Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนงานเครื่องยนต์ดีเซล หน่วยที่ 13

แผนงานเครื่องยนต์ดีเซล หน่วยที่ 13

Published by ธนาธิป ทองศิริ, 2023-06-30 01:34:03

Description: แผนงานเครื่องยนต์ดีเซล หน่วยที่ 13

Search

Read the Text Version

แผนการสอนมุ่งเน้นสมรรถนะ วิชางานเครื่องยนต์ดีเซล รหัสวิชา 20101-2002 หลักสูตาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชา อุตสาหกรรม ระบบหล่อลื่นหเคน่รวื่อยงทีย่ น1ต3์ นายธนาธิป ทองศิริ เเผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคชุมพร

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 13 สอนครงั้ ท่ี 16

80 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 ชอื่ วชิ า งานเครื่องยนต์ดีเซล เวลาเรยี นรวม 126 ชว่ั โมง ชือ่ หนว่ ย ระบบหล่อลน่ื เครื่องยนต์ สอนครั้งที่ 16 ชื่อเรือ่ ง ระบบหลอ่ ลน่ื เครอ่ื งยนต์ จานวนชว่ั โมง 7 ชว่ั โมง หวั ข้อเรื่อง 1 หน้าทแี ละการทางานของระบบหลอ่ ลืน่ 2 ส่วนประกอบของระบบหล่อลื่น 3 น้ามนั เครอ่ื ง สาระสาคญั เคร่อื งยนต์ดเี ซล ใชน้ ้ำมนั เครอื่ งท่ีเกรดไมส่ ูงมำกนัก แต่มปี ระสทิ ธภิ ำพกำรลดกำรเสยี ดทำ และคลำควำมร้อนที่ไดส้ งู กว่ำ แต่ในขณะทเี่ คร่ืองยนต์ทำ้ งำนน้ำมนั ดเี ซลจะถูกฉดี เขำ้ ไปในห้องเผำ ไหมใ้ นรปู ของของเหลว อำกำศในกระบอกสบู ทถ่ี ูกอัดให้มีควำมดันสูง และมีอุณหภูมิเพิ่มสงู ขึน จนถึง จุดติดไฟของนำ้ มนั ดีเซล ท้ำใหเ้ กดิ กำรเผำไหม้ขนึ เองได้เม่ือมีกำรฉีดเชือเพลงิ เข้ำไปในห้องเผำไหม้ ดว้ ยเหตุผลเร่ืองของควำมร้อนของอำกำศทต่ี ้องกำรใหม้ ีอุณหภมู สิ ูง อตั รำสว่ นกำรอัดของเครื่องยนต์ ดีเซลจงึ สงู กวำ่ เครื่องยนต์เบนซนิ ดงั นันจึงมรี ะบบหลอ่ ลืน่ ของเครื่องยนตด์ ีเซลไดม้ ีกำรพัฒนำมำเป็น ลำ้ ดับอย่ำงต่อเน่ืองเพื่อลดควำมร้อนและเป็นฟิล์มบำงๆเพ่ือลดกำรเสียดทำนในกำรเคล่ือนที่ของ ชินสว่ นต่ำงๆภำยในเครือ่ งยนต์ดเี ซล สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจาหนว่ ย) 1 แสดงความรเู้ กีย่ วกบั ระบบหล่อล่ืนของเครอ่ื งยนต์ดีเซล 2 ถอดประกอบระบบหล่อลืน่ ของเครื่องยนต์ดเี ซลและส่วนตา่ งๆตามคู่มือซ่อม สมรรถนะยอ่ ย (สมรรถนะการเรียนรู้) สมรรถนะทวั่ ไป (ทฤษฎ)ี 1 แสดงความร้หู น้าทีและการทางานของระบบหลอ่ ลน่ื เคร่ืองยนต์ดีเซล 2 แสดงความรูส้ ว่ นประกอบของระบบหล่อลน่ื เครื่องยนต์ดเี ซล สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ทฤษฎ)ี เมอ่ื ผ้เู รยี นไดศ้ กึ ษาเนื้อหาในบทนแี้ ลว้ ผเู้ รยี นสามารถ 1 อธบิ ายถึงหน้าทแี ละการทางานของระบบหล่อลน่ื เคร่อื งยนต์ดีเซลได้ถูกต้อง 2 บอกสว่ นประกอบของระบบหล่อลนื่ เครือ่ งยนต์ดเี ซลได้ถูกต้อง สมรรถนะทวั่ ไป (ปฏบิ ตั ิ) 1 แสดงทกั ษะในการเปล่ียนน้ามนั เครอื่ งเคร่ืองยนต์ดเี ซลได้ถูกต้อง สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์ (ปฏิบตั ิ) เมอ่ื ผู้เรยี นไดศ้ ึกษาเน้อื หาในบทนแ้ี ลว้ ผเู้ รยี นสามารถ 1 สามารถเปลี่ยนน้ามันเคร่ืองเครอ่ื งยนตด์ ีเซลได้ถกู ต้องตามคมู่ ือ

81 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 13 ชอื่ วิชา งานเคร่ืองยนตด์ ีเซล เวลาเรยี นรวม 126 ชั่วโมง ชือ่ หน่วย ระบบหลอ่ ล่ืนเครื่องยนต์ สอนครั้งท่ี 16 ชือ่ เร่อื ง ระบบหลอ่ ลนื่ เครอื่ งยนต์ จานวนชว่ั โมง 7 ชว่ั โมง กจิ กรรมการเรียนการสอน ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชางานเคร่ืองยนต์ดีเซล ได้กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก (Active Learning Competency Based) ด้านเทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบ MAIP โดยมีข้ันตอนในการดาเนินกิจกรรมการเรียนการ สอน ดงั น้ี กิจกรรมการเรยี นการสอน (สอนครั้งท่ี ๑ ) เวลา 7 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ๑. ผู้สอนชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบาย รายวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนรายวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของรายวิชา และข้อตกลงใน การจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ๒. ผู้สอนแสดงตวั อย่างเก่ียวกับระบบระบบหล่อลน่ื เครื่องยนต์ ๓. ผู้สอนถา่ ยทอดความร้ใู นหน่วยที่ 13 เรื่องระบบหลอ่ ล่ืนเครอื่ งยนต์ ๔. ผู้สอนแสดงใบงานเรือ่ งระบบหล่อลน่ื เครื่องยนต์และอธิบายขั้นตอนวธิ กี ารในการ ปฏบิ ัติงานตามใบงานเรอ่ื งระบบหลอ่ ล่นื เครื่องยนต์ ๕. ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัตงิ านของตนตามใบปฏิบตั ิงานระบบระบบหล่อลนื่ เคร่ืองยนต์ ๖. ผู้สอนประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของผู้เรียนและให้ผูเ้ รยี นสรปุ สาระสาคญั ของเร่ืองท่เี รียน ประจาสปั ดาห์ ส่ือการสอน ๑. เอกสารประกอบการสอน ๒. เอกสารประกอบการเรียน ๓. สอ่ื นาเสนอ PowerPointงานทมี่ อบหมาย/กจิ กรรม ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ เสริมทักษะตามใบงานท้ายหนว่ ยการเรยี นท่ี 13 การวดั และประเมนิ ผล วดั ผล/ประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ๑. สมรรถนะที่พงึ - ทาแบบฝึกเสรมิ ทักษะ - ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ ประสงค์ ทา้ ยหน่วย - แบบฝึกเสริมทกั ษะ ทา้ ยหนว่ ย - ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๘๐ ๒. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ - ประเมินคุณลักษณะอัน - แบบประเมนิ ประสงค์ (Attitude) พึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพึง ประสงค์

85 ภาคผนวก ใบความรู้ – แบบทดสอบ ใบปฏิบตั งิ าน – สื่อการสอน

ใบความรู้ เรอื่ ง ระบบหลอ่ ลื่นของเคร่อื งยนตด์ ีเซล 1. หน้าทแี่ ละการทางานของระบบหล่อลน่ื การเคล่ือนทีข่ องช้ินส่วนเครือ่ งยนต์ที่เกดิ การหมนุ สัมผัสกันจะทาให้เกิดแรงเสียดทาน (Friction)ระหวา่ งชิน้ ส่วน แรงเสียดทานมผี ลตอ่ การตา้ นทานการเคลอ่ื นทข่ี องชิ้นสว่ น ทาให้เกดิ ความร้อน ความต้านทานการเคล่ือนท่ีจะมากหรือน้อยนัน้ ขน้ึ อยู่กบั ตัวแปรหลายตวั แปร เช่น ความเรว็ ในการเคล่ือนท่ี แรงกระทาระหว่างช้นิ ส่วน ชนดิ ของวัสดุที่ทาชิน้ สว่ น ผวิ สมั ผัสของชิ้นสว่ น ผวิ ของช้ินสว่ นท่ีมองเห็นว่ามีความ เรียบสูง แต่ก็ยังคงมีความขรุขระอยู่บนพนื้ ผวิ เมอ่ื สมั ผัสกัน จะเกิดแรงเสียดทานข้นึ ระหว่างการเคลื่อนที่ ส่งผล ให้เกิดความร้อน เกิดการขยายตัวของชนิ้ ส่วน จนทาใหเ้ กิดการขดั ตัวของช้ินส่วนขึน้ สรุปหนา้ ทข่ี องระบบหล่อลนื่ ไดด้ ังนั้น 1. ลดแรงเสยี ดทานระหวา่ งชิน้ ส่วนท่ีสัมผสั กัน 2. ระบายความร้อนออกจากชน้ิ สว่ น 3. ป้องกนั กาลังอกั ร่วั ไหลโดยทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ซีล(Seal) 4. ป้องกนั การกระแทกระหวา่ งช้นิ ส่วนทม่ี ีแรงกดระหว่างเคลื่อนที่ 5. ทาความสะอาดช้ินส่วนภายในเครอ่ื งยนต์ วงจรนามันเครือ่ งในเครื่องยนต์

2. ส่วนประกอบของระบบหล่อลืน่ 2.1 ชดุ จ่ายนามันเครื่อง(Oil Supply)จะเปน็ อปุ กรณ์สาหรบั พาน้ามันเครอื่ งจากอ่าง นา้ มันเครอ่ื งสปู่ ัม๊ น้ามนั เคร่อื ง โดยทัว่ ไปจะมีกรองหยาบดา้ นลา่ งเช่อื มต่อกับท่อทางปั๊มน้ามนั เครือ่ ง 2.2 ป๊มั นามันเคร่อื ง(Oil pump)ทาหน้าทดี่ ดู นา้ มันเครอ่ื งและสรา้ งแรงดันน้ามนั เครื่องให้ สามารถหมนุ เวยี นในระบบ โดยไหลผ่านช้นิ ส่วนที่เคลื่อนท่ี เพ่ือหลอ่ ลืน่ ผวิ สัมผสั ของชน้ิ สว่ นต่างๆ 2.3 ป๊มั แบบฟนั เฟอื ง(Gear pump)ป๊ัมแบบนจี้ ะมีฟนั เฟืองตวั ในและฟันเฟืองตวั นอกอยู่ เย้ืองศูนย์กันชอ่ งวา่ งระหว่างฟนั เฟืองท้ังสองจะมีลกั ษณะเปน็ เสี่ยวพระจนั ทร์ เม่ือฟันเฟืองตัวนอกหมนุ ตาม ด้วย ปั๊มแบบฟนั เฟอื ง(Gear pump) 2.4 ปม๊ั แบบโรเตอร(์ Trochoid Type)ทางานโดยโรเตอรต์ วั ในขบั ไปขับโรเตอร์ตัวนอกและจะหมนุ ไฟพรอ้ มกนั ช่องวา่ งระหวา่ งโรเตอรต์ วั นอกและตัวในจะมีน้ามันเข้าไปบรรจแุ ละเมือ่ หมนุ ไปหนึ่งรอบครง่ึ เน่ืองจากการวางตาแหนง่ โรเตอร์เยื้องศนู ย์ ปัม๊ แบบโรเตอร์(Trochoid Type)

2.5 อุปกรณป์ รบั แรงดนั นามันและลนิ ระบาย(Oil Regulator and Relief Value)เม่ือความเรว็ รอบสูงขึ้น ปม๊ั นา้ มนั เครื่องมักจะสรา้ งแรงดนั น้ามันมากเกินความจาเปน็ เพื่อเปน็ การป้องกันไม่ให้แรงดันสงู จนเกินไป อุปกรณ์ปรับแรงดนั นามันและลินระบาย(Oil Regulator and Relief Value) 2.6 อา่ งนามนั เครื่อง(Oil Pan)อ่างเคร่ืองเป็นส่วนประกอบอยู่สว่ นล่างของเคร่ืองยนต์ทาหนา้ ทีเ่ ก็บ น้ามันเครอื่ งเพื่อใช้งานในระบบหล่อล่นื อา่ งนามนั เครอ่ื ง(Oil Pan) 2.7 กรองนามันเครอ่ื ง(Oil filter)กรองนา้ มนั เคร่ืองทีใ่ ชใ้ นเครือ่ งยนต์ดีเซลจะ ประกอบดว้ ยกรองหยาบและกรองละเอยี ด โดยจะตดิ ตั้งอยู่ท่อทางเขา้ ปั๊มนา้ มันเครื่องโดยทาหน้าท่ีป้องกัน ไมใ่ หเ้ ศษผงหรือส่ิงสกปรกชนิ้ ใหญ่ๆเชน่ เศษโลหะที่สึกหรอกถกู ดูดเข้าไปในท่อทางเดนิ น้ามนั เครอื่ ง กรองนามันเครื่อง(Oil filter)

2.8 กา้ นวัดระดับนามนั เครอื่ ง(Oil level gauge)ก้านวดั ระดบั นา้ มันเครือ่ งจะติดตั้งอยู่ กบั เสอื้ สูบ ใช้วัดดรู ะดับนา้ มันเครือ่ ง ซึง่ มีขดี เส้นระดับแสดงไว้ 2เสน้ คอื H และL ระหว่างขีด H กบั ขีดL จะมี ปริมาตรตา่ งกนั ประมาณ 1ลิตร ก้านวดั ระดับนามันเครอ่ื ง(Oil level gauge) 2.10 นามนั เครอ่ื ง(Oil)เครือ่ งยนต์ตอ้ งสามารถทนต่ออุณหภูมเิ คร่ืองยนต์ไดส้ ูง โดยท่ีแผ่นฟิลม์ ไมข่ าดและไม่จบั ตวั รวบกนั ที่อณุ หภูมิต่า ในอณุ หภูมปิ กตใิ นหอ้ งเคร่ืองต้องไม่ระเหยกลายเปน็ ไอและเกิด คาร์บอนเมอ่ื เครือ่ งยนต์ทางานทอี่ ุณหภูมิปกติ นามันเคร่อื ง(Oil)

ระบบหล่อลน่ื ของเคร่ืองยนตด์ เี ซล หน้าทแ่ี ละการทางานของระบบหล่อลน่ื การเคล่อื นท่ีของชิน้ สว่ นเคร่อื งยนตท์ ่ีเกิดการหมนุ สมั ผสั กนั จะทาใหเ้ กิด แรงเสยี ดทาน(Friction)ระหวา่ งชิน้ สว่ น แรงเสยี ดทานมีผลตอ่ การตา้ นทาน การเคล่อื นท่ีของชิน้ สว่ น ทาใหเ้ กิดความรอ้ น ความตา้ นทานการเคล่ือนท่ีจะ มากหรอื นอ้ ยนนั้ ขนึ้ อยกู่ บั ตวั แปรหลายตวั แปร เช่น ความเรว็ ในการเคล่อื นท่ี แรงกระทาระหวา่ งชิน้ สว่ น ชนิดของวสั ดทุ ่ีทาชิน้ สว่ น ผิวสมั ผสั ของชิน้ สว่ น ผวิ ของชิน้ สว่ นท่ีมองเหน็ วา่ มีความเรยี บสงู แตก่ ย็ งั คงมีความขรุขระอยบู่ นพืน้ ผวิ เม่ือสมั ผสั กนั จะเกิดแรงเสียดทานขนึ้ ระหวา่ งการเคล่อื นท่ี สง่ ผลใหเ้ กิดความ รอ้ น เกิดการขยายตวั ของชิน้ สว่ น จนทาใหเ้ กิดการขดั ตวั ของชิน้ ส่วนขนึ้

สรุปหน้าทข่ี องระบบหล่อลื่นไดด้ งั นั้น 1. ลดแรงเสยี ดทานระหวา่ งชิน้ สว่ นท่ีสมั ผสั กนั 2. ระบายความรอ้ นออกจากชิน้ สว่ น 3. ปอ้ งกนั กาลงั อกั ร่วั ไหลโดยทาหนา้ ท่ีเป็นซีล(Seal) 4. ปอ้ งกนั การกระแทกระหวา่ งชิน้ สว่ นท่ีมีแรงกดระหวา่ งเคล่อื นท่ี 5. ทาความสะอาดชิน้ สว่ นภายในเครอ่ื งยนต์ วงจรนำ้ มนั เครื่องในเคร่อื งยนต์

ส่วนประกอบของระบบหล่อลน่ื 2.1 ชุดจ่ายนา้ มนั เครื่อง(Oil Supply)จะเป็นอุปกรณ์สำหรับพำน้ำมนั เครื่องจำก อำ่ งน้ำมนั เคร่ืองสู่ปั๊มน้ำมนั เคร่ือง โดยทว่ั ไปจะมีกรองหยำบดำ้ นล่ำงเชื่อมต่อกบั ท่อทำงป๊ัมน้ำมนั เครื่อง 2.2 ปั๊มนา้ มนั เครื่อง(Oil pump)ทำหนำ้ ท่ีดูดน้ำมนั เคร่ืองและสร้ำงแรงดนั น้ำมนั เคร่ืองใหส้ ำมำรถหมุนเวยี นในระบบ โดยไหลผำ่ นชิ้นส่วนท่ีเคลื่อนที่ เพื่อ หลอ่ ล่ืนผวิ สมั ผสั ของชิ้นส่วนต่ำงๆ

ส่วนประกอบของระบบหล่อลน่ื ปมั๊ แบบฟนั เฟือง(Gear pump) 2.3 ปั๊มแบบฟันเฟื อง(Gear pump)ป๊ัมแบบน้ีจะมีฟันเฟื องตวั ในและ ฟันเฟื องตวั นอกอยเู่ ย้อื งศูนยก์ นั ช่องวำ่ งระหวำ่ งฟันเฟื องท้งั สองจะมีลกั ษณะ เป็นเส่ียวพระจนั ทร์ เมื่อฟันเฟื องตวั นอกหมุนตำมดว้ ย

ส่วนประกอบของระบบหล่อลนื่ ปั๊มแบบโรเตอร(์ Trochoid Type) 2.4 ปั๊มแบบโรเตอร์(Trochoid Type)ทำงำนโดยโรเตอร์ตวั ในขบั ไปขบั โร เตอร์ตวั นอกและจะหมุนไฟพร้อมกนั ช่องวำ่ งระหวำ่ งโรเตอร์ตวั นอกและตวั ในจะมีน้ำมนั เขำ้ ไปบรรจุและเมื่อหมุนไปหน่ึงรอบคร่ึงเน่ืองจำกกำรวำงตำแหน่งโรเตอร์เย้อื งศูนย์

ส่วนประกอบของระบบหล่อลนื่ อุปกรณป์ รบั แรงดันน้ำมนั และลนิ ระบำย(Oil Regulator and Relief Value) 2.5 อปุ กรณ์ปรับแรงดนั นา้ มนั และลนิ้ ระบาย(Oil Regulator and Relief Value) เม่ือควำมเร็วรอบสูงข้ึน ปั๊มน้ำมนั เคร่ืองมกั จะสร้ำงแรงดนั น้ำมนั มำกเกินควำม จำเป็น เพื่อเป็นกำรป้องกนั ไม่ใหแ้ รงดนั สูงจนเกินไป

ส่วนประกอบของระบบหล่อลนื่ อ่ำงน้ำมันเคร่อื ง(Oil Pan) 2.6 อ่างนา้ มนั เครื่อง(Oil Pan)อำ่ งเคร่ืองเป็นส่วนประกอบอยสู่ ่วนล่ำง ของเคร่ืองยนตท์ ำหนำ้ ที่เกบ็ น้ำมนั เครื่องเพ่อื ใชง้ ำนในระบบหล่อล่ืน

ส่วนประกอบของระบบหล่อลน่ื กรองนำ้ มนั เครื่อง(Oil filter) 2.7 กรองนา้ มันเคร่ือง(Oil filter)กรองน้ำมนั เครื่องที่ใชใ้ น เครื่องยนตด์ ีเซลจะประกอบดว้ ยกรองหยำบและกรองละเอียด โดยจะติด ต้งั อยทู่ ่อทำงเขำ้ ปั๊มน้ำมนั เคร่ืองโดยทำหนำ้ ที่ป้องกนั ไม่ใหเ้ ศษผงหรือส่ิง สกปรกชิ้นใหญ่ๆเช่นเศษโลหะท่ีสึกหรอกถูกดูดเขำ้ ไปในท่อทำงเดิน น้ำมนั เครื่อง

ส่วนประกอบของระบบหล่อลนื่ กำ้ นวัดระดับน้ำมันเคร่ือง(Oil level gauge) 2.8 ก้านวดั ระดบั นา้ มนั เคร่ือง(Oil level gauge)กำ้ นวดั ระดบั น้ำมนั เคร่ืองจะติดต้งั อยกู่ บั เส้ือสูบ ใชว้ ดั ดูระดบั น้ำมนั เคร่ือง ซ่ึงมีขีด เส้นระดบั แสดงไว้ 2เส้น คือ H และL ระหวำ่ งขีด H กบั ขีดL จะมีปริมำตร ตำ่ งกนั ประมำณ 1ลิตร

ส่วนประกอบของระบบหล่อลื่น นำ้ มนั เครอื่ ง(Oil) 2.10 นา้ มนั เคร่ือง(Oil)เครื่องยนตต์ อ้ งสำมำรถทนต่ออุณหภูมิ เคร่ืองยนตไ์ ดส้ ูง โดยท่ีแผน่ ฟิ ลม์ ไม่ขำดและไม่จบั ตวั รวบกนั ท่ีอุณหภูมิต่ำ ใน อุณหภูมิปกติในหอ้ งเคร่ืองตอ้ งไม่ระเหยกลำยเป็นไอและเกิดคำร์บอนเม่ือ เคร่ืองยนตท์ ำงำนที่อุณหภูมิปกติ



แบบทดสอบเร่ืองระบบหลอ่ ลื่นเครือ่ งยนต์ วชิ างานเครอื่ งยนตด์ ีเซล รหสั วชิ า 20101 - 2002 คำส่ัง จงเลอื กคำตอบที่ถกู ตอ้ งทสี่ ดุ (X) ลงในข้อสอบเพยี งคำตอบเดยี ว (10 คะแนน) 1. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ นา้ ทีข่ องระบบนา้ มนั เครือ่ ง ก. ท้าความสะอาดชินส่วน ข. เพ่ิมกำลังอัดในกระบอกสบู ค. ระบายความรอ้ นออกจากชินส่วน ง. ลดแรงเสยี ดทานของชินส่วนทสี่ ัมผัสกัน 2. ระบบหลอ่ ลนื่ ทน่ี ยิ มใช้กนั มากทส่ี ดุ คือแบบใด ก. แบบวดิ สาด ข. แบบใชแ้ รงดัน ค. แบบผสม ง. แบบใช้แรงดนั จากการเผาไหม้ 3. เหตใุ ดต้องเตมิ สารเพ่ิมคณุ ภาพในนา้ มนั เครอ่ื งเครอ่ื งยนต์ดเี ซล ก. เพอ่ื ให้เครือ่ งยนต์มกี า้ ลงั มากขึน ข. เพ่อื ปอ้ งกนั กา้ ลงั อดั รว่ั ค. เพ่อื ให้ทนควำมรอ้ นและควำมดนั จำกกำรเผำไหม้ ง. เพ่อื ให้ทนต่อสงิ่ สกปรกท่ีปนเปอื้ นในนา้ มัน 4. น้ามันเคร่ืองจะเสื่อมคณุ ภาพทอี่ ณุ หภูมเิ ทา่ ไร ก. 110 องศาเซลเซียส ข. 117 องศาเซลเซียส ค. 128 องศาเซลเซยี ส ง. 130 องศำเซลเซียส 5. อุปกรณ์ใดท้าให้น้ามนั เคร่อื งสามารถหมนุ เวยี นในระบบได้ ก. ท่อทางน้ามนั เครือ่ ง ข. ป๊มั นำมนั เครือ่ ง ค. ลินควบคมุ แรงดัน ง. อา่ งนา้ มันเครอ่ื ง 6. ขอ้ ใดไมใ่ ชส่ มบตั ขิ องน้ามันเครื่องท่ีดี ก. เกาะผิวชนิ สว่ นไดด้ ี ข. ชินส่วนฟลิ ์มไมข่ าดง่าย ค. มีความลนื่ สงู ง. เมือ่ อุณหภูมสิ งู จะระเหยได้ดี 7. เหตใุ ดจึงต้องใช้ออยลค์ ูลเลอร์ในเครื่องยนตด์ เี ซล ก. ลดแรงดันน้ามันเครื่อง ข. เพ่มิ แรงดันน้ามันเคร่ือง ค. ระบำยควำมร้อนนำมันเคร่ือง ง. ลดความร้อนน้าหล่อเย็น 8. แรงดนั ในระบบหลอ่ ลื่นถูกควบคุมด้วยอุปกรณ์ใด ข. ปัม๊ น้ามันแบบโรตาร่ี ก. ป๊มั นา้ มนั แบบฟันเฟอื ง ง. ลินปรบั แรงดันและลนิ ระบำย ค. ลนิ เพมิ่ แรงดนั และลนิ ระบาย ข. แรงดนั น้ามนั เคร่อื งลดลงอยา่ งรวดเร็ว 9. ขอ้ ใดคือผลกระทบจากการหลอ่ ลนื่ ไมเ่ พยี งพอ ง. น้ามันเครื่องจะเหลวมาก ก. ชินสว่ นเกดิ กำรสึกหรออย่ำงรวดเร็ว ค. น้ามันเครอ่ื งเส่อื มสภาพ ข. นำมนั เคร่ืองตำ่ กวำ่ ระดับกำหนด ง. การเลอื กใช้น้ามนั ผดิ เบอร์ 10. เหตุใดจึงเกดิ ฟองอากาศในระบบหลอ่ ลนื่ ก. การหลอ่ ลื่นไมเ่ พยี งพอ ค. อณุ หภูมเิ คร่ืองยนตต์ ่้าเกนิ ไป

ใบงำน กำรเปลย่ี นถ่ำยนำมนั เครื่อง และกรองนำมนั เครือ่ ง วัตถุประสงค์ เพอื่ ใหน้ ักเรียน-นกั ศกึ ษาสามารถการถอดและประกอบกรองน้ามันเคร่ืองไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง อปุ กรณ์สื่อกำรสอน เครอ่ื งยนตด์ เี ซล เวลา 6 ชวั่ โมง http://www.oknation.net/blog/swkk/2007/05/27/entry-4 รูปท่ี 45 น้ามันหลอ่ ล่นื และไส้กรอง ขนั ตอนในกำรปฏิบัตงิ ำนกำรเปลยี่ นถำ่ ยนำมนั เคร่ือง 1. เปดิ ฝากระโปรงรถยนต์ขนึ แล้วใช้ผ้ายางคลมุ กันสรี ถยนต์ 2. ใชเ้ ครอื่ งมอื ถอดนอ็ ตถา่ ยกรองนา้ มนั เคร่อื งออก รูปท่ี 46 การถอดนอ็ ตถ่ายนา้ มนั หล่อลนื่

3. รอใหน้ ้ามันเครือ่ งไหลออกมาจนหมด http://pantip.com/topic/30135515 รปู ที่ 47 การรอใหน้ า้ มันเคร่อื งไหลออกมาจนหมด 4. น้าน็อตถ่ายน้ามันเครอ่ื งพร้อมแหวนรอง มาทา้ ความสะอาด และเปล่ียนแหวนรองตวั ใหม่ รูปที่ 48 การท้าความสะอาด และเปล่ยี นแหวนรองตวั ใหม่ 5. ใชเ้ ครื่องมือ ถอดกรองน้ามนั เครอ่ื งออก แลว้ รอใหน้ ้ามันเคร่ืองไหลออกมาจนหมด รปู ท่ี 49 การถอดกรองนา้ มนั เครื่องออก

6. ใชผ้ ้าเช็ดท้าความสะอาดหนา้ แปลนของ เสอื กรองน้ามันหล่อลน่ื ใหส้ ะอาด รูปท่ี 50 การท้าความสะอาดหนา้ แปลนของ เสอื กรองน้ามันหล่อลน่ื 7. น้ากรองน้ามนั หล่อลน่ื อนั ใหมใ่ ส่เขา้ ไปโดยใชม้ อื ขนั ให้แน่น รูปท่ี 51 การนา้ กรองน้ามนั หล่อลน่ื อันใหม่ใส่เข้ากับเครอ่ื งยนต์

ใบประเมินผล วนั ที่ ....................... เร่ือง/งำน ระบบหล่อลื่นของเครอื่ งยนตด์ ีเซล ผปู้ ระเมนิ .................. ชือ่ – นามสกลุ ……………………………………………… เลขประจ้าตวั …………………………………ชนั …………… คำแนะนำ ใหท้ ้าเคร่ืองหมาย  ในชอ่ งคะแนนท่ีเหมาะสม โดยพิจารณาจากเกณฑ์คะแนนท่ใี หม้ า จุดประเมนิ คะแนน คะแนนท่ีได้ 10 6 1 0 กระบวนกำรแก้ปญั หำ 1. การเตรยี มเครอ่ื งมือ วัสดุ อปุ กรณ์ 2. ความถูกต้องในการใช้เคร่ืองมอื 3. ขนั ตอนการปฏิบตั ิงาน 4. ความตังใจในการทา้ งาน คณุ ภาพของ 1. ผลส้าเร็จของงาน ผลงาน 2. วิธีแก้ปัญหาเหมาะกบั สถานการณ์ 3. มีการรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน เจตคติ 1. การท้างานร่วมกบั ผ้อู น่ื 2. มีมารยาทและสมั มาคาราวะ 3. มีความรับผดิ ชอบ ซอ่ื สตั ย์ และตรงต่อเวลา รวมคะแนน เร่มิ งานเวลา.................... เสรจ็ งานเวลา.................................. ใช้เวลา...........ชม.............นาที สรปุ ผลการประเมนิ ผ่าน ไมผ่ ่าน เพราะ............................................................... เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอย่างครบถ้วน คะแนน 10 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั งิ านบางส่วน แตไ่ มน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 50 คะแนน 6 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานบางส่วน แต่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 คะแนน 1 หมายถงึ ไม่มผี ลการปฏบิ ตั ิงาน คะแนน 0


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook