Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Report2014

Report2014

Published by Nuch_Phuhoy, 2018-06-18 05:17:33

Description: Report2014

Keywords: รายงานประจำปี 2557 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์พระนครศรีอยุธยา

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ รายงานประจําป 2557 น้ี จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรผลการปฏิบัติงานของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา ในรอบปงบประมาณ 2557 โดยรวบรวมเกี่ยวกับนโยบายหนาท่ีความรับผิดชอบ อัตรากําลัง งบประมาณ และการปฏิบัติงานของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา ตลอดจนขอมูลทั่วไป รวมถึงสถิติทางการเงินและขอมูลตาง ๆ ที่เก่ียวของกับผลการดําเนินงาน ฐานะทางการเงินของสหกรณและกลุมเกษตรกร ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพ่ือใหผูอื่นไดทราบถึงภารกิจหนาท่ีของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรอี ยธุ ยา และสภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คณะผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา รายงานประจําปฉบับนี้จะอํานวยประโยชนแกหนว ยงานท่ีเกยี่ วของ และบุคคลที่ท่สี นใจตามสมควร สาํ นักงานตรวจบัญชีสหกรณพ ระนครศรอี ยธุ ยา กรมตรวจบญั ชสี หกรณ พฤศจกิ ายน 2557

สารบญั หนาประวัตสิ ํานักงาน............................................................................................................ 1ผังแสดงทีต่ ้ังสาํ นักงานตรวจบญั ชสี หกรณพระนครศรีอยธุ ยา.........................................2วิสัยทศั น พนั ธกจิ .......................................................................................................... 3ภารกิจ ยทุ ธศาสตร คานิยม........................................................................................ 4ผงั โครงสรางการบรหิ ารกรมตรวจบญั ชีสหกรณ............................................................. 5ผงั โครงสรา งสํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณพ ระนครศรีอยธุ ยา........................................ 6ประเภทสหกรณ/กลุมเกษตรกรที่ตอ งตรวจสอบ........................................................... 7สภาพของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร................................................................................. 8-10สรุปผลการวเิ คราะหเ ศรษฐกจิ ทางการเงนิ ของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร......................... 11-13ขอบกพรอ งทางการเงินการบญั ช.ี .................................................................................. 14-15แผนการปฏบิ ัติงาน ป 2556....................................................................................... 16งบประมาณ................................................................................................................... 17ประมวลภาพกจิ กรรม................................................................................................... 18-27อตั รากาํ ลงั (ปจ จุบนั ).................................................................................................... 28ภาคผนวก..................................................................................................................... 29-48  สัญลกั ษณ คําขวัญ ตนไม ดอกไม ประจําจังหวดั  สถานทที่ อ งเท่ยี วจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ประวตั สิ าํ นกั งาน สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงไดจัดตั้งสํานักงานเม่ือป 2526 สํานักงานเลขที่ข 5/21 ถนนปรีดีพนมยงค ตําบลหอรัตนไชย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000เปนสวนราชการสวนกลางท่ีตง้ั อยูใ นภมู ิภาคซึ่งอยูใ นการกาํ กบั ดแู ลของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณที่ 1 สังกัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ ตามนโยบายการกระจายงานจากสวนกลางไปสูสวนภูมิภาค เนื่องจากปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นท้ังดานจํานวนสหกรณ กลุมเกษตรกร และการดําเนินธุรกิจ เพ่ือใหการปฏิบัติงานเกิดผลสัมฤทธิ์ตอบสนอง พนั ธกจิ และวิสัยทัศนของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ รายงานประจําป 2557 1

สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณพระนครศรอี ยธุ ยา รายงานประจําป 2557 2

วสิ ยั ทศั น “ พฒั นาระบบบริหารจัดการดา นการเงินการบัญชีของสหกรณแ ละสถาบันเกษตรกรใหเขมแขง็โปรงใส กาวไกลดวยไอที นําบญั ชีสูเกษตรกร ”พนั ธกจิ 1. ตรวจสอบบัญชีสหกรณและกลมุ เกษตรกร 2. พัฒนาระบบบัญชีและการสอบบัญชีใหเ ปน ไปตามมาตรฐานและสอดคลอ งกับการดําเนนิ ธุรกิจของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร 3. พัฒนาระบบการกํากบั ดแู ลผูส อบบัญชีและสหกรณท่ีสอบบัญชโี ดยผูสอบบัญชภี าคเอกชน 4. พัฒนาระบบการตรวจสอบกจิ การและสมรรถนะของผตู รวจสอบกิจการ 5.ใ ห คํ า ป รึ ก ษ า แ น ะ นํ า แ ล ะ พั ฒ น า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า น ก า ร เ งิ น ก า ร บั ญ ชีแกคณะกรรมการ และฝา ยจัดการของสหกรณแ ละกลุม เกษตรกร 6. พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและรายงานภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ ของสหกรณและกลุมเกษตรกร 7. เสรมิ สรางความรูและสงเสรมิ การจดั ทําบัญชีแกส มาชิกสหกรณ กลมุ เกษตรกรกลุมอาชีพ วิสาหกิจชมุ ชน กลมุ เปา หมายตามโครงการพระราชดําริ เกษตรกรและประชาชนกลุมเปาหมาย รายงานประจําป 2557 3

ภารกจิ ตามกฎหมาย 1. ดาํ เนินการตรวจสอบบัญชสี หกรณแ ละกลมุ เกษตรกรตามกฎหมายวาดว ยสหกรณ และกฎหมายอืน่ท่เี ก่ยี วของ 2. กาํ หนดระบบบัญชแี ละมาตรฐานการสอบบัญชใี หเ หมาะสมกบั ธรุ กจิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร 3. ใหค ําปรึกษาแนะนําและใหค วามรดู านการบรหิ ารการเงนิ และการบัญชแี กคณะกรรมการและสมาชิกของสหกรณกลุมเกษตรกรและบคุ ลากรเครอื ขา ย 4. ถายทอดความรูและสง เสรมิ การจดั ทําบญั ชีใหแกส หกรณ กลมุ เกษตรกร กลมุ อาชพี วสิ าหกิจชุมชนกลมุ เปา หมายตามโครงการพระราชดําริ เกษตรกร และประชาชนทว่ั ไป 5. กาํ กับดแู ลการสอบบญั ชีสหกรณโดยผสู อบบัญชีภาคเอกชน 6. จัดทํารายงานภาวะเศรษฐกจิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร เพอื่ เปนพื้นฐานในการกาํ หนดนโยบาย และวางแผนพฒั นาสหกรณและกลมุ เกษตรกร 7. ปฏบิ ตั กิ ารอนื่ ใดทีก่ ฎหมายกําหนดใหเ ปนอํานาจหนา ทขี่ องกรมตรวจบญั ชสี หกรณ หรอื ตามท่ีกระทรวงหรอื คณะรัฐมนตรีมอบหมายยทุ ธศาสตร 1. พฒั นาประสิทธภิ าพการตรวจสอบบัญชีสหกรณแ ละกลุม เกษตรกร 2. สงเสรมิ และพฒั นาการบริหารจัดการดานการเงินการบัญชีและการตรวจสอบกิจการของสหกรณและกลุม เกษตรกร 3. พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหารจดั การองคก ร 4. เสรมิ สรา งองคความรู และขดี ความสามารถในการจดั ทําบญั ชีแก วสิ าหกิจชุมชน เกษตรกร เยาวชนและประชาชนกลุมเปาหมายคานยิ มหลกั “ มจี ติ มงุ บริการ (Service Mind) งานสัมฤทธผ์ิ ลและมีคุณภาพ (Quality and Result Orientation) ยดึ ม่ันในสง่ิ ทถ่ี ูกตอ ง (Moral Courage) ” รายงานประจําป 2557 4

ผงั โครงสรา งการบริหาร สาํ นักงานตรวจบญั ชสี หกรณท ี่ 1สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ สํานักงานตรวจบญั ชสี หกรณ สํานักงานตรวจบัญชสี หกรณ พระนครศรอี ยธุ ยา กาญจนบรุ ี อา งทองสํานกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ สาํ นักงานตรวจบญั ชีสหกรณ สุพรรณบุรี นนทบรุ ี ปทมุ ธานี สระบุรีสาํ นกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ สํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณ สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ สาํ นักงานตรวจบญั ชสี หกรณ สิงหบ รุ ี ลพบรุ ี ชยั นาท อุทยั ธานี รายงานประจาํ ป 2557 5

ผงั โครงสรา งสาํ นกั งานตรวจบญั ชีสหกรณพ ระนครศรอี ยธุ ยา หวั หนาสํานกั งาน (นกั วิชาตรวจสอบบญั ชีชํานาญการพิเศษ)ขา ราชการ พนกั งานราชการ ลูกจา งประจํา จางเหมาบรกิ าร(8) (12) (1) (9)นักวชิ าการตรวจสอบบญั ชชี ํานาญการพเิ ศษ (1) นกั วชิ าการตรวจสอบบญั ชี (11) พนกั งานขับรถยนต (1) เจา หนาท่บี ันทกึ ขอมูล (1)นกั วชิ าการตรวจสอบบญั ชชี าํ นาญการ (6) เจาหนาท่ีระบบคอมพิวเตอร (1) เจาหนา ท่ีธรุ การ (2)นักวชิ าการตรวจสอบบญั ชปี ฏบิ ัตกิ าร (1) เจาหนา ท่ีโครงการวิสาหกจิ ชมุ ชน (1) พนกั งานขบั รถยนต (3) ยามรกั ษาการณ (1) แมบาน (1) อตั รากําลังเจาหนาที่ ขา้ ราชการ พนักงานราชการ ลูกจา้ งประจาํ จา้ งเหมาบริการ รายงานประจําป 2557 6

ประเภทสหกรณ/กลมุ เกษตรกรทตี่ อ งตรวจสอบ ปงบประมาณ 2557 สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร 148 แหงการเกษตร นิคม รานคา27 แหง 1 แหง 2 แหง บรกิ าร ออมทรพั ย 25 แหง 10 แหง เครดิตยเู นยี่ น 4 แหง กลมุ เกษตรกร 79 แหง รายงานประจาํ ป 2557 7

ภาพรวมสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ปรมิ าณธรุ กจิ ประเภท รับฝากเงนิ ใหเงนิ กู ปริมาณธรุ กิจ แปรรูป ใหบ ริการ หนว ย : บาท % สหกรณ ผลิตผล 637,928,198.40 686,096,793.80 จัดหาสนิ คา มา รวบรวม 22,423,226.92 รวม 19.17การเกษตร 6,838.30 420,000.00 จําหนา ย ผลผลติ 37,148,024.90 529,336.00 0.01นิคม 0.00 0.00 0.00 2,774,994,007.48 3.08รา นคา 1,391,397,763.46 0.00 0.00 2,814,064 1,095,174.30 0.30บรกิ าร 561,035.90 34,116,362.00 139,000.00 0.00 0.00 76.30ออมทรัพย 1,815,792,879.76 9,226,746,726.50 0.00 0.00 445,647,546.90 0.64เครดติ ยู 445,647,546.90 0.00 0.00 43,384,224.30เนีย่ น 3,190,363.50 89,499,800.00 5,892,762.40 0.00 11,042,539,606.26 0.50กลุม 0.00 0.00 0.00 92,705,225.50เกษตรกร 10,055.44 69,580,974.00 15,062.00 0.00 0.00 100รวมทง้ั สน้ิ 2,457,489,371.30 10,106,460,656.30 3,125,218.00 0.00 0.00 0.00 72,716,247.44 1,846,217,352.76 0.00 37,148,024.90 25,766,626.92 14,473,082,032.10% 16.98 69.83 12.76 0.00 0.26 0.17 100.00 70 รับฝากเงนิ ใหเ้ งนิ กู ้ 60 จดั หาสนิ คา้ มาจําหนา่ ย รวบรวมผลผลติ 50 แปรรปู ผลผลติ ใหบ้ รกิ าร 40 30 20 10 0 ใหบ้ รกิ าร รบั ฝากเงนิ จัดใหหาเ้ งสนิ ินกคู ้า้ มาจําหนร่าวยบรวมผลผลตแิ ปรรูปผลผลติ รายงานประจาํ ป 2557 8

ผลการดาํ เนนิ งานประเภทสหกรณ จํานวน จาํ นวนสมาชกิ รายได คาใชจา ย หนว ย:บาท สหกรณ/ กลมุ (คน)การเกษตร กาํ ไร(ขาดทนุ )นคิ ม (แหง ) สทุ ธิรานคา 24บริการ 99,302 1,660,044,442.96 1,623,736,602.20 36,307,840.76ออมทรัพย 1เครดติ ยูเน่ียน 316 1,028,162.40 1,099,021.16 (70,858.76)กลุม เกษตรกร 2รวมทง้ั สนิ้ 3,918 222,823,773.45 222,956,342.25 55,051.14 20 4,044 20,504,953.02 17,868,158.32 2,636,794.70 12 34,424 1,286,836,611.64 458,064,598.66 828,772,012.98 4 2,914 6,288,320.86 2,315,300.00 3,973,020.86 77 8,680 6,747,413.32 4,789,979.98 1,957,433.34 140 153,598 3,204,273,677.65 2,330,830,002.57 873,489,577.40 กาํ ไรตอ สมาชกิ : 5,686.86 เงนิ ออมตอ สมาชกิ : 15,999.47 หนสี้ นิ ตอ สมาชกิ : 65,796.76 รายงานประจาํ ป 2557 9

ฐานะการเงนิประเภทสหกรณ สนิ ทรัพย หน้ีสนิ และทนุ หนวย:บาท หนี้สนิ ทนุ แหลง เงินทนุ ภายใน ภายนอกการเกษตร 1,713,699,722.60 1,203,717,040.84 509,982,681.76 1,321,370,451.64 470,846,152.33นิคม 32,849,705.56รานคา 3,401,956.96 847,629.84 32,002,075.72 24,578,339.74 -บริการ 102,855,744.74ออมทรัพย 10,109,178,159.03 618,706.90 2,783,250.06 2,783,250.06 -เครดิตยเู นยี่ น 41,106,215.60กลุมเกษตรกร 37,948,976.71 86,724,480.53 16,131,264.21 18,,457,141.31 78,164,832.80 4,393,428,492.63 5,715,749,666.40 7,665,234,475.41 2,379,809,205.61 1,017,934.58 40,088,281.02 40,350,832.63 786,287.29 17,527,357.21 20,421,619.50 38,574,132.64 85,379.64รวมทั้งสนิ้ 12,041,040,481.10 5,703,881,642.53 6,337,158,838.67 9,111,348,623.43 2,929,691,857.67% 100 47.37 52.63 75.67 24.33 แสดงสดั สว นภายในและภายนอก ทุนภายนอก 24.33% ทนุ ภายใน ทุนภายนอก ทนุ ภายใน 75.67% รายงานประจาํ ป 2557 10

สรปุ ผลการวเิ คราะหเ ศรษฐกจิ ทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรดว ยโปรแกรมระบบเผา ระวงั และเตอื นภยั ทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุเกษตรกร : CFSAWS : ssสหกรณการเกษตรสหกรณนิคมสหกรณร า นคา รายงานประจําป 2557 11

สหกรณบริการสหกรณออมทรัพยสหกรณเ ครดติ ยูเนยี่ น รายงานประจาํ ป 2557 12

กลมุ เกษตรกร รายงานประจาํ ป 2557 13

ขอบกพรองทางการเงินการบญั ชี ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2557 ยอดยกมาตน ป เพ่มิ ขึน้ (สะสม) ลดลง (สะสม) ยอดคงเหลือประเภทสหกรณ จํานวน จํานวน จํานวน จาํ นวนกลมุ เกษตรกร สหกรณ/ จํานวนเงนิ สหกรณ/ จํานวนเงนิ สหกรณ/ จาํ นวนเงนิ สหกรณ/ จาํ นวนเงิน กลมุ ฯ กลมุ ฯ กลุมฯ กลุมฯสหกรณการเกษตร 5 11,262,926.11 1 520,619.00 3 129,113.47 5 11,654,431.64สหกรณรานคา 1 2,019,744.82 - - - - 1 2,019,744.82สหกรณบ ริการ 2 67,548.45 1 609,026.67 - - 2 676,575.12สหกรณออมทรัพย 1 1,175,938.39 1 516,385.18 - - 1 1,692,323.57รวมสหกรณ 9 14,526,157.77 3 1,646,030.85 3 129,113.47 9 16,043,075.15กลุม เกษตรกร 1 11,526.07 - - 1 11,526.07 - -รวมทง้ั ส้ิน 10 14,537,683.84 3 1,646,030.85 4 140,639.54 9 16,043,075.15 รายงานประจาํ ป 2557 14

รายละเอียดขอ บกพรองทางการเงินการบญั ชี ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557 ประเภท ลกู หนต้ี าม เงนิ สดขาดบัญชี สินคา ขาดบัญชี การปฏิเสธหน้ี รวมทง้ั สน้ิ ช่ือสหกรณ / กลุมเกษตรกร คําพพิ ากษา (บาท) (บาท) (ลูกหน้ี/เจา หน/ี้ เงนิ รบั ฝาก/หนุ )สหกรณก ารเกษตร (บาท)1. สกก. ผักไห จก.2. ชสก. จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จก. 975,902.12 6,225,081.07 1,803,075.00 630,043.00 975,902.123. สกก. ปฏิรูปท่ีดินลาดบวั หลวง จก. 1,019,282.07 470,509.38 8,028,156.074. สก. ผใู ชน้ําปฏิรปู ทดี่ ินลาดบัวหลวง จก. 975,902.12 630,043.00 2,119,834.455. สกก.อทุ ัย จก. 9,920.00 2,273,584.38 520,619.00 9,920.00 รวม 520,619.00สหกรณร า นคา 7,774,902.141. รา นสหกรณอ ยุธยา จํากัด 11,654,431.64 รวม 2,019,744.82 2,019,744.82สหกรณบรกิ าร 2,019,744.82 2,019,744.821. สหกรณช มุ ชนเทศบาลตาํ บลทา หลวง จาํ กัด 67,548.45 609,026.67 676,575.12 รวม 67,548.45 609,026.67 676,575.12สหกรณออมทรัพย 1,692,323.57 7,842,450.59 2,882,611.05 630,043.00 1,692,323.571. สอ. พนกั งาน เอ พี ซี บี อเิ ลคทรอนิคส จก. 1,692,323.57 1,692,323.57 4,687,970.51 7,842,450.59 2,882,611.05 630,043.00 16,043,075.15 รวม รวมสหกรณท ุกประเภท 4,687,970.51 16,043,075.15 รวมสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรทง้ั ส้ิน รายงานประจาํ ป 2557 15

แผนการปฏิบตั งิ านป 2557 ผลผลติ ท่ี 1 สหกรณแ ละกลุม ผลผลติ ที่ 2 สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร เกษตรกร ไดร บั การตรวจสอบ ไดร บั การพฒั นาดา นความรดู า นบรหิ าร บญั ชี จดั การทางการเงนิ การบญั ชี- สอบบญั ชี - โครงการพฒั นาประสทิ ธภิ าพบรหิ ารจดั การดาน * สหกรณ 65 สหกรณ การเงินและการบญั ชีของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร * กลุมเกษตรกร 83 กลมุ * กํากับแนะนาํ 2 สหกรณ- การเขา โครงการ EWP 4 สหกรณ - โครงการเตรยี มความพรอ มแกสหกรณ/ กลมุ- วางรูปบญั ชี เกษตรกร ทต่ี งั้ ใหม * สหกรณ 2 สหกรณ- ตดิ ตามความเคลอื่ นไหว * ฝก อบรมคณะกรรมการ 1 สหกรณ * สอนแนะนํา 1 สหกรณ * สหกรณ 2 สหกรณ - โครงการ 3 ประสานเพ่อื พฒั นาการสหกรณ- งานกํากบั สหกรณท มี่ อบหมายให (WWR)ภาคเอกชน * นเิ ทศ/เตอื นภัยฯ 2 สหกรณ * กรณีปกติ 1 สหกรณ * กลุมเกษตรกร 2 กลมุ ผลผลติ ที่ 3 วสิ าหกจิ ชมุ ชนและ ปฏบิ ัตไิ ดต ามแผน เกษตรกรไดร บั การสงเสรมิ และพฒั นา 100% ศักยภาพ รายงานประจาํ ป 2557 16- โครงการคลนิ กิ เกษตรเคลือ่ นท่ี 4 คร้งั- โครงการพฒั นาวิสาหกจิ ชมุ ชน * วางรปู แบบบัญช/ี สอนแนะ 7 แหง * ตดิ ตาม/แนะนําการจัดทาํ บัญชี 5 แหง- โครงการพฒั นาภมู ปิ ญ ญาทางบัญชีสตู น ทนุ อาชพี * สอนแนะการจดั ทําตน ทุนอาชพี 1,960 คน * อบรมครบู ญั ชี 64 คน- โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปร่ือง (SmartFarmer) * อบรมการจัดบญั ชีและขอ มลู ในการประกอบอาชพี980 คน * อบรมครบู ัญชี 34 คน- โครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทุรกนั ดาร 1ร.ร. * กิจกรรมผลติ ทางเกษตรเพอื่ อาหารกลางวัน 5 คน * กจิ กรรมฝก อบรมครบู ญั ชเี ยาวชน 2 คน * กจิ กรรมสอนแนะการจดั ทําบญั ชีกาํ กบั แนะนาํ การจดั ทาํ บัญช/ี เกบ็ ขอมูลการจัดทําบญั ชี 50 คน- โครงการศลิ ปาชพี 1 ศนู ย 18 คน- โครงการสายใยรักแหง ครอบครัว 30 คน- งานอ่ืนา * ติดต้งั โปรแกรมระบบบญั ชีสหกรณค รบวงจร 8สหกรณ * ใช CATS ชวยตรวจสอบ 20 สหกรณ

งบประมาณในปง บประมาณ พ.ศ.2557 สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณพ ระนครศรอี ยุธยา ไดรบั งบประมาณเพ่ือใชใ นการปฏิบัติงาน ดังนี้ รายการ รบั อนุมตั ิ เบิกจา ย รอ ยละแผนขจัดความยากจนระดบั ประเทศผลผลิตท่ี 1- ตรวจสอบบัญชีประจําปสหกรณและกลมุ เกษตรกรงบบุคลากร 2,379,893.23 2,379,893.23 100.00งบดาํ เนินงาน 2,155,207.43 2,155,207.43 100.00สาธารณูปโภค 152,236.62 152,236.62 100.00งบลงทุน - -- รวม 4,687,337.28 4,687,337.28 300.00ผลผลติ ท่ี 2- โครงการพัฒนาประสิทธภิ าพ 15,000.00 15,000.00 100.00- โครงการพัฒนาความรูด านการเงินการบญั ชี 5,850.00 5,850.00 100.00- สหกรณ/ กลุมจัดตั้งใหม 8,550.00 8,550.00 100.00 รวม 29,400.00 29,400.00 300.00ผลผลิตที่ 3- งบบุคลากร 426,108.00 426,108.00 100.00 426,108.00 426,108.00 100.00ผลผลติ ที่ 4- โครงการพฒั นาภมู ปิ ญญาทางบัญชีสูต น ทนุ อาชีพ 337,823.60 337,823.60 100.00- คลินกิ เกษตรเคลื่อนที่ 29,180.00 29,180.00 100.00- โครงการพระราชดาํ ริ - ศิลปาชีพ 6,190.00 6,190.00 100.00 - สายใยรัก 12,700.00 12,700.00 100.00- โครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชน 32,643.00 32,643.00 100.00- โครงการวสิ าหกิจชุมชน 172,363.40 172,363.40 100.00 590,900.00 590,900.00 600.00งบบุคคลากร 2,806,001.23 2,806,001.23 100.00 รวม 5,733,745.28 5,733,745.28 100.00 รายงานประจาํ ป 2557 17

รายงานประจําป 2557 18

ประมวลภาพกจิ กรรม รายงานประจาํ ป 2557 19

โครงการพฒั นาภมู ปิ ญ ญาทางบญั ชี และ Smart Farmer รายงานประจาํ ป 2557 20

โครงการคลนิ กิ เกษตร สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา รวมจัดนิทรรศการดานบัญชี พรอมใหบริการคลินิกบัญชีเคล่ือนที่ สอนแนะการจัดทําบัญชีรับ-จายในครัวเรือน บัญชีตนกลาเศรษฐกิจพอเพียง และบัญชีตนทุนประกอบอาชีพ แกเกษตรกร เยาวชน และประชาชนทั่วไป ท่ีสนใจในงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารป 2557 ณ บรเิ วณวดั บางสงบ ตาํ บลบางนา อาํ เภอมหาราช จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา โดยมปี ระชาชนใหความสนใจจํานวนมาก ซ่ึงไดรับเกียรติจาก พ.อ.อ. ปญญา สระทองอุน รองผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา เปนประธานเปด งาน รายงานประจาํ ป 2557 21

โครงการตนไมแหง ความดีสํานกั งานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยธุ ยา นําโดยนางสาวนพวรรณ กตั ตกิ ามาส หัวหนา สาํ นักงานตรวจบัญชพี ระนครศรีอยธุ ยา ไดจัดกจิ กรรมตน ไมแหง ความดี โดยจัดตง้ั ตนไมไวทส่ี ํานักงาน เพ่ือใหบคุ ลากรของหนว ยงาน ตงั้ สจั จะอธิษฐาน โดยการเขียนสง่ิ ทจ่ี ะทําในการทจี่ ะ ปฏิบัติตวั เปนขา ราชการทดี่ ีของประเทศชาติแลวนําไปผกู ตดิ กบั ตน ไม สิ้นสุดในเดือนกนั ยายน 2557 กิจกรรมดังกลาวมีวัตถปุ ระสงคเ พ่อื ปลกู ฝง คุณธรรมจริยธรรม เพอ่ื การเสริมสรา งความปรองดอง สมานฉันท โดยไดเ รมิ่ ดําเนนิ การในวันท่ี 31 กรกฎาคม 2557ซ่ึงเมื่อส้นิ สดุ โครงการแลว ก็ใหนาํ มาทบทวนดูวาแตล ะคนไดท ําตามท่ีไดตงั้ สจั จะอธิษฐานไดหรือไม เพียงใด รายงานประจําป 2557 22

โครงการฝกอบรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมสรางความปรองดองสมานฉนั ทเมือ่ วนั ที่ 18สิงหาคม2557สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยานําโดยนางสาวนพวรรณ กัตติกามาส หัวหนาสาํ นกั งานตรวจบัญชีสหกรณพ ระนครศรีอยธุ ยา พรอมดว ยขาราชการ พนักงานราชการ และลกู จา งในสงั กัด เขารวมอบรมหลักสูตรการปลูกฝง คุณธรรมจริยธรรม เพื่อการเสริมสรางความปรองดองสมานฉันท สูการเปนขาราชการทีด่ ีของประเทศชาติ ณ วัดโตนด 1 ต.ขา วเมา อ.อทุ ัย จ.พระนครศรีอยุธยา การอบรมในครงั้ นี้ จัดข้ึนเพ่อื สง เสรมิ ระบบธรรมาภบิ าลในองคก ร โดยการเสริมสรางระบบบรหิ ารจัดการท่ีดี โดยยึดหลักสมรรถนะ หลักผลงาน หลักคุณธรรม รวมท้ังการปลูกฝงจิตสํานึก คานิยม คุณธรรม จริยธรรมการสรางวนิ ัยแกบ คุ ลากร และการสรา งจิตวิญญาณการเปนขา ราชการทดี่ ขี องทุกคนในองคก ร โดยมีขาราชการพนักงานราชการ และลกู จางในสังกัด เขารว มโครงการท้ังสนิ้ 26 คน รายงานประจําป 2557 23

โครงการตรวจสอบปรมิ าณและคณุ ภาพขาวคงเหลอื ของรฐั เมื่อวนั ที่ 3 กรกฎาคม 2557สํานกั งานตรวจบญั ชสี หกรณพระนครศรอี ยุธยา ไดรวมเปนคณะทํางานโครงการตรวจสอบปริมาณ และคุณภาพขาวคงเหลือของรัฐ ชุดท่ี 1 โดยมี นางประภาศรี บุญวิเศษ ผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี เปนประธานคณะทํางานตรวจขา วชดุ ท่ี 1 ณ คลงั สินคากลางบา นแพรกไรซ(หลังที่3)อาํ เภอบา นแพรก จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา และมนี ายวิทยา ผิวผอง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยามารวมงานดวย รายงานประจาํ ป 2557 24

โครงการรวมพลคนทําบญั ชี สามัคคปี รองดอง เมื่อวันท่ี 7 สิงหาคม 2557 สํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณ พระนครศรีอยุธยา จัดสัมมนา \"รวมพลคนทําบัญชี สามคั คีปรองดอง” แกอาสาสมัครเกษตรดานบัญชี (ครู บัญช)ี เพือ่ สอดรับกับนโยบายของคณะรักษาความสงบ แหงชาติ (คสช.) ทีใ่ หห นวยงานราชการเปนศูนยกลางในการสรางทัศนคติท่ีดี ตําหนักถึงความรูรักสามัคคีปรองดองสมานฉันท เสริมสรางความรูความเขาใจ ในเร่ืองหลกั การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย เสรมิ สรางหลกั จริยธรรม คุณธรรม ตามรอยพระยคุ ลบาท และหลกัปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามแนวพระราชดําริพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวฯ และไดม โี อกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความรูและประสบการณรวมกันในเรื่องการจัดทําบัญชีรายบุคคล ณ โรงแรมริเวอรวิวเพลสอาํ เภอพระนครศรีอยธุ ยา จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ในการนีไ้ ดรับเกียรตจิ าก นายนัทธี บอสวุ รรณ รองผวู า ราชการจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา เปนประธานในการเปด งาน รายงานประจาํ ป 2557 25

โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งชมุ ชนในสถานศึกษา เม่ือวันท่ี 8 สิงหาคม 2557 สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ พระนครศรีอยุธยา รวมมือกับสํานักงานเกษตรและ สหกรณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนวิทยากรเพ่ือให ความรูในโครงการ \"เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนใน สถานศึกษา” ประจําป 2557 จัดอบรมสอนแนะการ จัดทําบัญชีตนกลาเศรษฐกิจพอเพียง แกนักเรียน โรงเรยี นเจาฟาสราง จํานวน 35 ราย วัตถุประสงค เพื่อสง เสริมใหนักเรียนรูจักการจดบันทึกบัญชี รูรายรับ – รายจาย เปนการเตือนสติในการใชจาย ลด ละ เลิก ส่ิงฟุมเฟอย ควบคุมการใชจาย รูจักการออม และเปนการปลูกฝงเยาวชนใหมีความกตัญูตอผูมีพระคุณ ณหอประชุมโรงเรยี นเจา ฟา สรา ง อาํ เภอบางปะอนิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เม่ือวันท่ี 19 สิงหาคม 2557 สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา รวมมือกับสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา เปนวิทยากรเพอื่ ใหค วามรูในโครงการ \"เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในสถานศึกษา” ประจําป 2557 จัดอบรมสอนแนะการจัดทําบัญชีตนกลาเศรษฐกิจพอเพียง แกนักเรียนโรงเรียนวัดโพธิ์ (แจมวิทยาคาร) จํานวน 35 ราย วัตถุประสงค เพื่อสงเสริมใหนักเรียนรูจักการ จดบันทึกบัญชี รูรายรับ – รายจาย เปนการเตือนสติในการใชจาย ลด ละ เลิก สิ่งฟุมเฟอย ควบคุมการใชจาย รูจักการออมและเปนการปลูกฝงเยาวชนใหมีความกตัญูตอผูมีพระคุณ ณ หอประชุมโรงเรียนวัดโพธ์ิ (แจมวิทยาคาร)ตําบลบานแพน อําเภอเสนา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา รายงานประจาํ ป 2557 26

โครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กนั ดารฯ เม่ือวนั ที่ 13 ธนั วาคม 2556 สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา นําโดย นางนิศารัตน สารพันธนักวชิ าการตรวจสอบบญั ชีชาํ นาญการ จดั อบรมสอนแนะการจัดทําบัญชีตนกลาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดทําบัญชีรับ – จายในครัวเรือน และไดสอนงานฝมือพับตุกตาจากผาเช็ดหนา แกครู นักเรียน และผูปกครองโรงเรียนเจาฟาสรา ง จํานวน 55 ราย วตั ถุประสงค เพ่ือสงเสริมใหนักเรียนรูจักการจดบันทึกบัญชี รูรายรับ –รายจา ย เปน การเตือนสตใิ นการใชจ า ย ลด ละ เลกิ สิง่ ฟมุ เฟอ ย ควบคุมการใชจาย รูจักการออม และเปนการปลูกฝงเยาวชนใหมีความกตัญูตอผูมีพระคุณ ณ หอประชุมโรงเรียนเจาฟาสราง อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา รายงานประจาํ ป 2557 27

อัตรากาํ ลัง (ปจจุบนั ) อตั รากาํ ลงั ขา ราชการ ลูกจางประจาํ พนกั งานราชการ ลูกจา งชว่ั คราวบุคลากรจางเหมาสํานกั งานตรวจบญั ชสี หกรณพระนครศรอี ยุธยา มีดังนี้ ตําแหนง จํานวน (คน)ขาราชการนักวชิ าการตรวจสอบบญั ชชี ํานาญการพิเศษ 1นกั วิชาการตรวจสอบบญั ชชี ํานาญการ 6นักวิชาการตรวจสอบบญั ชปี ฏิบัตกิ าร 1 รวม 8ลกู จา งประจาํพนกั งานขบั รถยนต 1 รวม 1พนกั งานราชการนกั วิชาการตรวจสอบบญั ชี 11เจาหนา ท่ีระบบงานคอมพิวเตอร 1 รวม 12งานจางเหมาบรกิ ารเจา หนา ท่ีธุรการ 2เจา หนาบันทกึ ขอ มูล 1เจา หนา ที่โครงการฯ 1พนักงานขบั รถยนต 3พนักงานทําความสะอาด 1พนักงานรักษาความปลอดภัย 1 รวม 9 30 รวมทงั้ สน้ิ รายงานประจาํ ป 2557 28

รายงานประจําป 2557 29

ภาคผนวก รายงานประจาํ ป 2557 30

จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาคาํ ขวญั ประจาํ จงั หวดั “ราชธานเี กา อขู า วอนู า้ํ เลศิ ลา้ํ กานทก วี คนดศี รอี ยธุ ยา”ตน ไมป ระจาํ จงั หวดั ตนหมนั เปน ไมพ ันธตระกูล Boraginaceae เปนตนไมขนาดกลาง สงู ราว 60 ฟตุ ลําตนคลายกระบอกเนื้อไมสีเทาปนสีน้ําตาล ความแข็งปาน กลาง เปลอื กเนือ้ ไมสีเทาปนสนี ้าํ ตาล หนาประมาณ 1/2 น้ิว มีรอยแตกราว ยาวไปตามลําตน ใบยาวประมาณ 5 น้ิว กวาง 3 น้ิว รูปไข โคนใบคลายรูป หัวใจ ดอกสีขาว ผลเปนพวงสีเขียวเม่ือสุก ตนหมันมีข้ึนทั่วไปทาง ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือไมชนิดนี้ไมนิยมใช ประโยชนกัน ตนหมันเปนตนไมป ระจําจังหวัดพระนครศรอี ยุธยาเพราะเม่ือ พระเจาอูท องยา ยเมืองมาต้ังท่ีตําบลหนองโสน ไดขุดพบสังขทักษิณาวัตร 1 ขอนอยใู ตต นหมนั อนั เปนสัญลักษณประจาํ จังหวดัดอกไมป ระจาํ จงั หวดั ดอกโสนเปนไมตระกูล Leguminosae เปนไมลมลุกเนื้อออน โตเรว็ ลําตน อวบข้ึนเองตามแมน้าํ ลาํ คลองทัว่ ไปในภาคกลาง ดอกสเี หลืองเปน ชอหอย ใชรับประทานเปนอาหารได เม่ือ พ.ศ.1893 พระเจาอูทอง ต้ัง เมืองข้ึนใหมที่ตําบลเวียงเหล็กเลือกชัยภูมิที่จะต้ังพระราชวัง เห็นที่ตําบล หนองโสนเหมาะสมเพราะมีตนโสนมาก ออกดอกเหลอื งอรา มคลา ยทองคาํ แล สะพร่งั ตา ดงั นั้นดอกโสนจึงถือเปน ดอกไมประจาํ จังหวัด รายงานประจําป 2557 31

สถานทที่ อ งเทยี่ วจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาพาทัวรอ ยธุ ยา กบั 9 สถานทท่ี องเที่ยวสาํ คญั1. ตลาดนาํ้ อโยธยา รายงานประจาํ ป 2557 32

ตลาดนํา้ อโยธยา ยอ นรอยชองทางคา ขายประวัตศิ าสตรกรุงเกาของชาวริมน้ํา “ตลาดนํา้ ” สถานท่เี หมาะในการทอ งเที่ยว พักผอ นในชว งวนั หยุดของใครหลายๆคน ทามกลางบรรยากาศท่ีอบอุน สไตลไ ทยๆ มรี า นคา มากมายทีต่ ง้ั เรียงรายอยูรอบๆสายน้ํา สรางความโดดเดนเปนอยางดีมีอาหารการกินและสินคา ตางๆใหเ ลอื กซ้ือหาอยางเพลดิ เพลิน นอกจากน้ียังเปนการระลึกและยอนไปดูการใชชีวิตของชาวนํ้าในสมัยกอนอีกดวย อยางเชน “ตลาดน้ําอโยธยา” ท่ีตั้งอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทม่ี ีชือ่ เสยี งดานประวตั ิศาสตร เปนเมอื งเกา แก มคี วามเจรญิ รงุ เรืองในสมยั โบราณคะ “ตลาดน้ําอโยธยา” เปนสถานที่ทองเท่ียวอีกแหงหนึ่งท่ีไดรับความสนใจจากนักทองเท่ียวนอกจาก การมาทําบุญไหวพระ ทองเที่ยวโบราณสถานที่สําคัญของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาต้ังอยูบริเวณเดยี วกับ ปางชา งอโยธยาขา งวัดมเหยงคณ เอกลกั ษณของตลาดนาํ้ แหงนี้ เปนการจัดรานแบบตลาดยอนยุคยอ นกลบั ไปถงึ วถิ ีชวี ติ ของชาวบา นในสมยั กอ น ทมี่ ีสง่ิ แวดลอ มทอ่ี ุดมสมบรู ณ ขา วปลาอาหาร สายน้ําเปนแหลงการเรียนรูเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรมใหเด็กรุนใหม นอกจากนี้ยังมีการนําชื่อแตละอําเภอในจังหวัดมาต้ังเปนชื่ออาคาร เพ่มิ ความนา สนใจใหน กั ทองเท่ยี วไดอยางมากคะ ดวย “ตลาดนํ้าอโยธยา” มีพ้ืนที่กวางขวางกวา 60 ไร จึงทําใหเปนแหลงรองรับนักทองเท่ียวไดอยางมากมายเพยี งพอ ท้ังในวันธรรมดาหรอื วันหยดุ จงึ ทําใหเ ปน แหลงเศรษฐกิจทีส่ าํ คญั ของจังหวัด มีพอคาแมขาย ชาวบานนําสินคามาขายอยา งมากมาย ทั้ง อาหาร ของฝาก OTOP เส้อื ผา เครื่องประดับ มากกวา 250 รานมีท้ังเปนรานคา บนฝง หรอื ขายบนเรอื เรยี กวาครบครนั เลยทีเดียว จงึ ไดม ีการจดั โซนสินคา เพือ่ ใหมคี วามสวยงามเปนระเบยี บ นักทองเท่ยี วสามารถเพลิดเพลินกบั การจบั จายซื้อของ เดินเลนไดอยางไมนาเบ่ือ ตลอดทั้งวันคะเชน 1.โซนของกิน มที ง้ั อาหารคาวหวาน รวมทงั้ ขนมไทยโบราณทหี่ าทานไดย าก เชน ขนมตาล ,นาํ้ ตาลสด,หมสู ะเตะ ,กวยเตีย๋ ว ,โรตีสายไหม เปนตน 2. โซนของฝาก จะมสี นิ คา ปะปนกันทั้งเคร่อื งประดับ , กระเปา , เสือ้ สกรีน , ของเลนโบราณ , ของสะสม, ขนมโบราณ ฯลฯ 3.โซนน่งั พกั ผอน – สปา เปน จุดพกั ผอ น มีบรกิ ารสปา นวดแบบไทยๆ ไวค อยบริการนักทองเท่ยี ว ทั้งชาวไทยและตา งชาติ 4.โซนน่ังรบั ประทานอาหาร มโี ตะไมไวค อยใหบ ริการ นักทอ งเท่ียวสามารถเดนิ ซือ้ หาอาหารแลวมานงั่ พกั ทานทีน่ ่ไี ดค ะนอกจากจะเปนแหลงรวมสินคา ทงั้ อปุ โภคและบรโิ ภคแลว “ตลาดนํา้ อโยธยา” ยังมีกจิ กรรมพิเศษอน่ื ๆใหน กั ทอ งเท่ยี วไดช มกนั อยา งเพลดิ เพลิน - การแสดงละครประวัติศาสตรเ กย่ี วกบั เรื่องราวของวีรชนคนกลา แหงประเทศไทย เชน หมูบานบางระจนั ,สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ ซึง่ จะมกี ารสับ เปล่ยี นไปเร่ือยๆคะ รอบการแสดง ในวันธรรมดา 3 รอบ และเสาร-อาทิตย 4 รอบคะ - การปอนนมปลาคารฟ ปอนนมแพะ ทีไ่ ดร ับความนยิ มทงั้ ผใู หญและเด็กไดเ ปนอยางดีส่งิ ท่ีควรรกู อ นมา “ตลาดนา้ํ อโยธยา” 1.มีสถานทจ่ี อดรถ รองรบั ไดมากกวา 500 คนั ฟรี หรือจุดฝากรถของชาวบาน คาบริการ 20-30 บาท 2.มบี รกิ ารเรอื รับ-สง ลานจอดรถฟรี 3.มบี รกิ ารเรอื ลอ งชมรอบตลาดน้ํา คา บริการคนละ 20 บาท 4.หอ งนํ้ามบี รกิ ารเพยี งพอ สะอาด ตั้งอยตู ามโซนตางๆ 5.มีบรกิ าร Wifiฟรี รายงานประจําป 2557 33

ขอควรระวังกอนมา “ตลาดนา้ํ อโยธยา” -ควรระวังทรพั ยส ิน สง่ิ ของมคี า เน่อื งจากมนี กั ทองเทีย่ วจาํ นวนมากตลอดทงั้ วันคะการเดนิ ทางมา “ตลาดนาํ้ อโยธยา”1.เสน ทางรถประจาํ ทาง-รถประจาํ ทางตา งจงั หวดั บขส.กรงุ เทพ – อยุธยา-รถสองแถวในตวั จงั หวัด ลงที่ปากทางเขาวดั มเหยงคณมบี รกิ ารรถสามลอเครื่องรบั จางไปสงทีต่ ลาดนํา้ อโยธยา2.เสน ทางรถยนตเสนทางถนนสายเอเชีย เลี้ยวซายเขาตัวเมืองอยุธยามุงหนาไปตามถนนโรจนะถึงเจดียวัดสามปล้ืม กอนข้ึนสะพานขามแมน้ําเจาพระยา จากน้ันวนรอบวงเวียนเจดีย และเล้ียวขวาไปทางวัดมเหยงคณตรงไปประมาณ1 กโิ ลเมตร จะเห็นปายตลาดนํา้ หมบู า นชา งอโยธยาดา นขวามือ รายงานประจําป 2557 34

2. ตลาดน้ําทงุ บวั ชม รายงานประจําป 2557 35

ตลาดนํา้ ทุง บวั ชม ตลาดนา้ํ ทุงบวั ชม ถอื เปน อกี แหลงทอ งเที่ยวทเ่ี ปด โครงการยง่ิ ใหญ โดยมีแนวคิดผสมผสานระหวางสมัยเกายอนยุคกับแนวคิดรวมสมัย ต้ังอยูบนเนื้อท่ีท้ังหมด 18 ไร บริเวณอาํ เภอวงั นอ ย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ติดถนนพหลโยธิน เสนมุง หนา เขาสายอีสานถนนมิตรภาพ นอกจากนี้ตลาดนํ้าทุงบัวชม ยังเปนอีกหน่ึงสถานท่ีทองเท่ียวท่ีเปนความภูมิใจของชาวอยุธยา เพราะท่ีน่ีไดรวมสินคาที่เปนของดีส่ีภาคของข้ึนช่ือ รวมไปถึงของฝากจากอยุธยาหลากหลายรายการมาใหเลือกชอป เลือกชิมกันพรอมกันนี้ ตลาดน้ําทุงบัวชม ยังมีสินคาสไตลเกา ๆ ดีไซนเก ๆ ซ่ึงเปนสินคาที่มีแนวคิดผสมผสานระหวางสมยั เกายอนยคุ กับแนวคิดรวมสมัยเขาไวดวยกันอยางลงตัว รวมไปถึงงานแฮนดเมดเจง ๆ เชน ปลาตะเพียนใบลานตุกตาชาววงั งอบ บานเรือนไทยจําลอง มดี อรัญญิก หมอดินเผา หินแกะสลกั เปนตน และยังมีผลิตภัณฑจากศูนยศิลปาชีพบางไทร สินคา OTOP เครื่องประดับ เครื่องจักสาน สินคาหัตถกรรม เสื้อผา เคร่ืองแตงกายของประดับ ของที่ระลึกรวมถึงสินคาตาง ๆ อีกจํานวนมากไวจําหนาย แถมยังไดกลิ่นอายของวันวานกับชดุ แตง งานยอนยคุ ของแมค า พอ คา ทค่ี อยตอ นรับนักทอ งเท่ียวทแี่ วะเวยี นมาดวยรอยย้ิมนาประทับใจ และยังมีการแสดงหุนกระบอก ง้ิว และลิเก รวมทั้งกิจกรรมเพ่ิมความสนุกสนานอยางเชน สาวนอยตกนํ้า ฉายหนังกลางแปลง สว นทเี่ ปนไฮไลทข อง ตลาดนํ้าทุงบัวชม คงจะเปนหุนยนตขนาดยักษ ที่จําลองมาจากหุนยนตจากหนังเรื่อง ทรานฟอรมเมอร พรอมดวยการจัดการประกวดภาพถาย แตถาใครเดินชม ตลาดนํ้าทุงบัวชมจนเหนอ่ื ย ก็ไปพักแขงพกั ขาหาของกนิ อรอย ๆ เพราะท่ีนเ่ี ปนแหลงรวมอาหารและขนมอรอย ๆ นานาชนิด เชนไอศกรีมมะพราวนาํ้ หอม, กวยเตย๋ี วเรอื ท่ขี น้ึ ชอื่ ของอยธุ ยา, กงุ แมน าํ้ , ปลาแมน้ํา, โรตีสายไหม แถมยังมีอาหารชื่อแปลกอยางซาลาเปาทอดน้ํา ผลิตภัณฑเห็ดแปลงกาย และไอศกรีมผัดอีกดวย เอาเปนวาใครที่ช่ืนชอบการทองเท่ียวสไตลตลาดนํ้า และชื่นชมของโบราณแบบนี้ ตลาดน้ําทุงบัวชม ถือเปนอีกแหลงทองเท่ียวท่นี าสนใจอีกหนงึ่ แหงคะ วันเวลาเปดบรกิ าร : ทุกวนั ตัง้ แตเ วลา 10.00 - 20.00 น. ท่ีอยู : พหลโยธนิ กม.78 ถนน วังนอ ย-สระบรุ ี อาํ เภอวังนอย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา โทรศพั ท : (035) 723 127 เวบ็ ไซต : เฟซบกุ ตลาดนํา้ ทงุ บัวชม พหลโยธนิ กม.78 วงั นอ ย-สระบุรี รายงานประจําป 2557 36

3. พิพิธภณั ฑส ถานแหงชาติสามพระยา พระพทุ ธรูปประทับน่ังหอ ยพระบาท พิพิธภัณฑสถานแหงชาตสิ ามพระยา พระพุทธรูป ประทบั นั่งหอยพระบาท เปนพระพทุ ธรูปสมัยทวาราวดีท่เี คยประดษิ ฐานในซมุ พระสถูป โบราณวัดพระเมรุ จงั หวดั นครปฐมซ่ึงกรม ศิลปากร ไดพ ยายามติดตาม ชนิ้ สว นตาง ๆ ขององคพระที่ กระจัดกระจายไปอยูในทตี่ างๆ มาประกอบข้นึ เปน องคไ ด อยา งสมบรู ณ นับเปนพระพทุ ธรปู ทม่ี คี า มากองคห นง่ึ เพราะ ในโลกมเี พยี ง 6 องคเทา นั้นเศียรพระพุทธรปู สัมฤทธิส์ มัยอทู อง มขี นาดใหญม าก ไดจากวดั ธรรมมกิ ราช แสดงถึงความเกา แก ของวัด และฝมือการหลอ วัตถุขนาดใหญในสมยั โบราณ นอกจากนยี้ งั มโี บราณวตั ถทุ ข่ี ดุ พบอกี มากมายโดยเฉพาะท่ไี ดจ ากกรวุ ัดราชบรู ณะรวบรวมไวในหองมหรรฆภัณฑ มีเครอ่ื งราชปู โภคทองคาํ ทองกรพาหุรัตน ทบั ทรวง เครอื่ งประดบั เศียรสําหรบัชายและหญงิ พระแสงดาบฝกทองคาํ ประดบั พลอยสตี างๆ เปน ตน แสดงความรงุ เรืองของ กรงุ ศรอี ยุธยาในอดีตไวอ ยา งนาชมนาศกึ ษามาก พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง ชาติเจา สามพระยาเปด ทําการต้งั แตเ วลา 09.00-16.00 น. วนัพุธ-วันอาทิตย ปดวันจนั ทร วนั อังคารและวันหยุดนักขัตฤกษ คา ธรรมเนยี มการเขา ชม ชาวไทยคนละ 10 บาทชาวตา งประเทศคนละ 30 บาท รายละเอียดเพ่มิ เติมตดิ ตอ โทร. (035) 241587เรือนไทยโบราณ ภายในเรือนไทย จะแสดงวถิ ีชวี ติ ความเปน อยูและของใชต า งๆ ในชีวติ ประจําวันในสมัยกอน เชนหอ งครวั หอ งนอน ระเบียงนัง่ เลน ฯลฯ รายงานประจาํ ป 2557 37

4. วัดใหญช ัยมงคล วัดใหญชัยมงคล วัดใหญชัยมงคลเดิมชื่อวัดปาแกวหรือวัดเจาพระยาไทย ต้ังอยูทางฝง ตะวันออกของแมน้าํ ปาสัก จากกรุงเทพฯ เขาตวั เมืองอยุธยาแลวจะเห็นเจดียวัดสามปล้ืม (เจดียกลางถนน)ใหเล้ยี วซา ย ตรงไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะเหน็ วัดใหญช ยั มงคลอยทู างซา ยมอื วดั น้ีตามขอ มูลประวัติศาสตรสันนิษฐานวาพระเจาอูทองทรงสรางข้ึนเม่ือ พ.ศ. 1900 สําหรับเปนสํานักของพระสงฆซ่ึงไปบวชเรียนมาแตสํานักพระวันรัตนมหาเถรในประเทศลังกา คณะสงฆที่ไปศึกษาพระธรรมวินัยเรียกนามนิกายในภาษาไทยวา “คณะปาแกว” วัดน้ีจึงไดช่ือวา วัดคณะปาแกว ตอมาเรียกใหสั้นลงวา “วัดปาแกว” ตอมาคนเล่ือมใสบวชเรียนพระสงฆนิกายน้ี พระราชาธิบดีจึงตั้งอธิบดีสงฆนิกายนี้เปนสมเด็จพระวันรัตนมีตําแหนงเปนสังฆราชฝายขวาคูกับ พระพุทธโฆษาจารยเปนอธิบดีสงฆฝายคันถธุระมีตําแหนงเปนสังฆราชฝายซายหลังจากนั้นไดเปลี่ยนช่ือเปน“วัดเจาพระยาไทย” สันนิษฐานวามาจากที่สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 ทรงสรางวัดปาแกวขึ้น ณ บริเวณท่ีซึ่งไดถวายพระเพลิงพระศพของเจาแกวเจาไทยหรืออาจมาจากการที่วัดนี้เปนท่ีประทับของพระสังฆราชฝายขวา ซึ่งในสมัยโบราณเรียกพระสงฆวา “เจาไทย” ฉะน้ันเจาพระยาไทยจึงหมายถึงตําแหนงพระสังฆราชในป พ.ศ. 2135 เมื่อสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงทําศึกยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชแหงพมาที่ตําบลหนองสาหราย เมืองสุพรรณบุรี ทรงสรางพระเจดียใหญขึ้นท่ีวัดนี้เปนอนุสรณแ หงชัยชนะ การสรา งพระเจดียอ าจสรางเสริมพระเจดียเ ดิม ท่ีมีอยหู รืออาจสรางใหมทั้งองคก็ไดไมม ีหลักฐานแนน อน ขนานนามวา “พระเจดียช ยั มงคล” แตราษฎรเรียกวา “พระเจดียใ หญ” ฉะนน้ั นานวนั เขาวัดน้ีจึงเรียกชื่อเปน “วัดใหญชัยมงคล” วัดนี้รางไปเมื่อคราวเสียกรุงคร้ังสุดทาย และเพ่ิงจะต้ังขึ้นเปนวัดที่มีพระสงฆอ ยจู ําพรรษาเมือ่ ไมนานมาน้ี นอกจากนีย้ ังมี วิหารพระพทุ ธไสยาสน สรา งในสมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เพื่อเปนท่ีถวายสักการะบูชาและปฏิบัติพระกรรมฐาน ปจจุบันมีการสรางพระตําหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีผนู ิยมไปนมัสการอยางสมํ่าเสมอเปนจํานวนมาก คาเขาชม ตา งชาติ คนละ 20 บาท รายงานประจําป 2557 38

5. วดั นิเวศธรรมประวัติ ราชวรวหิ าร รายงานประจาํ ป 2557 39

วัดนิเวศธรรมประวัติ ต้ังอยูบนเกาะกลางแมนํ้าเจาพระยา ดานทิศใต คนละฝงกับพระราชวังบางปะอนิ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูหวั โปรดใหสรา งเลียนแบบโบสถฝ รง่ั เมื่อ พ.ศ. 2421 อาคารและการตกแตงทาํ แบบโกธิค มีกระจกสปี ระดับอยางสวยงาม ภายในเปนแบบฝรั่ง แมแตฐานที่ประดิษฐานพระประทาน คือ พระพุทธนฤมลธรรโมภาส และพระสาวกก็ไมไดทําเปนฐานชุกชีอยางในโบสถท่ัวไปแตทําเหมือนที่ต้ังไมกางเขนในโบสถคริสต ชองหนาตางที่เจาะไวก็เปนหนาตางโคง ที่ฝาผนังโบสถดานหนาพระประธานจะเปนภาพประดิษฐกระจกสี เปนพระบรมฉายาลักษณของรัชกาลท่ี 5 ดานขวามือของพระอุโบสถน้ัน มหี อแหง หนง่ึ คือ หอประดษิ ฐานพระคนั ธารราษฎร ซึง่ เปนพระพุทธรูปยืนปางขอฝน ตรงขามกับหอพระคันธารราษฎร เปน หอประดษิ ฐานพระพุทธศิลาเกาแกปางนาคปรก อันเปนพระพุทธรูปสมัยลพบุรีฝมือชางขอมอายุเกาแกนับพันป พระนาคปรกนี้อยูติดกับตนพระศรีมหาโพธิ์ใหญ ที่แผกิ่งไปท่ัวบริเวณหนาพระอโุ บสถ ถัดไปอีกไมไกลนกั เปนหมูศลิ าชนิดตางๆ ที่มีในประเทศไทย เปนที่บรรจุอัฐิเจาจอมมารดาชุมพระสนมเอกในรัชกาลท่ี 4 เจาจอมมารดาของสมเดจ็ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ และราชสกลุ ดศิ กุล เมื่อเขาชมพระราชวังบางปะอินแลว สามารถขามไปชมวัดนิเวศธรรมประวัติได โดยกระเชาสําหรับสงผโู ดยสารประมาณคร้งั ละ 6-8 คน คาโดยสารแลวแตบ ริจาค วดั นเิ วศธรรมประวตั ิ ราชวรวหิ าร หมู 12 ตําบลบานเลน อาํ เภอบางปะอิน พระนครศรีอยธุ ยา 13160 รายงานประจําป 2557 40

6. วัดชุมพลนิกายาราม ราชวรวิหาร วดั ชุมพลนิกายาราม ราชวรวิหาร อ.บางปะอิน วัดชุมพลนิกายยาราม เปนวัดท่ีผูคนมักผานไปมา แตไมคอยไดแวะเขาไปเยี่ยมชม ทั้งท่ีมี บรรยากาศงดงามเนื่องจากอยูติดกับแมน้ําเจาพระยา วัดชุมพลนิกายารามเปนพระอารามหลวงช้ันโท ชนิด วรวิหารตัง้ อยทู ต่ี าํ บลบานเลน อาํ เภอบางปะอนิ จงั หวัดอยธุ ยาอยใู กลพ ระราชวงั บางปะอินนิดเดียว และติดกับ แมน ํา้ เจาพระยาทาํ ใหท ศั นียภาพของวัดนา ชมมากทเี ดยี วพระอโุ บสถวัดชุมพลนิกายาราม เจดียทรงยอมมุมไมสบิ สอง เอกลกั ษณอ ีกประการหนง่ึ ของศลิ ปะสมัยอยุธยา ตามประวตั ิของวัดวากันวา สรา งตง้ั แตส มยั พระเจาปราสาททองราว พ.ศ.2175 ในท่ีที่เชื่อกันวาเปน บานเดิมของพระราชชนนีของพระองค หรืออีกนัยหนึ่งช่ือของวัด “ชุมพล” หรือ “ประชุมพล” ก็อาจเปนสถานทที่ ่ใี ชชนุ นมุ ไพรพ ลเพ่ือการออกรบกเ็ ปนได ในสมัยตน รตั นโกสนิ ทรว ัดชุมพลฯ นี้ไดรับการปฏิสังขรณคร้ังใหญอยางนอยจํานวน 2 คร้ัง คือในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ภายในบรเิ วณวัดมีสถาปตยกรรมทน่ี า ศึกษาหลายอยาง ตัวอยา งเชน เจดยี ทรงยอ มมมุ ไมสบิ สอง ที่เราคอ นขา งคนุ ช่อื แตไ มอ าจไมเคยเหน็ จริงๆ วา รูปรา งหนา ตาเปนอยา งไร วากนั วาเจดยี ทวี่ ัดน้เี ปนตนแบบของเจดียทรงยอ มมุ ไมสิบสอง ท่ีหนาพระอุโบสถมีพระพุทธรูปประดิษฐานในกรอบซุมทรงพระมหาปราสาท ซ่ึงระบุใตประตมิ ากรรมวา เปนศรีอาริยเมตไตร มีลกั ษณะเปน พระพุทธรูปทรงเคร่อื ง เขา ใจวาไดรับการสรา งขนึ้ ในสมัยรชั กาลท่ี 4 ดา นในพระอโุ บสถมีพระประธานเปน พระพทุ ธเจา 7 พระองค องคกลางที่ใหญท่สี ดุ คอื พระวปิ ส สีพระพุทธเจา อีก 6 องค เปนพระอดีตพุทธเจา นับเปนคติการประดิษฐานพระประธานที่แปลกอยูไมนอยดานหลงั พระประธานองคใหญเ ปนประติมากรรมภิกษณุ ี สังเกตไดจ ากการครองจวี รมิดชดิ ซ่งึ หาดูไดย าก นอกจากนยี้ ังมีงานจิตรกรรมฝาผนังพุทธประวัติที่นาสนใจอีกมาก ที่บานประตูยังมีงานเขียนเครือ่ งบูชาอยา งจีนท่ีงดงาม แทนทีท่ วารบาลท่เี ปน ที่นยิ มกนั มากอนหนา รายงานประจําป 2557 41

พระศรอี ารยิ เมตไตร พระประธานทั้ง 7 องค บนฐานชุกชีในพระอโุ บสถวดั ชมุ พลฯจติ รกรรมเครอื่ งบูชาอยางจนี ทีบ่ านประตพู ระอุโบสถ รายงานประจําป 2557 42

7. วดั ไชยวัฒนาราม วัดไชยวัฒนาราม ต้ังอยูที่ ต.บานปอม อ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งก็ต้ังอยูริม แมน้ําเจาพระยาทางฝงตะวันตกของเกาะเมือง วัดไชยวัฒนาราม เปนวัดหน่ึง ที่มีสถาปตยกรรมการกอสรางไมเหมือนวัดอื่นๆ ในอยธุ ยา และเนอื่ งจากกรมศลิ ปากรไดด ําเนินการบรู ณะตลอดมาจนปจจุบนั นักทองเท่ียวยงั คงมองเห็นเคาแหงความสวยงามยงิ่ ใหญตระการตา ซึง่ ผไู ปเยือนไมควรพลาด วัดไชยวัฒนารามสรางบนพื้นที่ 160 เมตรยาว 310 เมตร โดยหันหนาไปทางทิศตะวันออกก ล า วไ ด ว า วั ด น้ี ตั้ ง ต ร ง กั บ ทิ ศ ท า ง ค ติ นิ ย ม ใ น ก า ร ส ร า ง วั ด ที่ ป ฏิ บั ติ เ ป น ป ร ะ เ พ ณี สื บ กั น ม านอกจากน้ียังสอดคลองกับเหตุการณในพุทธประวัติที่กลาววา พระโพธิสัตวทรงประทับภายใตตนพระศรีมหาโพธิ หันพระพักตรไปทางทิศตะวันออกสูแมนํ้าเนรัญชรา ทรงบําเพ็ญสมาธิจนบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ พระพุทธรูปซ่ึงเปนหลักของวัด ก็สรางแทนองคประพุทธเจาคือพระประธานในพระอุโบสถเปนพระพุทธรูปปางสมาธิ ซึ่งเปนปางที่แสดงเหตุการณตอนพระพทุ ธองคต รสั รู ประวตั ิ วัดไชยวัฒนารามบางครงั้ เรยี กวา “วดั ไชยยาราม” และ “วัดไชยชนะทาราม” เปนพระอารามหลวง ในสมัยอยุธยา ซึง่ เปน วัดทสี่ มเดจ็ พระเจาปราสาททอง โปรดใหสถาปนาขนึ้ เปน วดั อรญั วาศรี ณ บรเิ วณทด่ี ิน ซงึ่ เปน นวิ าสสถานของพระราชชนนีในปท่ีข้นึ ครองราชย คือปมะเมีย พ.ศ.2173 สนั นิษฐานวาเปนวัดประจํารัชกาลดว ย ต อ ม า ใ น รั ช ส มั ย ข อ ง พ ร ะ เ จ า อ ยู หั ว บ ร ม โ ก ศ ไ ด ใ ช วั ด นี้ ใ น ฐ า น ะ เ ป น วั ด ฝ า ย อ รั ญ ว า สีสําหรับพระราชทานเพลงิ ศพของพระราชวงศและขนุ นางผูสูงศักดิ์ ในป พ.ศ.2299 กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เจาฟาธรรมธเิ บศร (เจา ฟา กุง)กวเี อกสมยั อยุธยาตอนปลาย ไดถ กู กลาวโทษวา เสด็จเขามาทาํ ชกู ับเจา ฟาสังวาลยในพระราชวังหลายคร้ัง สืบสวนไดความเปนสัตยจริง จึงลงพระราชอาญาเฆี่ยนท้ังสองพระองคจนดบั สญู แลวนําศพไปฝง ไว ณ วดั ไชยวฒั นารามท้ังสองพระองค รายงานประจําป 2557 43

จุดนา สนใจ ปรางคประธาน ตั้งอยูบริเวณตรงกลางของพ้ืนท่ี ฐานประทักษิณ ซึ่งฐานประทักษิณไดยกสงู ขนึ้ มา จากพื้น 1.5 เมตร มีลักษณะเปนปรางค จัตุรมุข(มีมุขย่ืนออกมาทั้ง4ดาน) ในสวนของมุขดานต ะ วั น อ อ ก จ ะ เ จ า ะ มุ ข ท ะ ลุ เ ข า สู เ รื อ น ธ า ตุ ซ่ึ ง ภ า ย ใ น จ ะ ป ร ะ ดิ ษ ฐ า นพระพุ ทธรุ ปนั่ ง ( ปจ จุ บัน ไมพ บแ ล ว) ย อ ดขอ งอ งคป รา งค ทํา เป น รัด ป ระ คด ซ อน กัน 7 ชั้นแ ต ล ะ ชั้ น เ ป น ล วด ล า ย ใ บ ข นุ น ก ลี บ ขนุ น ส ว น บ น สุ ด เ ป น ท ร ง ด อ ก บั วตู ม ป ร า ง คแ บ บ น้ีมี ลั ก ษณ ะ เ ห มื อ น ป ร า ง ค ใ น ส มั ย อ ยุ ธย า ต อ น ต น ซึ่ ง วัด ไช ย วัฒ น า ร า ม น้ั น ส ร า ง ใ น ส มั ยอยุ ธยา ต อ นก ล า ง จึ ง อา จ ก ลา วไดวา เ ปน ก า รนํ า เอ า พ ระ ป ร าง คท่ี นิย ม ส รา ง ใ นส มั ย อยุ ธย าตอนตนมากอ สรา งอกี ครงั้ หนง่ึ-ปรางคป ระธาน วดั ไชยวัฒนาราม- ปรางคบริวาร คือปรางคองคเ ล็กลงมาที่อยูรายลอ ม ปรางคประธาน มที ้งั หมด 4 องคลกั ษณะจะเพรยี วกวา ปรางคป ระธาน เมรุ คืออาคารทรงยอด แหลมท่ีอยูรายรอบระเบียงคด ทั้ง 8 ทิศ ภายในคูหาจะประดิษฐานพระพุท ธรูปท รงเครื่อง ปางม ารวิชัย เอ าไวที่ เมรุทิศ เมรุ ละ 1 องค เมรุ มุม เ มรุละ 2อง คภายในคหู า มีภาพจติ รกรรมฝาผนัง หลงเหลอื รองรอยอยเู ลก็ นอ ย ระเบยี งคด คือสวนท่ีเชื่อมตอ ระหวางเมรุแตละเมรุเอาไว โดยรอบฐานประทักษิณ ซึ่งแตเดิมจะมีหลังคารอบๆ ท่ีบริเวณระเบียงคดน้ี จะมีพระพุทธรูป ปางมารวิชัยประดิษฐานอยู รวมทั้งหมด 120 องคแกนในทําจากไม พอกปูนทีละช้ันจนไดสัดสวนสวนนิ้ว ใชโลหะสําริด ดัดข้ึนรูป ปจจุบันเหลือท่ียังมีพระเศียรอยู 2 องค พระอุโบสถ อยูทางดานทิศตะวันออกนอก ระเบียงคด มีซากพระประธานปางสมาธิประดษิ ฐานอยบู นฐานชุกชี สภาพปจ จุบันเหลอื เพียงฐานเสาอโุ บสถ และรอยฐานเสมา-ซากพระประธานปางสมาธปิ ระดษิ ฐานอยบู นฐานชกุ ช-ีภาพปูนปน อยบู ริเวณดานนอกของเมรุทั้ง 8 องค จะเปนภาพเก่ียวกับพทุ ธประวัติ รายงานประจําป 2557 44

การเดินทาง - ทางเรอื ทานอาจเชาเหมาเรือหางยาวจากบรเิ วณหลังลานจอดรถฝง ตรงขา มพระราชวงั จันทรเกษม ดานตะวันออกของเกาะเมือง ลองไปตามลํานํ้าปาสักลงไปทางใตผานวิทยาลัยการตอเรือพระนครศรีอยธุ ยา วดั พนญั เชิงวรวหิ าร วัดพุทไธศวรรย โบสถโปรตุเกส วัดไชยวัฒนาราม วัดกษัตราธิราชวรวิหารและเจดยี พระศรีสรุ โิ ยทยั - ทางรถยนต สามารถใชเสนทางเดียวกับวดั กษตั ราธิราช แตพ อขามสะพานวดั กษัตราธิราชไปแลวใหเ ล้ยี วขวาแลวตรงไปเร่อื ยๆ กจ็ ะเห็นวดั ไชยวัฒนารามตั้งเดนเปน สงา อยทู างดา นหนา - เปด ใหเ ขา ชมทุกวันตง้ั แตเ วลา 08.30–16.30 น. - คา เขาชม ชาวไทย10 บาท ชาวตางประเทศ 30 บาท หรอื สามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย60 บาท ชาวตา งประเทศ 180 บาทโดยบตั รนส้ี ามารถเขาชมวดั และพิพิธภัณฑตา งๆ ในจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาไดภายในระยะเวลา 30 วนั อนั ไดแกวดั พระศรสี รรเพชญแ ละพระราชวังหลวง วดั มหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วดั ไชยวฒั นารามพิพธิ ภณั ฑสถานแหง ชาติ เจาสามพระยาและพพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม*** หมายเหตุ ต้งั แตเวลาประมาณ 19.30น.- 21.00น. จะมกี ารสองไฟชมโบราณสถาน รายงานประจําป 2557 45

8. พระราชานสุ าวรยี สมเด็จพระศรสี รุ โิ ยทัย (ทงุ มะขามหยอง) รายงานประจาํ ป 2557 46

พระราชานุสาวรยี สมเด็จพระศรีสุริโยทัย ต้ังอยูภายในอาณาเขตของทุงมะขามหยอง ตําบลบานใหมอําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนสถานท่ีที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร เนื่องจากสมัยอยุธยาเคยถูกใชเปนสมรภูมิสูรบระหวางไทยกับพมาหลายคร้ัง และเปนบริเวณที่สมเด็จพระศรีสุริโยทัยสน้ิ พระชนมบนคอชา ง นอกจากนท้ี งุ มะขามหยอ ง ยังมคี วามสาํ คญั คือ เปน พื้นที่ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใชเปน อางเก็บนาํ้ (แกม ลิง) ซึ่งมีความจนุ ํ้าไดถึง 2,100,000 ลูกบาศกเ มตร จํานวน 180 ไรแกไขปญหานํ้าทวมในฤดูน้ําหลาก และในฤดูแลงจะนํานํ้าท่ีกักเก็บไวใหเกษตรกรไดใชในการเพาะปลูก เพ่ือพสกนิกรชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้งน้ีในวันท่ี 25 พฤษภาคม 2555 ท่ีผานมา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯสมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปยังพระราชานุสาวรยี ส มเดจ็ พระสรุ ิโยทยั ณทุงมะขามหยอ ง เพื่อทรงพกั ผอ นพระอิริยาบถ ทรงสักการะพระราชานสุ าวรียสมเดจ็พระศรสี ุรโิ ยทยั ติดตามโครงการตามแนวพระราชดําริ และทอดพระเนตรการแสดงตางๆ ทามกลางพสกนิกรจากทั่วทุกสารทิศที่เดินทางมาเฝารับเสด็จฯ ในปจจุบันน้ี ทุงมะขามหยองและพระราชานุสาวรียสมเด็จพระศรีสุริโยทัย ไดมีการปรับปรุงภูมิทัศน และเรียกไดวา เปนแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรท่ีสําคัญแหงหนงึ่ ของพระนครศรีอยุธยา รายงานประจําป 2557 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook