Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม 3

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม 3

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม 3

Search

Read the Text Version

ความนา การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการศึกษาของชาติแต่ละครั้งถือเป็นการเปล่ียนแปลงระบบการศึกษาของชาติ ใหม่ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ที่ผ่านมาเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมีความเหมาะสม ชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการ พฒั นาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดย ได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร โครงสร้างแต่ละชั้นปี และเปิดโอกาสให้สถานศึกษา เพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น ทั้งปรับกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การจบ การศกึ ษาแตล่ ะระดบั ให้มีความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด ในการจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษาคร้งั น้ี โรงเรียนวดั ใหม่ลานกแขวกได้ยดึ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ยดึ นโยบายของเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร ความต้องการของท้องถ่ิน และ ความต้องการของผู้เรียนเป็นหลักในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล

วิสัยทศั น์ โรงเรียนวัดใหมล่ านกแขวก มงุ่ พัฒนาผู้เรียนทกุ คน ซงึ่ เปน็ กาลงั สาคัญของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล ท้ังดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มีความร้แู ละทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และมีความรู้และทักษะพ้ืนฐานการ ประกอบอาชพี ดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตสาธารณะ โดยกาหนดวิสัยทศั น์ ดงั น้ี โรงเรียนวัดใหมล่ านกแขวก เป็นองค์กรแหง่ การเรยี นรู้ ตามมาตรฐานการศึกษา บริหารงานตาม หลักธรรมมาภบิ าล

ภารกิจ ๑. ปฏริ ูปกระบวนการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น ๒. พัฒนาบุคลากรเพ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพในการทางาน ๓. เสริมสรา้ งคณุ ภาพของผเู้ รียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม ๔. สนับสนุนการจัดการเรยี นการสอนด้วยเทคโนโลยที ที่ นั สมยั ๕. ส่งเสรมิ การใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ และสร้างเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย ๖. จดั การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐานการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาและความตอ้ งการของชมุ ชน

เปา้ หมาย ๑. นักเรียนมีการสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย ๒. นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม รกั ความเปน็ ไทยและใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ๓. บุคลากรได้รบั การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพอยู่ตลอดเวลา ๔. โรงเรยี นมเี ทคโนโลยีช่วยสอนท่ีทันสมยั ๕. โรงเรียนมมี าตรฐานการศกึ ษาตามกระบวนการประกนั คุณภาพการศึกษา ๖. ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นอยา่ งต่อเนือ่ ง ๗. โรงเรียนมกี ระบวนการ การจดั การท่มี ีประสทิ ธภิ าพ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน โรงเรียนวัดใหม่ลานกแขวก มงุ่ เนน้ พัฒนานักเรียนให้มสี มรรถนะหลักพื้นฐาน ๕ ประการตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โรงเรียนวดั ใหมล่ านกแขวก มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือให้สามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ประกอบด้วย ๘ ประการ ดงั น้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซ่อื สัตย์สุจริต ๓. มวี ินยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุง่ ม่ันในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ใหม่ลานกแขวก ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนต้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ (๔ นก) (๔ นก) (๔ นก) * ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ * หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรมและ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) การดาเนนิ ชีวิตในสังคม * เศรษฐศาสตร์ * ภูมิศาสตร์ * ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๑ นก) (๑ นก) (๑ นก) สขุ ศกึ ษา พละศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒ นก) (๒ นก) (๒ นก) ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒ นก) (๒ นก) (๒ นก) การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๒ นก) (๒ นก) (๒ นก) ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) รวมเวลาเรียน(พ้นื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ (๒๒ (๒๒ (๒๒ นก) นก) นก)

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดใหม่ลานกแขวก ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) เวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ กล่มุ สาระการเรียนรู้  กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - แนะแนว - ลูกเสือ/ยุวกาชาด - ชมรม/ชุมนุม สง่ เสริมการ เรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ - กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะ ประโยชน์  กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ปีละ ๔๐ ชวั่ โมง ปลี ะไม่เกิน ๒๐๐ ชัว่ โมง - หนา้ ทพ่ี ลเมือง รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ ชว่ั โมง/ปี ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนเกิดความรู้ความเขา้ ใจ มีทกั ษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณค่าของศิลปะ เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสาคญั คือ  ทศั นศิลป์ มีความรู้ความเขา้ ใจองค์ประกอบศิลป์ ทศั นธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทาง ทศั นศิลป์ จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมท้งั สามารถใชเ้ ทคนิค วธิ ีการ ของศิลปิ น ในการสร้างงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทศั นศิลป์ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ ระหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเป็ นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล ช่ืนชม ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั  ดนตรี มีความรู้ความเขา้ ใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชมและประยุกตใ์ ช้ใน ชีวิตประจาวนั เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ท่ีเป็ น มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เสียงดนตรี แสดงความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งดนตรีกบั ประเพณีวฒั นธรรม และเหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์  นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่าง สร้างสรรค์ ใช้ศพั ท์เบ้ืองตน้ ทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรคก์ ารเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจาวนั เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ กบั ประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทาง วฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทศั นศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่างาน ทศั นศิลป์ ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ ท่ี เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล

จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓  รู้และเขา้ ใจเรื่องทศั นธาตุและหลกั การออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการ สร้างงานทศั นศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพ่ือส่ือความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ วเิ คราะห์รูปแบบเน้ือหาและประเมินคุณคา่ งานทศั นศิลป์ ของตนเองและผอู้ ่ืน สามารถเลือกงานทศั นศิลป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ี่กาหนดข้ึนอยา่ งเหมาะสม สามารถ ออกแบบรูปภาพ สัญลกั ษณ์ กราฟิ ก ในการนาเสนอขอ้ มูลและมีความรู้ ทกั ษะท่ีจาเป็นดา้ นอาชีพท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั กบั งานทศั นศิลป์  รู้และเขา้ ใจการเปล่ียนแปลงและพฒั นาการของงานทศั นศิลป์ ของชาติและทอ้ งถิ่น แตล่ ะยคุ สมยั เห็น คุณคา่ งานทศั นศิลป์ ที่สะทอ้ นวฒั นธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทศั นศิลป์ ที่มาจากยคุ สมยั และวฒั นธรรมตา่ ง ๆ  รู้และเขา้ ใจถึงความแตกตา่ งทางดา้ นเสียง องคป์ ระกอบ อารมณ์ ความรู้สึกของบทเพลงจากวฒั นธรรม ตา่ ง ๆ มีทกั ษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ท้งั เดี่ยวและเป็นวงโดยเนน้ เทคนิคการร้องบรรเลงอยา่ งมีคุณภาพ มี ทกั ษะในการสร้างสรรคบ์ ทเพลงอยา่ งง่าย อา่ นเขียนโนต้ ในบนั ไดเสียงท่ีมีเคร่ืองหมาย แปลงเสียงเบ้ืองตน้ ได้ รู้และ เขา้ ใจถึงปัจจยั ท่ีมีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคป์ ระกอบของผลงานดา้ นดนตรีกบั ศิลปะแขนงอื่น แสดง ความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกท่ีมีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล มี ทกั ษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ดนตรีและบทบาท ของดนตรีในธุรกิจบนั เทิง เขา้ ใจถึงอิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอ่ บุคคลและสังคม  รู้และเขา้ ใจทมี่ า ความสัมพนั ธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแตล่ ะวฒั นธรรมในยคุ สมยั ตา่ ง ๆ วเิ คราะห์ ปัจจยั ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ  รู้และเขา้ ใจการใชน้ าฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครในการแปลความและสื่อสาร ผา่ นการแสดง รวมท้งั พฒั นารูปแบบการแสดง สามารถใชเ้ กณฑง์ ่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพการแสดง วจิ ารณ์เปรียบเทียบงาน นาฏศิลป์ โดยใชค้ วามรู้เรื่ององคป์ ระกอบทางนาฏศิลป์ ร่วมจดั การแสดง นาแนวคิดของการแสดงไปปรับใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั  รู้และเขา้ ใจประเภทละครไทยในแตล่ ะยคุ สมยั ปัจจยั ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ พ้นื บา้ น ละครไทย และละครพ้ืนบา้ น เปรียบเทียบลกั ษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ จากวฒั นธรรม ตา่ ง ๆ รวมท้งั สามารถออกแบบและสร้างสรรคอ์ ุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ และละคร มีความ เขา้ ใจ ความสาคญั บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชีวติ ประจาวนั

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ งาน ทศั นศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ม.๓ ๑. บรรยายส่ิงแวดลอ้ ม และงานทศั นศิลป์  ทศั นธาตุ หลกั การออกแบบในส่ิงแวดลอ้ ม ท่ีเลือกมาโดยใชค้ วามรู้เรื่องทศั นธาตุ และงานทศั นศิลป์ และหลกั การออกแบบ ๒. ระบุ และบรรยายเทคนิค วธิ ีการ  เทคนิควธิ ีการของศิลปิ นในการสร้างงาน ของศิลปิ นในการสร้างงาน ทศั นศิลป์ ทศั นศิลป์ ๓. วเิ คราะห์ และบรรยายวธิ ีการใช้  วธิ ีการใชท้ ศั นธาตุและหลกั การออกแบบ ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบในการ ในการสร้างงานทศั นศิลป์ สร้างงานทศั นศิลป์ ของตนเอง ใหม้ ีคุณภาพ ๔. มีทกั ษะในการสร้างงานทศั นศิลป์  การสร้างงานทศั นศิลป์ ท้งั ไทยและสากล อยา่ งนอ้ ย ๓ ประเภท ๕.มีทกั ษะในการผสมผสานวสั ดุต่าง ๆ  การใชห้ ลกั การออกแบบในการสร้างงาน ในการสร้างงานทศั นศิลป์ โดยใช้ ส่ือผสม หลกั การออกแบบ ๖.สร้างงานทศั นศิลป์ ท้งั ๒ มิติ และ  การสร้างงานทศั นศิลป์ แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพือ่ ถ่ายทอดประสบการณ์และ ๓ มิติ เพอื่ ถ่ายทอดประสบการณ์ และ จินตนาการ จินตนาการ ๗.สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ส่ือ  การประยกุ ตใ์ ชท้ ศั นธาตุและหลกั การ ความหมายเป็นเร่ืองราว โดยประยกุ ตใ์ ช้ ออกแบบสร้างงานทศั นศิลป์ ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ ๘. วเิ คราะห์และอภิปรายรูปแบบ  การวเิ คราะห์รูปแบบ เน้ือหา และคุณค่า เน้ือหาและคุณคา่ ในงานทศั นศิลป์ ในงานทศั นศิลป์ ของตนเอง และผอู้ ื่น หรือของศิลปิ น ๙.สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ เพื่อบรรยาย  การใชเ้ ทคนิค วธิ ีการท่ีหลากหลาย เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใชเ้ ทคนิค สร้างงานทศั นศิลป์ เพ่ือส่ือความหมาย ท่ีหลากหลาย

ม.๓ ๑๐.ระบุอาชีพท่ีเก่ียวขอ้ งกบั งาน  การประกอบอาชีพทางทศั นศิลป์ ทศั นศิลป์ และทกั ษะที่จาเป็นในการ ประกอบอาชีพน้นั ๆ  การจดั นิทรรศการ ๑๑.เลือกงานทศั นศิลป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ี่ กาหนดข้ึนอยา่ งเหมาะสม และนาไป  งานทศั นศิลป์ กบั การสะทอ้ นคุณค่า จดั นิทรรศการ ของวฒั นธรรม ๑. ศึกษาและอภิปรายเก่ียวกบั งาน  ความแตกต่างของงานทศั นศิลป์ ในแต่ละ ทศั นศิลป์ ท่ีสะทอ้ นคุณคา่ ของ ยคุ สมยั ของวฒั นธรรมไทยและสากล วฒั นธรรม ๒. เปรียบเทียบความแตกต่างของ งานทศั นศิลป์ ในแต่ละยคุ สมยั ของวฒั นธรรมไทยและสากล

ตารางวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั ช้ันปี มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ ตวั ชี้วดั ช้ันปี หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 1.1 มาตรฐาน ศ 1.2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 1 1 2 0 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้ / ความเขา้ ใจในงานทศั นศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 หลกั การ / /   สร้างงานทศั นศิลป์  / / / / / หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แนว ทางการสร้างสรรคท์ ศั นศิลป์     / / / หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ทศั นศิลป์ / / กบั งานอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ทศั นศิลป์ กบั คุณค่าวฒั นธรรม โครงสร้างการแบ่งเวลารายช่ัวโมงในการจัดการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้/ ทศั นศิลป์ ม. 3 เวลา/ แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน เร่ือง ช่ัวโมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ความรู้ ความเข้าใจในงานทัศนศิลป์ 5 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ทศั นธาตุในสิ่งแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลกั การออกแบบในส่ิงแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ 3 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 หลกั การสร้างงานทศั นศิลป์ 15 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เทคนิค วธิ ีการสร้างสรรคง์ านจิตรกรรม (Painting) 3 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 เทคนิค วธิ ีการสร้างสรรคง์ านภาพพิมพ์ (Printing) 2 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 เทคนิค วิธีการสร้างสรรคง์ านประติมากรรม (Sculpture) 3 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 เทคนิค วิธีการสร้างสรรคง์ านส่ือผสม (Mix Media) 3 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 วิธีการใชท้ ศั นธาตุในการสร้างงานทศั นศิลป์ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 วิธีการใชห้ ลกั การออกแบบในการสร้างงานทศั นศิลป์ 2 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 แนวทางการสร้ างสรรค์ ทัศนศิลป์ 10 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 10 การสร้างงานทศั นศิลป์ ไทย 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11 การสร้างงานทศั นศิลป์ สากล 2 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12 การนาหลกั การออกแบบมาใชใ้ นการสร้างงานศิลปะสื่อผสม 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 13 การสร้างงานทศั นศิลป์ แบบ 2 มิติ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การสร้างงานทศั นศิลป์ แบบ 3 มิติ 2 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 14 ทศั นศิลป์ กบั งานอาชีพ 5 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 15 อาชีพท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั งานทศั นศิลป์ 1 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16 การวิเคราะห์รูปแบบ เน้ือหา และคุณค่าในงานทศั นศิลป์ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การจดั นิทรรศการ 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 17 ทัศนศิลป์ กบั คุณค่าวฒั นธรรม แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 18 งานทศั นศิลป์ กบั การสะทอ้ นคุณค่าของวฒั นธรรม 5 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 19 ความแตกต่างของงานทศั นศิลป์ ไทย 2 ความแตกต่างของงานทศั นศิลป์ สากล 2 1

ตารางแสดงนา้ หนกั การวัด-ประเมนิ ผล กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ทัศนศิลป์ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ หน่วย น้าหนกั คะแนน รวม การเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด (รายวิชาพืน้ ฐาน) K PA ที่ A รป ๑ ศ ๑.๑ ม.๓/๑ บรรยายสิ่งแวดลอ้ ม และงานทศั นศิลป์ ที่เลือกมาโดยใช้ ๕ ๑๐ ๒๐ ๕ ๔๐ ความรู้เร่ืองทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ ศ ๑.๑ ม.๓/๒ ระบุ และบรรยายเทคนิค วธิ ีการ ของศิลปิ นในการ ๕ - ๑๐ - ๑๕ สร้างงาน ทศั นศิลป์ ๒ ศ ๑.๑ ม.๓/๓ วเิ คราะห์ และบรรยายวธิ ีการใช้ ทศั นธาตุ และ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๕ ๔๕ หลกั การออกแบบในการสร้างงานทศั นศิลป์ ของตนเองใหม้ ีคุณภาพ รวม ๒๐ ๒๐ ๕๐ ๑๐ ๑๐๐ (ระหว่างเรียน ๘๐ คะแนน/ปลายภาค ๒๐ คะแนน)

ตารางแสดงน้าหนักการวัด-ประเมนิ ผล กล่มุ สาระการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ หนว่ ย น้าหนกั คะแนน รวม การเรยี นรู้ K PA ตัวชวี้ ัด (รายวชิ าพ้นื ฐาน) รป ที่ A ศ ๑.๑ ม.๓/๔ มีทกั ษะในการสร้างงานทศั นศิลป์ อยา่ งนอ้ ย ๓ ประเภท - - ๑๐ - ๑๐ ศ ๑.๑ ม.๓/๕ มีทกั ษะในการผสมผสานวสั ดุตา่ ง ๆ ในการสร้างงาน - - ๑๐ - ๑๐ ทศั นศิลป์ โดยใชห้ ลกั การออกแบบ - - ๑๐ - ๑๐ ๓ ศ ๑.๑ ม.๓/๖ สร้างงานทศั นศิลป์ ท้งั ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพ่อื ถ่ายทอด ประสบการณ์และจินตนาการ ศ ๑.๑ ม.๓/๗ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ส่ือความหมายเป็ นเร่ืองราว โดย - - ๑๐ - ๑๐ ประยกุ ตใ์ ชท้ ศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ ศ ๑.๑ ม.๓/๙ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ เพอ่ื บรรยาย เหตุการณ์ตา่ ง ๆ โดย - - ๑๐ - ๑๐ ใชเ้ ทคนิคท่ีหลากหลาย ศ ๑.๑ ม.๓/๘ วเิ คราะห์และอภิปรายรูปแบบ เน้ือหาและคุณคา่ ในงาน - ๕ - ๕ ๑๐ ทศั นศิลป์ ของตนเอง และผอู้ ่ืน หรือของศิลปิ น ๔ ศ ๑.๑ ม.๓/๑๐ ระบุอาชีพที่เกี่ยวขอ้ งกบั งานทศั นศิลป์ และทกั ษะที่จาเป็น - ๕ - ๕ ๑๐ ในการประกอบอาชีพน้นั ๆ ศ ๑.๑ ม.๓/๑๑ เลือกงานทศั นศิลป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ่ีกาหนดข้ึนอยา่ ง - - ๑๐ - ๑๐ เหมาะสม และนาไปจดั นิทรรศการ

ตารางแสดงน้าหนกั การวดั -ประเมนิ ผล (ตอ่ ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ หน่วย ตัวชว้ี ัด (รายวิชาพน้ื ฐาน) นา้ หนกั คะแนน รวม การเรียนรู้ K PA รป ๑๐ ที่ A ๑๐ ศ ๑.๒ ม.๓/๑ ศกึ ษาและอภิปรายเกี่ยวกบั งานทัศนศลิ ป์ ทสี่ ะท้อนคุณคา่ ของ ๕๕ - - วฒั นธรรม ๕ ศ ๑.๒ ม.๓/๒ เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของงานทัศนศลิ ป์ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล ๕ ๕ - - รวม ๑๐ ๒๐ ๖๐ ๑๐ ๑๐๐ (ระหว่างเรียน ๘๐ คะแนน/ปลายภาค ๒๐ คะแนน)