หน่วยที่ 4 การออกแบบการวิจยั
โครงสรา้ งเน้ อื หา 1. เป้าหมายของการออกแบบการวจิ ยั 2. องค์ประกอบของการออกแบบการวจิ ยั 3. การออกแบบการวจิ ยั เชิงทดลอง 4. การออกแบบการวจิ ยั เชิงพฒั นา 5. การออกแบบการวจิ ยั เชิงบรรยาย
งานวจิ ยั มีท้งั ความตรงหรือความเที่ยงตรงภายใน (Internal Validity) และความตรงหรือความเท่ียงตรงภายนอก (External Validity) กรอบ การออกแบบการวจิ ยั (Research Design) มีองคป์ ระกอบ 3 ส่วน ความคิดหลกั การออกแบบการเลือกกลุ่มตวั อยา่ ง การออกแบบการวดั ตวั แปร และ การออกแบบการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การออกแบบการวจิ ยั เชิงทดลอง (Experimental Design) เป็นการวางแผนการทดลอง เพือ่ ศึกษาความสมั พนั ธ์เชิงสาเหตุระหวา่ ง ตวั แปรอิสระและตวั แปรตาม โดยมีการจดั กระทาตวั แปรทดลอง การออกแบบการวจิ ยั เชิงพฒั นา (Research and Development Design) เป็นการวางแผนการวจิ ยั เพื่อพฒั นานวตั กรรมการเรียนการสอนอนั เป็ น ประโยชนต์ ่อวงการศึกษา การวจิ ยั เชิงบรรยาย (Naturalistic Research) เป็ นการทาวจิ ยั ท่ีมุ่งบรรยาย ความเป็นปกติวสิ ยั (Norms) ของปรากฏการณ์ธรรมชาติ
วตั ถุประสงค์ วเิ คราะห์ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความตรงภายใน (Internal Validity) และความตรงภายนอก (External Validity) ได้ อธิบายถึงองคป์ ระกอบของการออกแบบการวิจยั ได้ ออกแบบการวจิ ยั เชิงทดลองได้ ออกแบบการวจิ ยั เชิงพฒั นาได้ ออกแบบการวจิ ยั เชิงบรรยายได้
กจิ กรรม ศึกษาเอกสาร ค้นคว้าเอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง ฝึ กออกแบบการวจิ ยั นาเสนอตวั อย่างงานวจิ ัย ทาแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยการเรียน
เป้าหมายของการออกแบบการวจิ ยั ความเท่ียงตรงภายใน (Internal Validity) ผลการวจิ ัยทค่ี วามผนั แปรทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ตัวแปรตามซึ่งวดั ได้เป็ น ผลมาจากตัวแปรอสิ ระทศ่ี ึกษาโดยตรง ความเที่ยงตรงภายนอก ( External Validity ) ผลการวจิ ยั ซึ่งวเิ คราะห์ผลจากกลุ่ม ตวั อย่าง สามารถสรุปอ้างองิ (Inference) ไปสู่กล่มุ ประชากรเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง
องค์ประกอบของการออกแบบการวจิ ยั 1 การออกแบบการสุ่มกล่มุ ตวั อย่าง ( Sampling Design ) 1) การกาหนดรูปแบบและวธิ ีการสุ่มตวั อยา่ ง 2) การกาหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ ง 2 การออกแบบการวดั ตัวแปร (Measurement Design) 1) การกาหนดรูปแบบและวธิ ีการวดั ค่าตวั แปรอิสระและตวั แปรตาม 2) การกาหนดรูปแบบและวธิ ีวดั ค่าตวั แปรหรือควบคุมตวั แปรเกิน 3 การออกแบบการวเิ คราะห์ข้อมูล (Analysis Design) 1) การเลือกใชส้ ถิติและวธิ ีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลท่ีเหมาะสมกบั ขอ้ มูลแลวตั ถุประสงค์ 2) การจดั เตรียมขอ้ มูลเพอ่ื การวเิ คราะห์ 3) การวเิ คราะห์และแปลผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลที่ถูกตอ้ ง 4) การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลท่ีเหมาะสม
การออกแบบการวจิ ัยเชิงทดลอง 1.ส่วนประกอบของการออกแบบการทดลอง 1.1) กลุ่มที่ไดร้ ับการจดั กระทา (Manipulate) ตามตวั แปรทดลอง (Treatment) ที่ตอ้ งการทดสอบผลเรียกวา่ กล่มุ ทดลอง (Experimental Group) 1.2)กลุ่มที่ไม่ไดร้ ับการจดั กระทาตามตวั แปรทดลองที่ตอ้ งการ ทดสอบผล เรียกวา่ กล่มุ ควบคมุ (Control Group) 2.ประเภทของการออกแบบการทดลอง 1) การวิจัยเชิงทดลองเบือ้ งต้น (Pre-experimental Design) 2) การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (Quasi- experimental Design) 3) การวิจัยเชิงทดลองแท้จริง (True-experimental Design)
ในการเขยี นผงั การทดลองขอใช้สัญลกั ษณ์ต่างๆ เพ่ือสื่อความหมายดงั ต่อไปนี้ Group = กลุ่ม Ex = การทดลอง Co = การควบคุม E = กลุ่มทดลอง ( Experimental Group ) C = กลุ่มควบคุม ( Control Group ) R = การจดั ดาเนินการแบบสุ่ม (Randomization) X = การจัดกระทาตามการทดลอง (Treatment) T1 = การวดั ผลก่อนการทดลอง (Pretest) T2 = การวดั ผลหลงั การทดลอง (Posttest)
1) การออกแบบการวจิ ัยเชิงทดลองเบื้องต้น (Pre – experimental Design) รูปแบบ 1 ผงั การทดลอง Ex กลุ่มทดลองกลุ่มเดยี ว วดั ผลเฉพาะหลงั การทดลอง X T2 ( The single group, posttest – only - Design หรือ One-shot case Studies) การวิเคราะห์ผล ใช้วิธีการบรรยายข้อมลู จาก Posttest เท่าน้ัน รูปแบบ 2 กลุ่มทดลองกลุ่มเดยี ว ,วดั ผลก่อนและหลงั การทดลอง T1 X T2 ( The single group , pretest – posttest Design ) การวิเคราะห์ผล เปรียบเทียบระหว่าง Pretest กบั Posttest โดยใช้ t-test รูปแบบ 3 กลุ่มทดลองกลุ่มเดยี ว, วดั ผลหลายคร้ังก่อนและหลงั การ ทดลอง ( The single group ,pretest – posttest time series Design ) T11 T12 T13 X T21 T22 T23 การทดสอบผล ใช้ ANOVA
2) การออกแบบการวจิ ยั เชิงกง่ึ การทดลอง (Quasi – experimental Design ) รูปแบบ 4 ผงั การทดลอง กลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคมุ ที่ไม่เท่าเทียมกนั วดั ผลก่อนและหลงั การทดลอง Ex T1 X T2 (Non – equivalent control group, Pretest – Posttest Design) Co T1 - T2 แนวทางการวิเคราะห์ผล 1. เปรียบเทียบ Pretest โดยใช้ t-test 2. เปรียบเทียบ Posttest เพ่ือดคู วามแตกต่างของผลการทดลองโดยใช้ t-test รูปแบบ 5 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคมุ ท่ไี ม่เท่าเทยี มกนั วดั ผลหลายคร้ังก่อนและหลงั การทดลอง (Non–equivalent control group, Pretest–Posttest time series Design) Ex T11 T12 T13 X T21 T22 T23 Co T11 T12 T13 - T21 T22 T23 การวิเคราะห์ผล เปรียบเทียบผลโดยใช้ ANOVA
การออกแบบการวจิ ัยเชิงทดลองทีแ่ ท้จริง ( True – experimental Design ) รูปแบบ 6 ผงั การทดลอง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมทแ่ี ท้จริง วดั ผลเฉพาะหลงั การทดลอง Ex R X T2 (True control group , Posttest – only Design ) Co R - T2 การวิเคราะห์ผล โดยการเปรียบเทียบ Posttest ของทุกกล่มุ โดยใช้ t-test หรือ one-way ANOVA แล้วแต่กรณี รูปแบบ 7 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมทแ่ี ท้จริง,วดั ผลก่อนและหลังการทดลอง Ex R T1 X T2 (True control group , Pretest – Posttest Design) Co R T1 - T2 การวิเคราะห์ผล 1. เปรียบเทียบ Pretest โดยใช้ t-test หรือ ANOVA เพ่ือดูความแตกต่าง 2 . เปรียบเทียบ Posttest โดยใช้ t-test หรือ ANOVA เพื่อดผู ลการทดลอง 3. ใช้ ANCOVA เปรียบเทียบ Posttest โดยใช้ Pretest เป็นตวั แปรร่วม รูปแบบ 8 E1 R T1 X T2 C1 R T1 - T2 กลุ่มการทดลองทแี่ ท้จริงแบบโซโลมอน 4 กลุ่ม E2 R - X T2 (Solomon four – group Design) C2 R - - T2 การวิเคราะห์ผล ใช้ ANOVA
การออกแบบการวจิ ัยเชิงพฒั นา ประเภทของนวตั กรรมทางการศึกษา 1 ผลติ ภัณฑ์ (Product ) 1) นวตั กรรมสาหรับครู เช่น แผนการสอน เอกสารประกอบการสอน 2) นวตั กรรมสาหรับนักเรียน เช่น แบบฝึกทกั ษะ ชุดฝึกทกั ษะ 2 วธิ ีการ ( Method ) เช่น การพฒั นาเทคนิคการสอนแบบต่างๆ การพฒั นาระบบ การประเมินตนเองของนกั เรียน การพฒั นารูปแบบการสร้าง / ผลิต / แกป้ ัญหาตา่ งๆ เป็นตน้
การออกแบบการวจิ ัยเชิงบรรยาย 1 การวจิ ัยเชิงสารวจ (Survey Studies) แนวคดิ การออกแบบการสารวจ เป็ นการศึกษาเพ่ือบรรยายปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ตาม สภาพทเ่ี ป็ นอยู่ในปัจจุบนั เป็ นการศึกษาในแนวกว้างหรือภาคตัดขวางโดยมุ่งค้นพบ รูปแบบ ปกตวิ สิ ัย หรือมาตรฐานการปฏบิ ตั ติ ่างๆ ของส่วนรวม การออกแบบ กลุ่มประชากร กลุ่มตวั อย่าง สุ่มตวั อย่าง ตัวแปร ตัวแปร ตัวแปร
1 การวจิ ัยเชิงสารวจ (Survey Studies) กระบวนการ ไวร์สมา (Wiersma, W., 1991) (Construสcรt้ าioงnเคoรf่ืองInมtืeอrวvดั iew Schedule (ConclusioสnรsุปแanลdะรRายepงoาrนtiผnลg) or Questionnaire) (Pวlาaงnแnผiนng) (Tranแslปaลtioงขn้อoมf ูลData) 1 234 567 กาหนดแผนการสุ่มตวั อย่าง ก(าAรnวaเิ lคyรsiาsะ)ห์ App(liDcaetvieolnopSmamenptlianngd Plan) (DรวatบaรCวoมllขe้อctมioูลn)
2 การวจิ ยั สหสัมพนั ธ์ (Correlation Studies) แนวคดิ เป็นการวางแผนเพื่อศึกษาความสัมพนั ธ์หรือทานายระหวา่ ง ตวั แปร 2 ตวั ข้ึนไป หรือมุ่งศึกษาความผนั แปรร่วมกนั ระหวา่ งตวั แปรทานาย (Predictors) กบั ตวั แปรเกณฑ์ (Criterion Variable) ซ่ึงผลการวจิ ยั จะเป็น การทานายหรือศึกษาสาเหตุระหวา่ งตวั แปร การออกแบบ ประกอบดว้ ยการกาหนดประชากรเป้าหมาย การสุ่มกลุ่มตวั อยา่ ง การกาหนดตวั แปรท่ีสนใจ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และการวเิ คราะห์ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร
3 การวิจยั เชิงพฒั นาการ (Development Studies) แนวคดิ เป็นการศึกษาความกา้ วหนา้ ความเจริญเติบโต (Growth Studies) หรือแนวโนม้ (Trend Studies) ของกลุ่มตวั อยา่ ง ซ่ึงสามารถออกแบบ การศึกษาได้ 2 รูปแบบ คือ การศึกษาระยะยาว การศึกษาภาคตดั ขวาง เป็ นการออกแบบการศึกษาเพื่อ เป็ นการออกแบบการศึกษา ติดตามผลในกลุ่มตวั อยา่ งกลุ่ม เพือ่ ติดตามผลในกลุ่มตวั อยา่ ง เดียว (S) ในช่วงเวลา ต่าง ๆ กนั หลายกลุ่มท่ีต่างระดบั กนั หรือ หลายคร้ังในระยะยาว (S1 S1 . . . แต่ละช่วงอายใุ นเวลาเดียวกนั Sk ) โดยมกั ศึกษากบั กลุ่มตวั อยา่ ง จานวนนอ้ ย แต่ศึกษาหลายตวั แปร ข้อจากดั คือ เป็นการศึกษา ในกล่มุ ท่ีมคี วามแตกต่างกัน อาจทา ข้อจากดั คือ ไม่เหมาะศึกษากับ ให้ ผลการวิจัยคลาดเคล่ือนได้ กล่มุ ตวั อย่างจานวนมาก ใช้เวลานาน ไม่สะดวก สิ้นเปลือง
3 การวจิ ัยเฉพาะกรณี (Case Studies) การออกแบบการวจิ ยั เฉพาะกรณีเพอื่ ตอ้ งการ ศึกษาสิ่งท่ีเกิดข้ึนกบั แต่ละบุคคล หรือแต่ละ สถานที่ เป็นการศึกษาที่เจาะลึกรายละเอียดที่สนใจ เป็นรายกรณี ดงั น้นั การศึกษารายกรณีจึงเป็นการ เลือกศึกษาเพียงตวั อยา่ งรายเดียวหรือไม่กี่ราย เท่าน้นั แต่ศึกษาตวั แปรหลายตวั อยา่ งลึกซ้ึง
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: