขวางจาเป็นตอ้ ง กาหนดเวลามาตรฐานไวเ้ ป็นเขต ๆ เรียกวา่ เวลามาตรฐาน ปัจจุบนั เรียกวา่ เวลาทอ้ งถ่ิน ประเทศท่ีมีขนาดใหญม่ าก เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา รัสเซีย และ ออสเตรเลีย มีการกาหนดเวลามาตรฐานของ ตนเองแตกต่างกนั เป็นหลายเขตภาคเวลา สหรัฐอเมริกาแบง่ เขตเขตเวลาของดินแดนบน ผืนแผน่ ดินใหญอ่ อกเป็น 6 เขต รวมรัฐ อะแลสกาและรัฐฮาวาย แคนาดาแบง่ เป็น 5 เขต รัสเซียแบ่งเป็น 11 เขตและออสเตรีย แบ่งเป็น 3 เขต
. พ้ืนท่ีท้งั สองอยซู่ ีกโลกเดียวกนั นาเขต สูตรการเปรียบเทียบ ภาคเวลามาลบกนั เวลาของโลก 2. พ้ืนท่ีท้งั สองอยซู่ ีกโลกต่างกนั นาเขต ภาคเวลามาบวกกนั
เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์
แผนที่ (Map) แผนท่ี (Map) คอื สอ่ื ทแ่ี สดงขอ้ มลู พน้ื ผวิ โลก ในรปู ของกราฟิก โดยการยอ่ สว่ นใหเ้ ลก็ ลง ดว้ ยมาตราสว่ นขนาดตา่ งๆ และใช้ สญั ลกั ษณ์ ซง่ึ ประกอบดว้ ย รปู ภาพ สี แทน สง่ิ ตา่ ง ๆ ทป่ี รากฎบนพน้ื ผวิ โลก
ตารางสถิติ กราฟ แผนภมู ิ และแผนภาพ คือ การแสดงข้อมูลทางภูมิศาสตร์ทแ่ี สดงไว้ในรูปของตาราง เช่น สถิตเิ นื้อทข่ี อง สถติ ิประชากร สถิติอณุ หภูมิของ ทวีปหรือประเทศ พืน้ ทใ่ี ดพืน้ ทีห่ น่ึง
รปู ถ่ายทางอากาศและ ภาพจากดาวเทียม
รปู ถ่ายทางอากาศ รูปถ่ายทางอากาศมลี กั ษณะคล้ายกบั แผน ที่ แต่แผนทมี่ มี าตราส่วนตายตัวส่วนรูป ถ่ายทางอากาศจะมคี ่าอตั ราส่วน เปลย่ี นแปลงไปตามระดบั ความสูงและ มุมมองจากกล้องถ่ายรูปคือ รูปภาพของ ลกั ษณะภูมิประเทศทป่ี รากฏอยู่บน พืน้ ผวิ โลก ซึ่งได้มาจากการถ่ายภาพทาง อากาศด้วยวธิ ีการนากล้องถ่ายรูปติดไว้ กบั อากาศยาน เช่น เครื่องบิน อากาศยาน ไร้คนขับ (drone)
ภาพจากดาวเทียม เป็ นข้อมูลทไี่ ด้จากการสะท้อนพลงั งานของ วตั ถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของคลื่น แม่เหลก็ ไฟฟ้าโดยเคร่ืองรับรู้และแปลงเป็ น ข้อมูลเชิงเลขในรูปแบบแรสเตอร์ (raster) มลี กั ษณะเป็ นตารางกริดหรือจุดภาพ (pixel) ภาพจากดาวเทยี มจะครอบคลุม พืน้ ทท่ี ก่ี ว้างกว่ารูปถ่ายทางอากาศและมีการ โคจรซ้าบริเวณเดิม ทาให้มีข้อมูลทที่ นั สมยั กว่าและ มรี าคาทต่ี ่ากว่ารูปถ่ายทางอากาศ และเป็ น ข้อมูลเชิงเลข ซ่ึงสามารถใช้กบั ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ได้โดยตรง
THANK YOU
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: