Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Report2016

Report2016

Published by Nuch_Phuhoy, 2018-06-18 05:11:25

Description: Report2016

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ รายงานประจําป 2558 นี้ จัดทําขึ้นเพ่ือเผยแพรผ ลการปฏบิ ตั งิ านของสาํ นกั งานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา ในรอบปงบประมาณ 2558 โดยรวบรวมเกี่ยวกับนโยบาย หนาท่ีความรับผดิ ชอบ อตั รากําลัง งบประมาณ และการปฏิบัตงิ านของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยาตลอดจนขอมูลทั่วไป รวมถึงสถิติทางการเงินและขอมูลตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับผลการดําเนินงาน ฐานะทางการเงินของสหกรณและกลุมเกษตรกร ในจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา เพือ่ ใหบคุ คลภายนอกไดทราบถึงภารกิจหนาท่ีของสํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณพระนครศรีอยธุ ยา และสภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสหกรณและกลมุ เกษตรกร คณะผจู ัดทําหวังเปน อยางยิ่งวา รายงานประจําปฉบับน้ีจะอํานวยประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของ และบคุ คลที่ทส่ี นใจตามสมควร สํานกั งานตรวจบญั ชสี หกรณพระนครศรีอยธุ ยา กรมตรวจบญั ชีสหกรณ มีนาคม 2559

สารบญั หนาประวตั สิ าํ นักงาน............................................................................................................ 1ผังแสดงทต่ี ง้ั สาํ นักงานตรวจบญั ชีสหกรณพระนครศรีอยธุ ยา.........................................2วสิ ัยทัศน พันธกจิ .......................................................................................................... 3ภารกจิ ยุทธศาสตร คานยิ ม........................................................................................ 4ผังโครงสรา งการบริหารกรมตรวจบญั ชสี หกรณ............................................................. 5ผังโครงสรา งสาํ นักงานตรวจบญั ชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา........................................ 6ประเภทสหกรณ/กลุมเกษตรกรทต่ี อ งตรวจสอบ........................................................... 7สภาพของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร................................................................................. 8-10สรุปผลการวิเคราะหเศรษฐกิจทางการเงินของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร......................... 11-14ขอบกพรอ งทางการเงนิ การบัญช.ี .................................................................................. 14-15แผน/ผลการปฏิบัติงาน ป 2558.................................................................................. 16งบประมาณ................................................................................................................... 17ประมวลภาพกจิ กรรม................................................................................................... 18-24อัตรากําลงั (ปจ จบุ ัน).................................................................................................... 25ภาคผนวก..................................................................................................................... 26-45  สัญลักษณ คาํ ขวัญ ตน ไม ดอกไม ประจาํ จังหวดั  สถานท่ีทองเทีย่ วจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ประวตั สิ าํ นกั งาน สาํ นกั งานตรวจบัญชสี หกรณพ ระนครศรีอยธุ ยา ไดจดั ตง้ั เมอื่ ป 2526 เลขท่ี ข 5/21 ถนนปรีดพี นมยงคตําบลหอรัตนไชย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 13000 เปน หนว ยงานราชการสวนกลางที่ตั้งอยูในภูมิภาคอยูในการกํากับดูแลของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณท่ี 1 สังกัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ ตามนโยบายการกระจายงานจากสวนกลางไปสูสวนภูมิภาค เน่ืองจากปริมาณงานท่ีเพ่ิมข้ึนท้ังดานจํานวนสหกรณกลุมเกษตรกร และการดําเนินธุรกิจ เพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดผลสัมฤทธิ์ตอบสนองพันธกิจและวิสัยทัศนของกรมตรวจบัญชีสหกรณ รายงานประจาํ ป 2558 1

สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณพ ระนครศรอี ยธุ ยา เลขที่ ข.๕/๒๑ ถ.ปรีดพี นมยงค ต.หอรตั นไชย อ.พระนครศรีอยธุ ยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 E-mail [email protected] โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๒๒๑๒, ๐๓๕-๓๒๒๒๗๖ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๒๒๑๒ รายงานประจําป 2558 2

วสิ ยั ทศั น “ พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การดา นการเงนิ การบัญชีของสหกรณแ ละสถาบนั เกษตรกรใหเขม แขง็โปรงใส กาวไกลดว ยไอที นําบญั ชสี ูเ กษตรกร ”พนั ธกจิ 1. ตรวจสอบบัญชสี หกรณแ ละกลมุ เกษตรกร 2. พัฒนาระบบบัญชแี ละการสอบบญั ชใี หเ ปนไปตามมาตรฐานและสอดคลอ งกับการดําเนินธุรกิจของสหกรณแ ละกลุม เกษตรกร 3. พฒั นาระบบการกาํ กับดแู ลผูสอบบัญชีและสหกรณที่สอบบญั ชีโดยผสู อบบญั ชีภาคเอกชน 4. พัฒนาระบบการตรวจสอบกิจการและสมรรถนะของผูตรวจสอบกิจการ 5. ใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ และพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การดา นการเงนิ การบัญชีแกคณะกรรมการ และฝา ยจัดการของสหกรณและกลุมเกษตรกร 6. พฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและรายงานภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสหกรณและกลมุ เกษตรกร 7. เสริมสรางความรูและสงเสริมการจัดทําบัญชีแกสมาชิกสหกรณ กลุมเกษตรกร/กลุมอาชีพ วิสาหกิจชุมชนกลมุ เปา หมายตามโครงการพระราชดําริ เกษตรกรและประชาชนกลมุ เปาหมาย รายงานประจาํ ป 2558 3

ภารกจิ ตามกฎหมาย 1. ดาํ เนินการตรวจสอบบัญชสี หกรณและกลมุ เกษตรกรตามกฎหมายวา ดวยสหกรณ และกฎหมายอืน่ท่เี ก่ยี วของ 2. กาํ หนดระบบบัญชแี ละมาตรฐานการสอบบัญชีใหเ หมาะสมกบั ธรุ กจิ ของสหกรณและกลมุ เกษตรกร 3. ใหค ําปรึกษาแนะนาํ และใหค วามรูด านการบรหิ ารการเงนิ และการบญั ชีแกค ณะกรรมการและสมาชิกของสหกรณกลุมเกษตรกรและบคุ ลากรเครอื ขา ย 4. ถายทอดความรแู ละสง เสรมิ การจดั ทาํ บญั ชีใหแกส หกรณ กลมุ เกษตรกร กลุมอาชีพ วิสาหกิจชุมชนกลมุ เปา หมายตามโครงการพระราชดําริ เกษตรกร และประชาชนทว่ั ไป 5. กาํ กับดแู ลการสอบบญั ชสี หกรณโดยผสู อบบญั ชภี าคเอกชน 6. จัดทํารายงานภาวะเศรษฐกิจของสหกรณแ ละกลุม เกษตรกร เพ่อื เปนพ้ืนฐานในการกาํ หนดนโยบาย และวางแผนพฒั นาสหกรณและกลมุ เกษตรกร 7. ปฏบิ ตั กิ ารอื่นใดทก่ี ฎหมายกาํ หนดใหเปน อาํ นาจหนา ทขี่ องกรมตรวจบญั ชีสหกรณ หรือตามท่ีกระทรวงหรอื คณะรัฐมนตรีมอบหมายยทุ ธศาสตร 1. พฒั นาประสทิ ธิภาพการตรวจสอบบญั ชีสหกรณและกลมุ เกษตรกร 2. สงเสรมิ และพัฒนาการบริหารจัดการดานการเงินการบัญชีและการตรวจสอบกิจการของสหกรณและกลุม เกษตรกร 3. พฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการบริหารจัดการองคกร 4. เสรมิ สรา งองคค วามรู และขีดความสามารถในการจดั ทาํ บัญชแี ก วิสาหกจิ ชุมชน เกษตรกร เยาวชนและประชาชนกลุมเปาหมายคานยิ มหลกั “ มจี ิตมุงบริการ (Service Mind) งานสัมฤทธผ์ิ ลและมคี ุณภาพ (Quality and Result Orientation) ยึดมน่ั ในส่ิงทีถ่ กู ตอ ง (Moral Courage) ” รายงานประจําป 2558 4

ผงั โครงสรา งการบรหิ าร สาํ นักงานตรวจบญั ชีสหกรณท ี่ 1สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ สํานักงานตรวจบญั ชสี หกรณ สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ พระนครศรอี ยธุ ยา กาญจนบรุ ี อา งทองสํานกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ สาํ นกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ สาํ นักงานตรวจบญั ชสี หกรณ สุพรรณบุรี นนทบรุ ี ปทมุ ธานี สระบรุ ีสาํ นกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ สํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณ สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ สิงหบ รุ ี ลพบรุ ี ชยั นาท อทุ ยั ธานี รายงานประจาํ ป 2558 5

ผังโครงสรา ง สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณพระนครศรอี ยธุ ยา หัวหนา สํานักงาน (นักวิชาการตรวจสอบบญั ชชี ํานาญการพเิ ศษ)ขา ราชการ พนกั งานราชการ ลกู จา งประจาํ จา งเหมาบรกิ าร(8) (12) (1) (10)นกั วชิ าการตรวจสอบบญั ชชี าํ นาญการพิเศษ (1) นกั วชิ าการตรวจสอบบญั ชี (11) พนกั งานขบั รถยนต (1) เจา หนา ทบ่ี นั ทกึ ขอ มลู (1) เจา หนา ทธี่ รุ การ (2)นกั วชิ าการตรวจสอบบญั ชชี าํ นาญการ (6) เจา หนา ทร่ี ะบบงานคอมพวิ เตอร (1)นกั วชิ าการตรวจสอบบญั ชปี ฏบิ ตั กิ าร (1) เจา หนา ทโ่ี ครงการวสิ าหกจิ ชมุ ชน (1) เจา หนา ทโี่ ครงการพฒั นาภมู ปิ ญ ญา/เกษตรกรปราชเปรอ่ื ง (1) พนกั งานขบั รถยนต (3) ยามรกั ษาการณ (1) แมบ า น (1) อตั รากําลัง ขา้ ราชการ พนกั งานราชการ ลกู จา้ งประจาํ จา้ งเหมาบริการ รายงานประจาํ ป 2558 6

ประเภทสหกรณ/กลมุ เกษตรกรทต่ี อ งตรวจสอบ ปง บประมาณ 2558 สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร 156 แหงการเกษตร นคิ ม รา นคา27 แหง 1 แหง 2 แหง บรกิ าร ออมทรพั ย 24 แหง 12 แหง เครดติ ยเู นย่ี น 4 แหง กลมุ เกษตรกร 86 แหง รายงานประจาํ ป 2558 7

ภาพรวมสภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ปรมิ าณธรุ กจิ หนว ย : บาท ปรมิ าณธรุ กจิ ประเภท รวม % สหกรณ รับฝากเงนิ ใหเ งนิ กู จดั หาสนิ คา มา รวบรวมผลผลติ แปรรปู ผลติ ผล ใหบ รกิ ารการเกษตร จาํ หนา ยนคิ ม 269,369,163.17 375,103,977.31 163,825,298.75 37,148,024.90 5,994,216.69 1,477,398,231.47 11.54รา นคา 3,555.90 1,771,181.20 625,957,550.65 0.00 0.00 533,685.00 2,308,422.10 0.02บรกิ าร 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.22ออมทรพั ย 8,933.59 23,790,517.00 0.00 0.00 47,070.00 156,832,814.06 0.19เครดติ ยเู นย่ี น 156,832,814.06 0.00 0.00 0.00 24,493,377.59 86.26กลมุ เกษตรกร 1,815,792,879.76 9,226,746,726.50 646,857.00 0.00 0.00 0.00 11,042,539,606.26 0.47รวมทงั้ สน้ิ 3,950,737.49 56,278,750.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.30 2,560.86 37,070,549.00 105,282.00 60,334,769.49 100 163,825,298.75 37,148,024.90 6,574,971.69 38,869,544.86 2,089,127,830.77 9,720,761,701.01 1,796,435.00 2,802,776,765.70 785,338,938.71% 16.32 75.93 6.13 1.28 0.29 0.05 100.00 ปรมิ าณการดาํ เนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร* จาํ นวน 70 สหกรณ 86 กลมุ ฯ สมาชิก 77,254 คน หนวย : ลา นบาท 60.33 1,537.73 2.31 156.83 24.49 11,042.54 การเกษตร นคิ ม บรกิ าร รา นคา ออมทรพั ย เครดติ ยเู นี่ยน รายงานประจาํ ป 2558 8

ผลการดาํ เนนิ งานประเภทสหกรณ จํานวน จํานวนสมาชิก รายได คา ใชจ าย หนว ย:บาท สหกรณ/ กลมุ (คน) กําไร(ขาดทนุ )สทุ ธิการเกษตรนคิ ม (แหง ) 49,177 923,879,080.87 933,862,564.64 (9,983,483.77)รา นคา 27บรกิ าร 316 1,106,164.22 1,032,055.14 74,109.08ออมทรพั ย 1เครดติ ยเู นย่ี น 3,725 157,013,502.88 157,193,666.97 (180,164.09)กลมุ เกษตรกร 2รวมทง้ั ส้ิน 2,141 7,738,326.07 7,944,812.23 (206,486.16) 24 16,045 528,839,579.49 189,027,111.55 339,812,467.94 12 1,564 4,979,434.27 1,073,374.97 3,906,059.30 4 4,286 3,607,856.91 2,352,876.12 1,254,980.79 86 77,254 1,627,163,944.71 1,292,486,461.62 334,677,483.09 156 กาํ ไรตอ สมาชกิ : 4,332.17 เงนิ ออมตอ สมาชกิ : 87,233.82 หนส้ี นิ ตอ สมาชกิ : 62,691.42 รายงานประจาํ ป 2558 9

ฐานะการเงนิประเภทสหกรณ สนิ ทรพั ย หนส้ี นิ และทนุ หนว ย:บาท หนส้ี นิ ทนุ แหลง เงนิ ทนุการเกษตร 1,713,699,722.60นคิ ม 33,640,489.78 ภายใน ภายนอกรา นคา 3,000,641.81บรกิ าร 135,817,949.24 1,241,333,859.57 484,981,868.51 1,353,234,137.40 357,262,652.83ออมทรพั ยเครดติ ยเู นยี่ น 8,940,312,094.22 1,044,094.98 32,096,394.80 33,067,580.70 -กลมุ เกษตรกร 61,494,900.79 39,598,622.74 509,638.71 2,491,003.10 2,877,015.37 123,626.44 90,460,993.00 45,356,956.24 67,220,881.65 58,645,168.65 3,490,935,158.04 5,449,376,936.18 1,143,402,436.76 1,641,950,814.22 1,846,120.47 59,648,780.32 59,973,520.13 23,381.05 17,032,715.74 22,565,907.00 23,356,849.01 15,388,870.84รวมทง้ั สิ้น 12,041,040,481.10 5,703,881,642.53 6,337,158,838.67 2,683,132,421.02 2,073,394,514.03% 100 47.37 52.63 56.41 43.59 แสดงสดั สว นภายในและภายนอก 1 แหลง เงินทุนภายใน แหลงเงนิ ทุนภายนอก 2 แหลงเงินทนุ ภายนอก รายงานประจาํ ป 2558 10

สรปุ ผลการวเิ คราะหภ าวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรดว ยโปรแกรมระบบเฝา ระวงั และเตอื นภยั ทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุเกษตรกร : CFSAWS : ssสหกรณการเกษตร ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสวนมาตรฐานทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ ายดาํ เนนิ งานตอกาํ ไร ลกู หนร้ี ะยะสน้ั ทช่ี าํ ระได ทนุ สาํ รองตอสนิ ทรพั ย (กอนหกั คา ใชจา ยดําเนินงาน) ตามกาํ หนดสหกรณนิคม ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสวนมาตรฐานทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ ายดาํ เนนิ งานตอกาํ ไร ลูกหนรี้ ะยะส้นั ทช่ี ําระได ทนุ สาํ รองตอสนิ ทรพั ย (กอ นหกั คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งาน) ตามกําหนด รายงานประจาํ ป 2558 11

สหกรณรานคา ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสวนมาตรฐานทางการเงินของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ ายดาํ เนนิ งานตอกําไร ลกู หนรี้ ะยะส้ันทชี่ ําระได ทนุ สาํ รองตอ สนิ ทรพั ย (กอ นหกั คาใชจา ยดําเนนิ งาน) ตามกําหนดสหกรณบริการ ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสว นมาตรฐานทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งานตอกําไร ลูกหนร้ี ะยะส้นั ทช่ี าํ ระได ทนุ สาํ รองตอ สนิ ทรพั ย (กอนหกั คา ใชจา ยดาํ เนินงาน) ตามกาํ หนดสหกรณออมทรัพย ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสว นมาตรฐานทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งานตอ กาํ ไร ลกู หนร้ี ะยะสนั้ ทช่ี าํ ระได ทนุ สาํ รองตอ สนิ ทรพั ย (กอ นหกั คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งาน) ตามกาํ หนด รายงานประจําป 2558 12

สหกรณเครดติ ยเู น่ียน ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสว นมาตรฐานทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งานตอ กาํ ไร ลกู หนร้ี ะยะสนั้ ทช่ี าํ ระได ทนุ สาํ รองตอ สนิ ทรพั ย (กอ นหกั คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งาน) ตามกาํ หนดกลุมเกษตรกร ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสวนมาตรฐานทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งานตอ กาํ ไร ลกู หนร้ี ะยะสนั้ ทช่ี าํ ระได ทนุ สาํ รองตอ สนิ ทรพั ย (กอ นหกั คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งาน) ตามกาํ หนดทุกประเภทสหกรณ/กลมุ เกษตรกร ระดบั เทยี บเคยี งกบั อตั ราสว นมาตรฐานทางการเงินของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งานตอ กาํ ไร ลกู หนร้ี ะยะสน้ั ทช่ี าํ ระได ทนุ สาํ รองตอ สนิ ทรพั ย (กอ นหกั คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งาน) ตามกาํ หนด รายงานประจาํ ป 2558 13

ผลการเทียบเคียงการดําเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร รวม 7 ประเภท ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยากบั อัตราสวนมาตรฐานทางการเงนิ ของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร ใน 3 อัตราสวน เพ่ือเฝา ระวังเตือนภัยทางการเงนิ ปรากฏผลการประเมนิ ในดานคาใชจ า ยดาํ เนนิ งาน ตอ กําไรกอนหักคาใชจายดําเนินงานอยูในระดับตองปรับปรุง แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการบริหารคาใชจายดําเนินงาน ซ่ึงเปรียบเสมือนคาใชจายคงท่ี หากรายไดม คี วามผนั ผวนสงู และผบู รหิ ารไมส ามารถควบคุมคาใชจายดําเนินงานใหอยูใ นระดับท่ีเหมาะสมกับรายได ก็อาจประสบผลขาดทุนหรือกําไรลดลง ซึ่งอาจจะสงผลตอเสถียรภาพการเงนิ ตามมาได ดา นลกู หนรี้ ะยะสนั้ ทช่ี าํ ระไดต ามกาํ หนด รอยละ 99.89 อยใู นระดบั ดี แสดงถึงความสามารถในการเรยี กเกบ็ หน้ีจากลูกหนีไ้ ดในอัตราสงู จะสง ผลตอสภาพคลองทางการเงนิ ดตี อ การดําเนนิ งาน และมีความเพียงพอตอ ความตองการใชเงนิ ไปขยายธุรกิจใหเ ติบโตขึน้ และสามรถชาํ ระหนเี้ จา หนไ้ี ดตามกาํ หนด ดานทนุ สาํ รองตอ สนิ ทรพั ย อยใู นระดบั ตองปรบั ปรุง แสดงถึงทนุ สาํ รองไมส มารถชดเชยสินทรพั ยท่ีไมกอ ใหเกดิ รายไดจงึ มผี ลกระทบกบั ทนุ แสดงถงึ ความมนั่ คงทางการเงนิ ของทุนสํารองไมเ พียงพอตอ การรองรับสภาวการณท างธุรกจิ ขอ บกพรอ งทางการเงนิ การบญั ชี ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2558 ยอดยกมาตน ป เพมิ่ ขนึ้ (สะสม) ลดลง (สะสม) ยอดคงเหลอื จํานวน จํานวนประเภทสหกรณ จํานวน จํานวน สหกรณ/ จาํ นวนเงนิ สหกรณ/ จํานวนเงนิ กลมุ ฯ กลมุ ฯกลมุ เกษตรกร สหกรณ/ จาํ นวนเงนิ สหกรณ/ จาํ นวนเงนิ -- 5 11,652,931.64 กลมุ ฯ กลมุ ฯ -- 1 2,019,744.82 -- 2 960,014.67สหกรณการเกษตร 5 11,652,931.64 - - -- 1 1,707,616.50 -- 9 16,340,307.63สหกรณรา นคา 1 2,019,744.82 - - -- --สหกรณบ รกิ าร 2 960,014.67 - -สหกรณออมทรัพย 1 1,707,616.50 - -รวมสหกรณ 9 16,340,307.63 - -กลมุ เกษตรกร - - --รวมทง้ั ส้นิ 9 16,340,307.63 - - - - 9 16,340,307.63 ายงานประจาํ ป 2558 14

รายละเอยี ดขอ บกพรอ งทางการเงนิ การบญั ชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 ประเภท ลูกหนต้ี าม เงินสดขาดบัญชี สนิ คา ขาดบญั ชี การปฏเิ สธหนี้ รวมทง้ั สิ้น ชื่อสหกรณ / กลุม เกษตรกร คาํ พพิ ากษา (บาท) (บาท) (ลูกหน/้ี เจา หน/ี้ เงินรบั ฝาก/หนุ ) 960,902.12สหกรณก ารเกษตร (บาท) 8,016,156.071. สกก. ผักไห จก. 2,145,334.452. ชสก. จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา จก. 960,902.123. สกก. ปฏริ ปู ท่ีดนิ ลาดบัวหลวง จก. 6,213,081.07 1,803,075.00 9,920.004. สก. ผูใชนาํ้ ปฏิรูปทดี่ นิ ลาดบวั หลวง จก. 520,619.005. สกก.อุทยั จก. 1,013,500.00 1,019,282.07 112,552.38 9,920.00 11,652,931.64 รวมสหกรณร านคา 520,619.00 2,019,744.821. รานสหกรณอ ยุธยา จาํ กัด 1,974,402.12 7,762,902.14 1,915,627.38 2,019,744.82รวม 2,019,744.82 2,019,744.82สหกรณบ ริการ 223,028.82 669,437.40 892,466.221. สหกรณช มุ ชนเทศบาลตาํ บลทาหลวง จาํ กดั 223,028.82 67,548.45 67,548.452. สหกรณมดี อรัญญิก จํากดั 736,985.85 960,014.67 รวมสหกรณอ อมทรพั ย 1,707,616.50 7,985,930.96 2,652,613.23 1,707,616.50 1,707,616.50 7,985,930.96 2,652,613.23 1,707,616.501. สอ. พนักงาน เอ พี ซี บี อิเลคทรอนิคส จก. 5,701,763.44 16,340,307.63 5,701,763.44 16,340,307.63 รวม รวมสหกรณท ุกประเภท รายงานประจาํ ป 2558 15

แผนการปฏบิ ตั งิ านป 2558 ผลผลติ ท่ี 1 สหกรณแ ละกลมุ ผลผลติ ที่ 2 สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร เกษตรกร ไดร บั การตรวจสอบ ไดร บั การพฒั นาดา นความรดู า นบรหิ าร บญั ชี จดั การทางการเงินการบญั ชี- สอบบญั ชี - โครงการพฒั นาประสทิ ธภิ าพบรหิ ารจดั การดา น * สหกรณ 70 สหกรณ การเงนิ และการบญั ชขี องสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร * กลมุ เกษตรกร 86 กลมุ * กาํ กบั แนะนาํ 1 สหกรณ- การเขา โครงการ EWP 4 สหกรณ - โครงการเตรยี มความพรอ มแกส หกรณ/ กลมุ เกษตรกร- วางรปู บญั ชี ทต่ี ง้ั ใหม * สหกรณ 2 สหกรณ * ฝก อบรมคณะกรรมการ 1/1 สหกรณ/ กลมุ ฯ- ตดิ ตามความเคลอ่ื นไหว * สอนแนะนาํ 1 สหกรณ - โครงการ 3 ประสานเพ่ือพฒั นาการสหกรณ (WWR) * สหกรณ 2 สหกรณ * นเิ ทศ/เตอื นภยั ฯ 2 สหกรณ- งานกาํ กบั สหกรณท มี่ อบหมายใหภาคเอกชน ปฏบิ ตั ไิ ดต ามแผน 100% * สหกรณ 3 สหกรณ ผลผลติ ท่ี 3 วสิ าหกจิ ชุมชนและ เกษตรกรไดร บั การสง เสรมิ และพฒั นา ศักยภาพ - โครงการคลนิ กิ เกษตรเคลอ่ื นท่ี 4 ครง้ั - โครงการพฒั นาวสิ าหกจิ ชมุ ชน * วางรปู แบบบัญช/ี สอนแนะ 5 แหง * ตดิ ตาม/แนะนําการจัดทําบัญชี 5 แหง - โครงการพฒั นาภมู ปิ ญ ญาทางบญั ชสี ตู น ทนุ อาชพี * สอนแนะการจัดทําตน ทุนอาชพี 1,960 คน * อบรมครูบัญชี 64 คน - โครงการพฒั นาเกษตรกรปราดเปรอื่ ง (Smart Farmer) * อบรมการจัดบญั ชีและขอ มลู ในการประกอบอาชีพ 980 คน * อบรมครูบญั ชี 34 คน - โครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดาร 1 ร.ร. * กิจกรรมผลิตทางเกษตรเพอื่ อาหารกลางวนั 5 คน * กจิ กรรมฝก อบรมครูบัญชีเยาวชน 2 คน * กจิ กรรมสอนแนะการจดั ทําบญั ชีกํากบั แนะนําการ จดั ทาํ บญั ช/ี เกบ็ ขอ มูลการจดั ทําบญั ชี 69 คน - โครงการศลิ ปาชพี 1 ศนู ย 18 คน - งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ * ตดิ ตงั้ โปรแกรมระบบบัญชสี หกรณค รบวงจร 8 สหกรณ * ใช CATS ชว ยตรวจสอบ 20 สหกรณ รายงานประจาํ ป 2558 16

งบประมาณในปง บประมาณ พ.ศ.2558 สาํ นักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรอี ยุธยา ไดร ับงบประมาณเพื่อใชใ นการปฏบิ ัติงาน ดงั นี้ รายการ รบั อนมุ ตั ิ เบกิ จา ย รอ ยละแผนขจดั ความยากจนระดบั ประเทศผลผลติ ที่ 1- ตรวจสอบบญั ชีประจาํ ปส หกรณแ ละกลมุ เกษตรกรงบบคุ ลากร 2,422,977.42 2,422,977.42 100.00งบดําเนนิ งาน 2,104,300.00 2,105,801.09 100.07สาธารณปู โภค 151,100.00 149,598.91 99.01งบลงทนุ - -- รวม 4,678,377.42 4,678,377.42 100.00ผลผลติ ที่ 2- โครงการพฒั นาประสทิ ธภิ าพ 7,500.00 7,500.00 100.00- โครงการพัฒนาความรดู านการเงนิ การบัญชี 7,000.00 7,000.00 100.00- สหกรณ/ กลุมจัดต้ังใหม 7,800.00 7,800.00 100.00 รวม 22,300.00 22,300.00 300.00ผลผลติ ท่ี 3- งบบคุ ลากร 463,847.74 463,847.74 100.00 463,847.74 463,847.74 100.00- โครงการพฒั นาภูมปิ ญญาทางบัญชีสตู นทุนอาชีพ 256,536.00 265,666.00 103.56- คลินิกเกษตรเคล่อื นท่ี 38,620.00 38,620.00 100.00- โครงการพระราชดําริ - ศิลปาชพี 5,760.00 3,770.00 65.45 26,720.00 20,973.00 78.49 - สายใยรกั 20,500.00 19,707.00 96.13- โครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กันดาร 139,380.00 138,780.00 99.57- โครงการวสิ าหกิจชุมชน 487,516.00 487,516.00 100.00 2,886,825.16 2,886,825.16 100.00 รวม 6,795,141.16 6,795,141.16 100.00งบบคุ ลากร รวม รายงานประจาํ ป 2558 17

ประมวลภาพกจิ กรรม รายงานประจําป 2558 18

โครงการคลินิกเกษตรฯ เม่ือวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘ นางพิศมัย หุนตระนี หัวหนาสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรอี ยธุ ยา พรอ มดว ย บุคลากรในสังกัด รวมจัดกิจกรรมคลินิกบัญชี เทิดพระเกียรติ ในงานโครงการคลนิ ิกเกษตรเคล่ือนท่ีในพระราชานุเคราะหฯ เพื่อเทิดพระเกียรติ ระดับประเทศ เนื่องในวันคลายวันประสูติพระเจาหลานเธอพระองคเจาทีปงกรรัศมีโชติ ประจําป ๒๕๕๘ โดยนายปติพงศ พี่งบุญ ณ อยุธยารฐั มนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปน ประธานในพธิ ีเปด โครงการ และเยี่ยมชมการใหบริการคลินิกเกษตรตา ง ๆ ของหนว ยงาน พรอ มดว ยผบู รหิ ารระดบั สูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ณ วัดสิงหสุทธาวาสตําบลบานแปง อาํ เภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ในการนี้ ดร.วิณะโรจน ทรพั ยส งสขุ อธิบดีกรมตรวจบญั ชสี หกรณ ไดร ว มเปนเกยี รติในพธิ เี ปดโครงการและเยีย่ มชมกจิ กรรมตาง ๆ ภายในงานดวย รายงานประจําป 2558 19

ถวายเทยี นเขาพรรษาสาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณพ ระนครศรอี ยธุ ยา นาํ โดยนางพศิ มยั หนุ ตระนี หวั หนา สาํ นกั งานตรวจบญั ชีพระนครศรอี ยธุ ยา ไดจัดกิจกรรมถวายเทียนเขาพรรษา และของใชทจ่ี าํ เปน ในการจาํ วดั ของพระพกิ ษุสงฆ ณวัดไทรรงั ษยี  อาํ เภออุทยั จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา รายงานประจาํ ป 2558 20

กิจกรรมวนั ตนไมประจาํ ป กจิ กรรมวนั ตน ไมป ระจาํ ปข องชาติ 2558 ในวนั ที่ 16 มถิ นุ ายน 2558 รว มปลกู ตน ไมย นื ตน120 ตน ณ บรเิ วณวดั เขาดนิ อาํ เภออทุ ยั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา รายงานประจาํ ป 2558 21

จดั ทําโครงการ “ตามรอยพอ ดว ยบัญชี มเี งินออม” สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา รวมกับโรงเรียนเทศบาลวัดแมนางปล้ืม จัดทําโครงการ \"ตามรอยพอ ดวยบญั ชี มีเงินออม” เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา โดยมีกิจกรรมรวมกัน ประกอบดวยนักเรียน คุณครู และบุคลากรของ สตส.พระนครศรีอยุธยา มีกิจกรรมเคารพธงชาติเปดกรวยถวายพระพรโดยนายสมัย นาคสุวรรณ ผอู าํ นวยการโรงเรยี นเทศบาลวัดแมน างปลื้ม รว มรอ งเพลงสดดุ ีมหาราชา สอนนองทําบัญชีตนกลา และกิจกรรมพับตุกตาจากผาเช็ดหนาเพื่อความสามัคคีปรองดองและเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพอ โดยมีผูเขารวมโครงการ ทั้งส้ิน 139 คน ณ หองประชุมโรงเรียนเทศบาลวดั แมน างปล้ืม รายงานประจาํ ป 2558 22

โครงการสรา งรายไดแ ละพฒั นาการเกษตรแกช มุ ชน เพอื่ บรรเทาปญ หาภยั แลงสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา รวมกับ สํานักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และสํานักงานเกษตรอําเภอมหาราช ลงพื้นที่ตรวจการดําเนินงานโครงการสรางรายไดและพัฒนาการเกษตรแกชุมชน เพื่อบรรเทาปญ หาภัยแลง ณ ตาํ บลพติ เพียน อําเภอมหาราช โดยไดเขา สังเกตการณการดําเนินกิจกรรมการสานพัด การขดุ ลอกคลองระบายนาํ้ และกจิ กรรมการวางทอระบายน้ํา รายงานประจาํ ป 2558 23

โครงการพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกนั ดารฯ สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรอี ยุธยา นาํ โดย นางพิศมัย หุนตระนี หัวหนาสํานักงานตรวจบัญชสี หกรณพ ระนครศรอี ยธุ ยา ไดเขา รวมงานจดั กิจกรรมวันสหกรณนักเรียนประจาํ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยาณ หา งสรรพสินคา แอมโปมอล อยุธยา รายงานประจาํ ป 2558 24

อัตรากําลงั (ปจ จบุ ัน) อัตรากําลงั ขา ราชการ ลูกจา งประจาํ พนกั งานราชการ บคุ ลากรจา งเหมา สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณพระนครศรอี ยธุ ยา มดี งั นี้ ตาํ แหนง จาํ นวน (คน)ขา ราชการนกั วชิ าการตรวจสอบบัญชชี าํ นาญการพิเศษ 2นกั วชิ าการตรวจสอบบญั ชีชํานาญการ 6นักวิชาการตรวจสอบบญั ชีปฏบิ ัตกิ าร 1 รวม 9ลกู จา งประจาํพนกั งานขับรถยนต 1 รวม 1พนกั งานราชการนักวิชาการตรวจสอบบัญชี 11เจา หนาทร่ี ะบบงานคอมพิวเตอร 1 รวม 12งานจา งเหมาบรกิ ารเจาหนา ท่ีธรุ การ 2เจา หนาบนั ทกึ ขอมูล 1เจาหนาท่โี ครงการฯ 2พนกั งานขบั รถยนต 3พนักงานทําความสะอาด 1พนักงานรักษาความปลอดภยั 1 รวม 10 32 รวมทง้ั สน้ิ รายงานประจาํ ป 2558 25

ภาคผนวก รายงานประจาํ ป 2558 26

จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยาคาํ ขวญั ประจาํ จงั หวดั“ราชธานเี กา อขู าวอนู าํ้ เลศิ ลา้ํ กานทก วี คนดศี รอี ยธุ ยา”ตน ไมป ระจาํ จงั หวดั ตน หมันเปน ไมพ ันธตระกูล Boraginaceae เปนตนไมขนาดกลาง สงู ราว 60 ฟตุ ลําตน คลา ยกระบอกเนอื้ ไมสเี ทาปนสีน้ําตาล ความแข็งปาน กลาง เปลือกเนือ้ ไมสีเทาปนสนี ้าํ ตาล หนาประมาณ 1/2 นว้ิ มรี อยแตกราว ยาวไปตามลําตน ใบยาวประมาณ 5 นิ้ว กวาง 3 นิ้ว รูปไข โคนใบคลายรูป หัวใจ ดอกสีขาว ผลเปนพวงสีเขียวเม่ือสุก ตนหมันมีข้ึนท่ัวไปทาง ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือไมชนิดนี้ไมนิยมใช ประโยชนกัน ตน หมันเปน ตน ไมป ระจาํ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยาเพราะเม่ือ พระเจา อูทองยา ยเมอื งมาต้ังทีต่ ําบลหนองโสน ไดขุดพบสังขทักษิณาวัตร 1 ขอนอยูใตต น หมันอนั เปน สัญลกั ษณประจาํ จังหวดัดอกไมป ระจาํ จงั หวดั ดอกโสนเปนไมตระกูล Leguminosae เปนไมลมลุกเน้ือออนโตเร็วลําตนอวบข้ึนเองตามแมนํ้าลําคลองท่ัวไปในภาคกลาง ดอกสีเหลืองเปนชอหอย ใชรับประทานเปนอาหารได เม่ือ พ.ศ.1893 พระเจาอูทองต้งั เมืองข้ึนใหมที่ตําบลเวียงเหล็กเลือกชัยภูมิท่ีจะตั้งพระราชวัง เห็นที่ตําบลหนองโสนเหมาะสมเพราะมีตน โสนมาก ออกดอกเหลืองอรามคลายทองคาํ แลสะพรงั่ ตา ดังน้นั ดอกโสนจงึ ถือเปนดอกไมป ระจาํ จงั หวัด รายงานประจาํ ป 2558 27

สถานทท่ี อ งเทยี่ วจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาพาทวั รอ ยธุ ยา กบั 9 สถานทท่ี อ งเทย่ี วสาํ คญั1. ตลาดอโยเดยี นานาชาติ รายงานประจาํ ป 2558 28

ลั้นลา ๆ แสนสุข ในวนั ท่แี ดดรม ลมตก ถานอนอยบู านเฉย ๆ กน็ า เสียดายแย เพราะใชว า จะหาวนั ทอ่ี ากาศดี ๆ เหมาะสาํ หรับเดินทางไปสูดอากาศบรสิ ุทธงิ์ า ยซะที่ไหน วันนก้ี ระปุกดอทคอมเลยมี แหลงทอ งเท่ียว ทไ่ี ปงา ยมางาย ใกล ๆ กรงุ เทพฯ แถมยังสบายตาอิม่ อรอยทอ งอกี ตางหาก นัน่ กค็ ือ... ตลาดนา้ํ คลองสระบวั จังหวดั อยธุ ยา อะๆ อยากไปเทีย่ วกนั แลว ใชม ้ัย ถางนั้ กต็ ามเราไปสาํ รวจความสวยงามของ ตลาดนา้ํอโยเดยี นานาชาติ กนั เลยดกี วา ... ตลาดอโยเดยี หรอื ตลาดนาํ้ อยธุ ยา ตัง้ อยบู รเิ วณตลาดนํา้ อโยธยา รายงานประจาํ ป 2558 29

อีกท้ังภายใน ตลาดนา้ํ อโยเดีย ยงั มอี าหารพืน้ บานนานาชนดิ ทั้งท่ีหากินไดทั่วไปและหากินยากเชน ขนมถว ย, ขนมเปยกปูน, ขนมกลวย, ขนมตาล, ปอเปยะ, หมูสะเตะ, ลูกชิ้น, ขาวหอใบบัว, ขนมจีน, โรตีมะตะบะ และนาํ้ สมุนไพรไทย ฯลฯ มาใหเลอื กชิมเลือกชมขอ ควรระวงั กอ นมา “ตลาดนา้ํ อโยเดยี ” -ควรระวงั ทรพั ยสนิ สงิ่ ของมคี า เน่อื งจากมนี กั ทอ งเทีย่ วจาํ นวนมากตลอดทง้ั วันคะ รายงานประจาํ ป 2558 30

2. ตลาดนา้ํ ทงุ บวั ชม รายงานประจําป 2558 31

ตลาดนํา้ ทงุ บวั ชม ถอื เปนอกี แหลงทองเที่ยวทเี่ ปดโครงการยง่ิ ใหญ โดยมีแนวคิดผสมผสานระหวางสมัยเกายอนยุคกับแนวคิดรวมสมัย ต้ังอยูบนเน้ือท่ีท้ังหมด 18 ไร บริเวณอําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดถนนพหลโยธนิ เสน มุงหนาเขาสายอสี านถนนมติ รภาพ นอกจากนี้ ตลาดน้ําทุงบัวชม ยังเปน อีกหนึง่ สถานที่ทอ งเทยี่ วที่เปนความภมู ใิ จของชาวอยุธยา เพราะทน่ี ีไ่ ดร วมสนิ คา ทเ่ี ปน ของดีส่ีภาคของข้ึนช่ือ รวมไปถงึ ของฝากจากอยธุ ยาหลากหลายรายการมาใหเ ลอื กชอป เลือกชิมกัน พรอมกันนี้ ตลาดนํา้ ทุงบัวชมยงั มีสนิ คา สไตลเกา ๆ ดไี ซนเ ก ๆ ซง่ึ เปน สินคาท่มี ีแนวคิดผสมผสานระหวาง สมัยเกายอนยุคกับแนวคิดรวมสมัยเขาไวดว ยกันอยางลงตัว รวมไปถึงงานแฮนดเมดเจง ๆ เชน ปลาตะเพียนใบลาน ตุกตาชาววัง งอบ บานเรือนไทยจําลอง มีดอรัญญิก หมอดินเผา หินแกะสลัก เปนตน และยังมีผลิตภัณฑจากศูนยศิลปาชีพบางไทร สินคาOTOP เครือ่ งประดับ เครื่องจักสาน สินคาหัตถกรรม เสื้อผา เคร่ืองแตงกาย ของประดับ ของท่ีระลึกรวมถึงสนิ คา ตาง ๆ อีกจํานวนมากไวจ าํ หนาย แถมยังไดก ลิ่นอายของวันวานกับ ชุดแตงงานยอนยุคของแมคาพอคาท่ีคอยตอ นรับนักทอ งเทย่ี วท่แี วะเวียนมาดวยรอยย้ิมนาประทับใจ และยังมีการแสดงหุนกระบอก งิ้ว และลิเกรวมทง้ั กจิ กรรมเพ่ิมความสนุกสนานอยา งเชน สาวนอยตกนาํ้ ฉายหนังกลางแปลง สวนทเี่ ปนไฮไลทของ ตลาดนํ้าทุงบวั ชม คงจะเปนหนุ ยนตขนาดยักษ ทจ่ี าํ ลองมาจากหนุ ยนตจากหนังเรื่อง ทรานฟอรม เมอร พรอมดว ยการจดั การประกวดภาพถาย แตถ าใครเดินชม ตลาดนํ้าทุงบัวชม จนเหน่ือย ก็ไปพักแขงพักขาหาของกินอรอย ๆเพราะท่ีน่ีเปนแหลงรวมอาหารและขนมอรอ ย ๆ นานาชนิด เชน ไอศกรีมมะพราวน้ําหอม, กวยเตยี๋ วเรอื ทข่ี ้นึ ช่ือของอยธุ ยา, กุงแมนํา้ , ปลาแมน้ํา, โรตีสายไหม แถมยงั มอี าหารชื่อแปลกอยางซาลาเปาทอดน้ํา ผลิตภัณฑเห็ดแปลงกาย และไอศกรมี ผดั อกี ดว ย เอาเปนวา ใครทชี่ ่ืนชอบ การทองเท่ยี วสไตลตลาดนาํ้ และชน่ื ชมของโบราณแบบน้ี ตลาดนา้ํ ทงุ บัวชม ถือเปน อีกแหลง ทอ งเทีย่ ว ท่นี าสนใจอกี หนง่ึ แหงคะ วนั เวลาเปด บรกิ าร : ทกุ วนั ตง้ั แตเวลา 10.00 - 20.00 น. ท่ีอยู : พหลโยธนิ กม.78 ถนน วงั นอย-สระบรุ ี อาํ เภอวังนอย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา โทรศพั ท : (035) 723 127 เวบ็ ไซต : เฟซบกุ ตลาดนํ้าทงุ บวั ชม พหลโยธิน กม.78 วงั นอย-สระบุรี รายงานประจาํ ป 2558 32

3. พพิ ธิ ภัณฑล า นของเลน อยธุ ยา พิพธิ ภณั ฑล านของเลน เกริก ยุนพันธ เกิดข้ึนมาจากแรงบนั ดาลใจอันยิ่งใหญของ รศ. เกริกยุนพันธ ทานเปน อาจารยป ระจาํ สาขาวชิ าวรรณกรรมสําหรับเด็ก ทม่ี หาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ และยังเปนนักวาดภาพประกอบ และคนทําหนงั สอื สําหรบั เดก็ มีผลงานหนงั สือภาพจํานวนมากมาย และเคยไดรับรางวัลนอมา(NOMA) จาก ประเทศญ่ีปุน ในป พ.ศ. 2525 ซ่ึงจากรางวัลนี้เองที่เปนจุดเร่ิมตนใหเกิดความคิดอยากสรางพิพิธภัณฑของเลน ข้ึนในเมืองไทยอาจารยเกริก กลาววา ผมทําหนังสือเด็กแลวมีโอกาสไดไปเห็นพิพิธภัณฑข องเลนสังกะสีที่ญี่ปุน มันเปนแรงบันดาลใจที่ย่ิงใหญ ทําใหคิดเร่ิมเก็บของเก่ียวกับเด็กมาต้ังแตป2526 ก็เลยคิดวา เลอื กทจี่ ะเกบ็ ของเลน และขาวของเครื่องใช หนังสือเด็ก แบบเรียนเกาดีกวา มันนาสนใจเพราะไมมใี ครเก็บ ก็เลยเร่มิ เก็บเดนิ คลองถม เดนิ ตลาดสามแยก เดินจตุจกั ร ตอนที่เรม่ิ เกบ็ ของเลน เกาก็คิดวาจะมีของใหเ กบ็ ไดเยอะแคไ หน แตย่ิง เกบ็ ก็ยงิ่ เจอ ผมเชอื่ วาถาทกุ คนมคี วามมงุ ม่ัน ใฝฝน และตั้งใจท่ีจะทําจริง สิ่งท่ีเราตั้งใจจะเวียนมาเอง คนอ่ืน อาจ มองวาของเลนก็เปนของเลน แตผมเห็นวา ของเลนเปนพิพิธภัณฑ ได ภายในพพิ ธิ ภณั ฑล า นของเลน จดั แบงพ้ืนทอ่ี อกเปน 2 สวน คือ สว นดานนอกอาคารพพิ ิธภณั ฑ ซ่งึ จัดเปนสวน พักผอ น รม รน่ื เตม็ ไป ดว ยตน ไมน อยใหญน านาพนั ธุ มี ของเลน เปน มา โยก ต้ังเรยี งรายอยู ดานหนา และบริเวณ สวนและ บรเิ วณ สวนให นอ งๆ หนูๆ ไดสนกุ สนานกบั การเลน ดงั กลา ว รวมทงั้ นกั ทอ งเที่ยวทีเ่ ปนผูใหญอ ยางเราๆ ไดยอ นอดตี ใน วัยเยาวอกี ครง้ั หากใครมาท่ีนีแ่ ลว หิวบริเวณดา นหนาก็มรี า นอาหาร “รา นขา วแกงบา นอาจารยเ กรกิ ”ซ่ึงจะขาย กวยเต๋ียวขาวแกง และมีเครอื่ งดื่มกาแฟโบราณ ไอศครีม รายงานประจาํ ป 2558 33

สวนทีส่ องคืออาคารพพิ ิธภณั ฑซึง่ เปน อาคารรูปสี่เหล่ยี มผืนผาหลงั ใหญ 2 ชั้น สูงโปรง ทาสขี าวทัง้ หลงั มีประตูหนา ตาง แบบบา นสมัยเกา ทาสฟี า ดสู ดใส ภายในแบง เปนสองชน้ั เมือ่ กา วเขาไปสูตัวพิพิธภณั ฑด า นใน กจ็ ะพบกับสงิ่ ของจดั แสดงไวมากมาย อาจารยเ กริกไดใชเวลารวม 20 กวา ปใ นการสะสมช้นั ลา งของอาคารจัดแสดงของเลนไทยยุคเกาในสมัยสุโขทัย อยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร มีท้ังตุกตาดินเผากระปกุ ออมสนิ ดนิ เผา ฯลฯ และมพี วกขา วของเครื่องใชคนไทยยุคโบราณ ต้ังแต 100 ปยอยลงมาถึง 30 ปท่ีแลว มขี องโชวม ากมาย และมีการจัดแสดงใสตูโชวอยางเปนระเบียบสวยงาม ของโบราณท่ีชวนชมมีมากมายอาทิ เคร่ืองเงิน ภาพพิมพโบราณ เคร่ืองรางของขลัง เคร่ืองแกวอายุหลายรอยป ปนโตเกาลายสวยงามงานทองเหลือง วทิ ยุโบราณ สงิ่ พิมพย ุคแรกของคนไทย หนังสือเกา เคร่ืองเรือนโบราณ โปสการด จดหมายในยุคแรกทีเ่ รม่ิ มี การไปรษณีย ฯลฯและทีช่ ้ันลางนยี้ ังมกี ารจัดแสดงภาพวาดลวดลายสวยงามนา รกั ทเี่ ปนฝมอื ของอ.เกริกนอกจากนี้ยงั มสี วนของรา นขายของท่ีระลึกดว ย มที งั้ สมดุ โนต แกวน้าํ เสื้อ กระเปา และของเลน สงั กะสีที่ทาํเลียนแบบของเลนสมัยเกากม็ ใี หซอ้ื เปน ของทรี่ ะลกึ ติดไมต ดิ มือกลบั บา นกนั รายงานประจําป 2558 34

4. วดั ใหญช ยั มงคล วดั ใหญช ยั มงคล วดั ใหญช ัยมงคลเดมิ ชอ่ื วัดปาแกว หรอื วัดเจาพระยาไทย ต้ังอยูท างฝงตะวันออกของแมนา้ํ ปา สกั จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมอื งอยธุ ยาแลวจะเหน็ เจดียวดั สามปลมื้ (เจดยี ก ลางถนน)ใหเล้ยี วซาย ตรงไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะเห็นวดั ใหญช ยั มงคลอยทู างซา ยมอื วดั นตี้ ามขอ มลู ประวตั ิศาสตรสนั นิษฐานวาพระเจา อทู องทรงสรา งขึน้ เม่ือ พ.ศ. 1900 สําหรบั เปนสาํ นักของพระสงฆซึ่งไปบวชเรยี นมาแตสํานกั พระวนั รตั นม หาเถรในประเทศลงั กา คณะสงฆท ไ่ี ปศกึ ษาพระธรรมวนิ ัยเรยี กนามนกิ ายในภาษาไทยวา “คณะปาแกว ” วดั น้ีจงึ ไดชอื่ วา วัดคณะปาแกว ตอ มาเรียกใหส นั้ ลงวา “วัดปา แกว ” ตอมาคนเลื่อมใสบวชเรยี นพระสงฆน ิกายน้ี พระราชาธบิ ดีจงึ ตัง้ อธิบดีสงฆนิกายนเ้ี ปน สมเดจ็ พระวนั รตั นมตี ําแหนงเปน สังฆราชฝา ยขวาคกู ับ พระพทุ ธโฆษาจารยเ ปน อธิบดีสงฆฝ า ยคันถธรุ ะมตี าํ แหนงเปน สังฆราชฝายซายหลงั จากนั้นไดเ ปลี่ยนช่อื เปน“วัดเจาพระยาไทย” สันนษิ ฐานวา มาจากทสี่ มเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 ทรงสรางวัดปา แกวขนึ้ ณ บริเวณทซี่ ง่ึ ไดถวายพระเพลงิ พระศพของเจาแกว เจาไทยหรอื อาจมาจากการท่วี ัดน้ีเปนทปี่ ระทับของพระสงั ฆราชฝายขวา ซงึ่ ในสมยั โบราณเรียกพระสงฆว า “เจา ไทย” ฉะนั้นเจาพระยาไทยจงึ หมายถงึ ตําแหนง พระสงั ฆราชในป พ.ศ. 2135 เมอ่ื สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงทําศึกยุทธหตั ถีชนะพระมหาอปุ ราชแหงพมา ทตี่ าํ บลหนองสาหราย เมอื งสพุ รรณบุรี ทรงสรางพระเจดยี ใ หญข นึ้ ท่วี ดั นี้เปนอนสุ รณแ หง ชยั ชนะ การสรางพระเจดยี อาจสรา งเสริมพระเจดยี เ ดิม ท่ีมีอยหู รอื อาจสรา งใหมทง้ั องคก ไ็ ดไมม หี ลกั ฐานแนนอน ขนานนามวา “พระเจดียช ัยมงคล” แตร าษฎรเรยี กวา “พระเจดียใ หญ” ฉะน้นั นานวันเขาวดั น้จี ึงเรียกช่อื เปน “วัดใหญช ัยมงคล” วดั น้ีรางไปเมอ่ื คราวเสยี กรงุ ครง้ั สุดทา ย และเพิง่ จะต้งั ข้ึนเปนวดั ที่มีพระสงฆอ ยจู ําพรรษาเมอ่ื ไมนานมานี้ นอกจากน้ยี งั มี วิหารพระพุทธไสยาสน สรางในสมยั สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพอ่ื เปนทถ่ี วายสกั การะบูชาและปฏบิ ัตพิ ระกรรมฐาน ปจจบุ ันมีการสรา งพระตําหนักสมเดจ็พระนเรศวรมหาราช มีผูนิยมไปนมสั การอยางสม่าํ เสมอเปน จาํ นวนมาก คาเขาชม ตางชาติ คนละ 20 บาท รายงานประจําป 2558 35

5. วดั นเิ วศธรรมประวตั ิ ราชวรวหิ าร รายงานประจาํ ป 2558 36

วัดนิเวศธรรมประวัติ ตั้งอยูบนเกาะกลางแมนํ้าเจาพระยา ดานทิศใต คนละฝงกับพระราชวังบางปะอิน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหสรางเลียนแบบโบสถฝร่ัง เม่ือ พ.ศ. 2421อาคารและการตกแตงทําแบบโกธิค มีกระจกสีประดับอยางสวยงาม ภายในเปนแบบฝรั่ง แมแตฐานท่ีประดิษฐานพระประทาน คือ พระพุทธนฤมลธรรโมภาส และพระสาวกก็ไมไดทําเปนฐานชุกชีอยางในโบสถทั่วไป แตทําเหมือนที่ต้ังไมกางเขนในโบสถคริสต ชองหนาตางที่เจาะไวก็เปนหนาตางโคง ท่ีฝาผนังโบสถดานหนา พระประธานจะเปน ภาพประดษิ ฐก ระจกสี เปน พระบรมฉายาลักษณของรัชกาลที่ 5 ดานขวามือของ พระอุโบสถน้ัน มีหอแหงหน่ึง คือ หอประดิษฐานพระคันธารราษฎร ซึ่งเปนพระพุทธรูปยืนปางขอฝนตรงขา มกับหอพระคันธารราษฎร เปน หอประดิษฐานพระพทุ ธศลิ าเกาแกป างนาคปรก อันเปน พระพทุ ธรูปสมัยลพบรุ ี ฝม อื ชางขอมอายุเกาแกน ับพนั ป พระนาคปรกนี้อยูติดกับตนพระศรีมหาโพธิ์ใหญ ที่แผกิ่งไปท่ัวบริเวณหนาพระอุโบสถ ถัดไปอีกไมไกลนกั เปน หมศู ิลาชนดิ ตางๆ ทมี่ ใี นประเทศไทย เปนท่ีบรรจุอัฐิเจาจอมมารดาชุมพระสนมเอกในรชั กาลท่ี 4 เจา จอมมารดาของสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ และราชสกลุ ดศิ กลุ เมื่อเขาชมพระราชวังบางปะอินแลว สามารถขามไปชมวัดนิเวศธรรมประวัติได โดยกระเชาสาํ หรบั สงผูโ ดยสารประมาณครั้งละ 6-8 คน คาโดยสารแลวแตบ ริจาค วัดนเิ วศธรรมประวตั ิ ราชวรวหิ าร หมู 12 ตาํ บลบา นเลน อําเภอบางปะอนิ พระนครศรีอยุธยา 13160 รายงานประจาํ ป 2558 37

6. วดั ชมุ พลนกิ ายาราม ราชวรวหิ าร วัดชุมพลนกิ ายาราม ราชวรวิหาร อ.บางปะอิน วัดชุมพลนิกายยาราม เปนวัดที่ผูคนมักผานไปมา แตไมคอยไดแวะเขาไปเยี่ยมชม ท้ังท่ีมี บรรยากาศงดงามเน่ืองจากอยูติดกับแมนํ้าเจาพระยา วัดชุมพลนิกายารามเปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนดิ วรวหิ ารต้ังอยทู ีต่ าํ บลบานเลน อาํ เภอบางปะอนิ จังหวัดอยุธยาอยูใกลพระราชวังบางปะอินนิดเดียว และ ตดิ กับแมนา้ํ เจาพระยาทําใหท ัศนยี ภาพของวดั นาชมมากทีเดยี วพระอโุ บสถวดั ชุมพลนิกายาราม เจดยี ทรงยอมมุมไมส บิ สอง เอกลักษณอ ีกประการหนงึ่ ของศลิ ปะสมัยอยธุ ยา ตามประวัติของวดั วา กันวา สรา งตั้งแตสมยั พระเจา ปราสาททองราว พ.ศ.2175 ในที่ท่ีเช่ือกันวาเปน บานเดมิ ของพระราชชนนีของพระองค หรอื อีกนัยหน่ึงชื่อของวัด “ชุมพล” หรือ “ประชุมพล” ก็อาจเปนสถานทที่ ี่ใชชุนนมุ ไพรพลเพอ่ื การออกรบกเ็ ปนได ในสมยั ตน รตั นโกสนิ ทรวดั ชมุ พลฯ น้ไี ดร บั การปฏิสังขรณคร้ังใหญอยางนอยจํานวน 2 คร้ัง คือในสมัยรัชกาลท่ี 4 และรชั กาลท่ี 5 ภายในบริเวณวดั มีสถาปตยกรรมท่ีนาศึกษาหลายอยา ง ตวั อยางเชน เจดยี ทรงยอมมมุ ไมสบิ สอง ที่เราคอนขางคุน ชอ่ื แตไ มอาจไมเคยเหน็ จรงิ ๆ วา รปู รางหนา ตาเปน อยา งไร วากันวา เจดยี ท ่ีวดั นี้เปนตน แบบของเจดยี ทรงยอมุมไมส บิ สอง ที่หนาพระอุโบสถมีพระพุทธรูปประดิษฐานในกรอบซุมทรงพระมหาปราสาท ซึ่งระบุใตป ระติมากรรมวาเปน ศรอี าริยเมตไตร มีลักษณะเปนพระพุทธรปู ทรงเคร่อื ง เขาใจวา ไดรับการสรางข้นึ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ดานในพระอโุ บสถมีพระประธานเปน พระพุทธเจา 7 พระองค องคก ลางทีใ่ หญท ่สี ดุ คอื พระวิปสสีพระพุทธเจา อีก 6 องค เปนพระอดีตพุทธเจา นับเปนคติการประดิษฐานพระประธานท่ีแปลกอยูไมนอยดา นหลังพระประธานองคใ หญเปน ประตมิ ากรรมภกิ ษณุ ี สังเกตไดจ ากการครองจวี รมดิ ชดิ ซงึ่ หาดไู ดย าก นอกจากน้ยี ังมีงานจิตรกรรมฝาผนังพุทธประวัติท่ีนาสนใจอีกมาก ที่บานประตูยังมีงานเขียนเครื่องบูชาอยา งจนี ทง่ี ดงาม แทนท่ีทวารบาลที่เปน ท่ีนิยมกนั มากอ นหนา รายงานประจาํ ป 2558 38

พระศรอี าริยเมตไตร พระประธานท้ัง 7 องค บนฐานชุกชีในพระอุโบสถวดั ชุมพลฯจติ รกรรมเครื่องบชู าอยา ง จีนทบี่ านประตพู ระอุโบสถ รายงานประจาํ ป 2558 39

7. วดั ไชยวฒั นาราม วัดไชยวัฒนาราม ตั้งอยูท่ี ต.บานปอม อ.พระนครศรีอยุธยา ซ่ึงก็ตั้งอยูริม แมน้ําเจาพระยาทางฝงตะวันตกของเกาะเมือง วัดไชยวัฒนาราม เปนวัดหนึ่ง ท่ีมีสถาปตยกรรมการกอสรางไมเหมือนวัดอื่นๆ ในอยธุ ยา และเนอ่ื งจากกรมศลิ ปากรไดดาํ เนนิ การบรู ณะตลอดมาจนปจจบุ นั นกั ทอ งเทยี่ วยังคงมองเห็นเคาแหงความสวยงามย่งิ ใหญตระการตา ซง่ึ ผไู ปเยอื นไมควรพลาด วัดไชยวัฒนารามสรางบนพื้นที่ 160 เมตรยาว 310 เมตร โดยหันหนาไปทางทิศตะวันออกกลาวไดวาวัดน้ีต้ังตรงกับทิศทางคตินิยมในการสรางวัดที่ปฏิบัติเปนประเพณีสืบกันมานอกจากนี้ยังสอดคลองกับเหตกุ ารณใ นพทุ ธประวัตทิ ก่ี ลาววา พระโพธิสตั วทรงประทบั ภายใตต นพระศรมี หาโพธิ์ หันพระพักตรไปทางทิศตะวันออกสูแมนํ้าเนรัญชรา ทรงบําเพ็ญสมาธิจนบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ พระพุทธรูปซ่ึงเปนหลักของวัด ก็สรางแทนองคประพุทธเจาคือพระประธานในพระอโุ บสถเปน พระพุทธรูปปางสมาธิ ซ่งึ เปนปางท่แี สดงเหตกุ ารณต อนพระพุทธองคตรสั รู ประวตั ิ วัดไชยวัฒนารามบางครงั้ เรยี กวา “วดั ไชยยาราม” และ “วัดไชยชนะทาราม” เปนพระอารามหลวง ในสมยั อยธุ ยา ซงึ่ เปน วัดทสี่ มเดจ็ พระเจาปราสาททอง โปรดใหสถาปนาขึน้ เปนวัดอรญั วาศรี ณ บรเิ วณที่ดนิ ซึง่ เปนนิวาสสถานของพระราชชนนีในปที่ขน้ึ ครองราชย คอื ปม ะเมีย พ.ศ.2173 สันนษิ ฐานวาเปนวัดประจํารชั กาลดว ย ตอมาในรชั สมัยของพระเจา อยหู วั บรมโกศไดใ ชวัดน้ีในฐานะเปนวัดฝายอรัญวาสีสําหรับพระราชทานเพลิงศพของพระราชวงศแ ละขุนนางผสู งู ศกั ดิ์ ในป พ.ศ.2299 กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เจาฟาธรรมธิเบศร(เจาฟากงุ )กวีเอกสมัยอยุธยาตอนปลาย ไดถูกกลาวโทษวา เสด็จเขามาทําชูกับเจาฟาสังวาลยในพระราชวังหลายครัง้ สบื สวนไดความเปนสัตยจรงิ จงึ ลงพระราชอาญาเฆ่ยี นท้งั สองพระองค จนดับสูญแลวนําศพไปฝงไวณ วดั ไชยวัฒนารามท้งั สองพระองค รายงานประจาํ ป 2558 40

จุดนาสนใจ ปรางคประธาน ต้ังอยูบริเวณตรงกลางของพ้ืนที่ ฐานประทักษิณ ซ่ึงฐานประทักษิณไดยกสูงขนึ้ มา จากพ้นื 1.5 เมตร มีลกั ษณะเปน ปรางค จัตุรมุข(มีมุขยื่นออกมาท้ัง4ดาน) ในสวนของมุขดานตะวนั ออก จะเจาะมุขทะลเุ ขา สเู รอื นธาตุ ซ่งึ ภายในจะประดิษฐานพระพุทธรปุ นง่ั (ปจจุบันไมพบแลว) ยอดขององคปรางค ทําเปน รัดประคดซอ นกนั 7 ชน้ั แตล ะช้นั เปนลวดลาย ใบขนนุ กลบี ขนุน สว นบนสดุ เปน ทรงดอกบัวตูมปรางคแบบนี้มีลักษณะเหมือน ปรางคในสมัย อยุธยาตอนตน ซ่ึง วัดไชยวัฒนารามน้ัน สรางในสมัยอยุธยาตอนกลาง จึงอาจกลาวไดวา เปน การนาํ เอาพระปรางคท่ีนิยมสรา งในสมยั อยธุ ยาตอนตน มากอสรา งอกี ครั้งหนึง่การเดนิ ทาง - ทางเรือ ทานอาจเชา เหมาเรอื หางยาวจากบรเิ วณหลังลานจอดรถฝงตรงขามพระราชวังจันทรเกษมดานตะวันออกของเกาะเมือง ลองไปตามลํานํ้าปาสักลงไปทางใตผานวิทยาลัยการตอเรือพระนครศรีอยุธยาวัดพนัญเชิงวรวิหาร วัดพุทไธศวรรย โบสถโปรตุเกส วัดไชยวัฒนาราม วัดกษัตราธิราชวรวิหารและเจดียพระศรีสุริโยทัย - ทางรถยนต สามารถใชเสน ทางเดยี วกบั วดั กษตั ราธริ าช แตพ อขามสะพานวดั กษัตราธริ าชไปแลวใหเ ล้ียวขวาแลวตรงไปเรอ่ื ยๆ ก็จะเห็นวัดไชยวฒั นารามตง้ั เดนเปนสงาอยูท างดา นหนา - เปด ใหเ ขา ชมทกุ วนั ตั้งแตเ วลา 08.30–16.30 น. - คา เขาชม ชาวไทย10 บาท ชาวตา งประเทศ 30 บาท หรอื สามารถซอื้ บตั รรวมได ชาวไทย60 บาท ชาวตางประเทศ 180 บาท โดยบตั รนี้สามารถเขาชมวดั และพิพธิ ภัณฑต า งๆ ในจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาไดภายในระยะเวลา 30 วัน อนั ไดแก วัดพระศรสี รรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุวดั ราชบูรณะ วดั พระราม วดั ไชยวฒั นาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จนั ทรเกษม*** หมายเหตุ ตงั้ แตเวลาประมาณ 19.30น.- 21.00น. จะมกี ารสอ งไฟชมโบราณสถาน รายงานประจาํ ป 2558 41

8. วดั ทา การอ ง รายงานประจาํ ป 2558 42

วัดทาการอ ง เปนพระอารามพื้นที่ตั้งของวัดโดยรวมเปนที่ราบอยูติดแมนํ้าเจาพระยา ใกลกับวัดธรรมารามและวัดกษัตราธริ าชอยหู า งจากเกาะเมืองประมาณ ๓ กิโลเมตร ตัง้ อยูนอกพระนครดานทิศตะวันตกหรือบรเิ วณทงุ ประเชต ปจ จุบนั สงั กัดคณะสงฆมหานิกาย ตั้งอยูท ห่ี มู ๖ ตาํ บลบานปอม อําเภอพระนครศรีอยธุ ยา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา มีท่ ีด่ นิ ทง้ั วดั โฉนดเลขท่ี ๖๒๘ เนื้อท่ี ๒ ไร ๗๘ ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือตดิ ตงั้ อยบู รเิ วณชุมชนอิสลามเปนสวนใหญ ทามกลางมัสยิดถึง ๕ มัสยิด โดยมีบานเรือนที่เปนพุทธศาสนิกชนอยูประมาณ๘-๑๐ หลังคาเรอื นเทานน้ัวดั น้รี า งมาตั้งแตคร้ังกรุงศรีอยุธยาเสียแกขาศึก เม่ือป พ.ศ.๒๓๑๐ และดวยกาลเวลาท่ีผานมาเกือบ ๒๐๐ ปตลอดจนไมไดรับการบรู ณะอยางจิงจัง ทําใหโบราณสถานภายในวัดสว นใหญมีสภาพชํารุดทรุดโทรมเปนอยางมากหลังจากสถาปณากรุงเทพมหานครแลวพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศในราชวงศจักรี ตางทรงปฏสิ งั ขรณพระอารามทัง้ ภายในและภายนอกพระนครสบื มาทกุ ราชกาล จึงทําใหอ โุ บสถของวัดมีรูปแบบศิลปะสมัย กรุงรตั นโกสนิ ทรเจือปนอยู และในป พ.ศ. ๒๕๐๘ กรมศิลปากรไดทําการขุดสํารวจฐานรากพระอุโบสถพบวาวัดทาการอ งไดมกี ารปฏสิ งั ขรณมาไมต่ํากวา ๒ คร้ัง แตดวยเหตุท่ีโดยรอบวัดเปนชุมชนอิสลามสวนใหญและทางราชการไมมงี บประมาณทีเ่ พียงพอทจี่ ะทาํ นุบาํ รงุ วัดโบราณตา ง ๆ ไดท ว่ั ถึง วดั ทา การอ งในเวลาตอ มาจึงมีสภาพไมตา งจากวัดรา งวัดทาการอ ง ซ่ึงสนั นฐิ านตามพทุ ธะลกั ษณะและซากปรักหังพงั นาจะสรางขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๑(สมเดจ็ พระชยัราชา) ประมาณปพ ุทธศักราช ๒๐๗๖ หรือ ๔๗๔ ปเศษมาแลว เพราะมีทานํ้าก้ันวัด ชวงน้ันแผนดินคอนขางสงบพระพทุ ธศาสนาเจรญิ รุง เรื่องดี อกี ทง้ั วดั นยี้ ังใชเปนทป่ี ระทับพกั ผอน เพื่อเผยแพรศาสนาของลทั ธลิ ังกาวงศอีกดวย แตไมปรากฏหลักฐานท่ีชัดเจนวา ผูใดเปนผูสรางเพราะอยูนอกเขตพระบรมมหาราชวัง สันนิฐานวาคงจะเปน วดั ทีร่ าษฎรสรางขน้ึ เพราะไมป รากฏรายชอ่ื พระอารามหลวงสมยั อยธุ ยา แตจากการสงั เกตเม็ดมะยมรอบกาํ แพงพระอโุ บสถ จึงสันนิฐานวา นา จะมกี ารบูรณะปฎิสังขรณขึ้นมาใหมในสมัยรัตนโกสินทร ชวงรัชกาลพระนงั่ เกลา เจาอยหู วั และรัชกาลพระจอมเกลา เจาอยูหัว (รัชกาลท่ี ๓-๕ )จากหลกั ฐานทางโบราณคดีในการสํารวจ ของพระยาโบราณราชธานินทพร เดชะคปุ ต ซึง่ ทําแผนที่การสํารวจวัดและโบราณสถาน ในสมยั รชั กาลที่ ๕ ระบชุ อ่ื ทีค่ ลา ยกบั วดั ทา การอ งไว ๒ ชื่อ คือวัดทา กับ วัดการอ ง ซง่ึ อยูใกลกนั วัดทา นน้ั อยูต รงหัวมุมท่แี มน ้าํ เจา พระยาหกั เล้ยี วลงสูด านตะวนั ตก ของเกาะเมอื งฝงตรงขา มกบั วัดปาพลู ที่ปากคลองมหานาค ทงุ ลุมพลี สว นวัดทาการองนัน้ อยถู ดั เขามาเกอื บถึงหลงั วดั ธรรมาราม แตไมทราบชวงเวลาใด ที่ ๒ วัดน้ีรวมเขาดวยกันเปนวัดทาการอง และดวยไมปรากฏหลักฐานการสรางวาสรางในสมัยใด และไมปรากฎชือ่ วดั ทา การอ งในรายชื่อ พระอารามหลวงสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา จงึ สันนิฐานวา วดั นีไ้ มใ ชพระอารามหลวงแตนาจะเปนวัดที่ราษฎรรวมกันสราง ทั้งอุโบสถก็ไดรับการบูรณะ มาหลายคร้ังหลายครา ทําใหรูปแบบทางสถาปตยกรรมผิดแผกไปจากเดิม จากรูปแบบของเจดียรายที่เปนเจดียเพ่ิมมุม รวมถึงปรางคเล็กที่ดานหนาอโุ บสถ หากพจิ ารณาจากขนาด รูปทรงและศิลปะการกอสราง สันนิฐานวาคงสรางสมัยอยุธยาตอนปลาย ซ่ึงเจดียรายนน้ั ก็มักสรา งตอ ๆกนั มาในช้ันหลงั ทาํ ใหก ําหนดอายุของวัดไดยาก รวมถึงการวางผังสิ่งกอสรางซึ่งไมเนนสรา งพระวิหาร และจากรปู แบบเจดยี ร ายทปี่ รากฎ เช่ือวา วัดทาการองไมนาจะมีอายุเกา ไปถึงสมัยอยุธยาตอนตน รายงานประจาํ ป 2558 43

จากพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เรื่องศึกหงสาวดีคร้ังท่ึ ๑ (คราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัย)เหตุการณในแผน ดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ไดกลาวถึงวัดทาการองความวา “...สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสวยราชย เมอื่ ปวอกจุลศักราช ๙๑๐ พ.ศ. ๒๐๙๒ เสวยราชยไ ด ๗ เดือน พระเจา หงสาวดตี เบง็ ชเวตก้ี ย็ กทพั เขา มา...ในคราวน้ันปรากฎวาไทยแบงกองทัพออกไปตั้งคายรักษาชานพระนครทางดานเหนือ ๒ คาย คือ ใหพระสุนทรสงคราม ผวู าราชการเมืองสพุ รรณบุรี คมุ พลไปตง้ั รักษาการทป่ี อ มจําปา อยูฝงตะวันตก ลาํ น้ําหวั ตะพาน วัดทาการองแหง ๑ ...” ซ่ึงพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขานีช้ ําระในรชั กาลท่ี ๔ แตค าํ อธบิ ายท่กี ลาวถึงท่ีต้ังปอมจําปาวา อยเู หนอื วดั ทาการอ งเปน คาํ อธิบายสวนหนงึ่ ในตอนอ่นื ๆที่สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานภุ าพทรงเขียนอธิบายเน้ือความขนึ้ ภาพหลงั เพ่ือใหผ ูศึกษาพระราชพงศาวดารเขาใจไดช ัดเจนขึน้ โดยชี้ตําแหนงของปอ มจาํ ปา(ปอ มจําปาพล) วา อยูบริเวณใด ซึ่งไมอาจยืนยันชัดเจนไดวา เมื่อเกิดศึกหงสาวดีในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดินั้นวดั ทาการองไดส รา งข้นึ แลว หรอื ไมจากหนังสือไทยรบพมา ตอนสมเดจ็ พระเจา เอกทศั พ.ศ.๒๓๐๙ กลา วถงึ วัดทาการองความวา “...ตัวเนเมียวสีหบดยี ายมาจากคา ยปากนํา้ พระประสบมาอยทู ีค่ ายโพธ์สิ ามตน ใหกองหนาเขามาตั้งคายที่วัดภูเขาทอง แลวใหรกุ เขามาตง้ั คายวัดทา การอ งอีกแหง ๒ ฝายขางในกรุงฯ เห็นพมาเขามาตง้ั คายถงึ วัดทาการองทางปนใหญจะยิงไดถ ึงพระนครก็ใหกองทพั เรอื ออกไปตคี ายพมา ...”และจากพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ยงั กลาวถงึ วดั ทาการองในป พ.ศ. ๒๓๑๐(สงครามเสียกรุงคร้ังที่ ๒) เม่ือคร้ังพระเจามังระสงมหานรธาและเนเมียวเสนาบดีมารบ กรุงศรีอยุธยาระหวาง พ.ศ.๒๓๐๙-๒๓๑๐ นั้น พมาตัง้ คา ยลอมกรุงรายรอบทกุ ดา น เม่อื มังนรธาปวยสิ้นชีวิตลงเนเมียวเสนาบดีไดเปนแมทัพใหญวา การทพั แตผูเดยี ว ชอ่ื ของวดั ทา การอ งถูกบนั ทกึ ในพระราชพงศาวดารฉบับนโ้ี ดยตรงไวด ังน้ี“...เนเมยี วจงึ ยกพลทหารเขา มาตั้งคา ยใหญตําบลโพธิ์สามตนใหรื้อเอาอิฐโบสถวิหารวัดมากอกําแพงลอมเปนคายแลวใหเ กณฑนายทัพท้ังปวงยกมาตัง้ คา ยอยู ณวัดภเู ขาทองและบา นปอมวัดทาการอ งใหป ลูกหอรอและกอปอมใหส ูงขึน้ ชือ่ ปอมจาํ ปาเอาปน ใหญนอ ย ข้ึนยงิ มาในพระนคร...”จากคาํ ใหก ารขนุ หลวงหาวัดตอนพมายกทัพเขาลอมกรุง(สงครามคราวเสียกรุงครั้งที่ ๒) กลาววา”...บรรดาทัพท้ังก็ยกลอมกรุงไวรอบทัพใหญ ต้ังอยูสีกุทิศตะวันตกเฉียงใตเมืองอันแมทัพนั้นชื่อมหานราทาคายหนึ่งทิศตะวันออกเฉียงเหนือนั้น คายเพนียดทิศตะวนั ออกเมืองคา ยหัวรอ ทศิ ตะวนั ออกเฉียงใตน ั้นชื่อคลองสวนพลู อันตะวันออกเฉียงใตน้ันคายบานปลาเห็ดนั้นทิศใต เมืองคายวัดธนทารามนั้นทิศตะวันออกเฉียงเหนือคายวัดวิเชียรทิศตะวันตกเมืองคายบานปอม ทิศตะวันตกเมืองคายภูเขาทอง ทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือเมืองคายหนาวัดพระเมรุทศิ เหนือคายโพธ์ิสามตน ทิศเหนือเมืองไกลทางสามหลกั คายวัดวรโพธิ์ ทิศตะวนั ออกเมือง คายวัดทาการองทิศเหนือเมือง...”ซึ่งในการนี้กองทัพเรือของทา วพระยาอาสาหกเหลาของฝายกรุงศรีอยุธยาใหเ ขา ตคี า ยพมา ณ วัดทา การอ ง พมา ยิงปนมาถกู นายเกรก ซึ่งยืนรําดาบสองมืออยูห นาเรือตกนาํ้ ทัพเรือจึงถอยกลบั เขากรุง รายงานประจาํ ป 2558 44

9. พระราชานสุ าวรยี ส มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช โครงการกอสรา งพระบรมราชานสุ าวรียส มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เปนโครงการอันเนอื่ งมาจาก พระราชดําริ เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตามพระราชเสาวนียของสมเด็จ พระนางเจาฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ไดกอสรา งบริเวณทุงภเู ขาทองเปนสถานท่ที องเท่ียวเพ่อื การพักผอน และมีการปลูกสวนปา เพื่อเปนพื้นท่ีสเี ขยี ว อยรู ิมถนนสายอยุธยา-อางทอง อําเภอพระนครศรีอยุธยา หางจากเกาะเมือง ไปทางทิศเหนือ ประมาณ 1 กม. บริเวณน้เี รยี กวา ทงุ ภเู ขาทอง ในอดีตเคยเปน สมรภมู ิรบหลายคร้งั หลายคราว วีรบุรุษของไทย นับไมถวน ไดเ สียสละชีวิตเลอื ดเนอื้ เพื่อปกปองอธิปไตยและดํารงไวซึ่งความเปนไท เมื่อ พ.ศ. 2129 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไดท รงกระทําศึกอยางเหยี้ มหาญ เปน ผลใหอ ริราชศตั รูตอ งพายแพไป พื้นท่ีน้ีจึงไดรับการพัฒนาสรางเปน พระบรม ราชานสุ าวรยี  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพอ่ื เทิดพระเกยี รตแิ ละเปนอนสุ รณส ถานและรําลึกถงึ มหาวีรกรรม ในครั้งนั้นพระบรมราชานุสาวรียมีพื้นที่ท้ังหมด 1,075 ไร ประกอบดวยสระเก็บนํ้าพื้นท่ีจัดกิจกรรม มีภูมิทัศน บริเวณรอบอนุสาวรียสวยงาม สวนสาธารณะพกั ผอ นหยอนใจสําหรบั ประชาชน พ้นื ทร่ี บั นํ้าทําการเกษตร พระบรมราชานุสาวรยี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช อยใู นลักษณะสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงมา ศึก ประดิษฐานบนแทนและลานหินสขี าว โดยเลือกเหตุการณตอนทรงมาออกมาสงั หาร “ลักไวทาํ มู” ทหารเอกของ พระเจาหงสาวดี นอกจากนี้ยังสรางเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 เน่ืองใน วโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ป รายงานประจาํ ป 2558 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook