หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวิชา ศาสนาและหนาทพี่ ลเมือง (สค31002) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) สํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจําหนา ย หนังสอื เรยี นเลม นี้จัดพมิ พดว ยงบประมาณแผน ดนิ เพือ่ การศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลิขสิทธิเ์ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 43 /2557
หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ า ศาสนาและหนา ท่พี ลเมอื ง (สค31002) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ลขิ สิทธเ์ิ ปน ของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 43/2557
คํานาํ สาํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยไดดําเนินการจัดทําหนังสือเรียน ชุดใหมนี้ขึ้น เพ่ือสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมวี ัตถุประสงคใ นการพัฒนาผูเรียนใหม คี ณุ ธรรม จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพ ในการประกอบอาชพี การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเ รยี นสามารถนําหนังสือเรียนไปใชในการศึกษาดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมท้งั ทําแบบฝก หดั เพอ่ื ทดสอบความรูใหก ับผูเรยี น และไดมกี ารปรับเพ่มิ เติมเนือ้ หาเกยี่ วกบั การมีสว นรว ม ในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต เพือ่ ใหส อดคลอ งกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นัน้ ขณะนี้ คณะกรรมการรักษาความสงบแหง ชาติ (คสช.) มีนโยบายในการปลุกจิตสํานึกใหคนไทย มคี วามรักชาติ เทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั ริย เสรมิ สรา งคุณธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ มในการอยรู ว มกันอยา ง สามคั คี ปรองดอง สมานฉนั ท สํานกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงไดมีการ ดําเนนิ การปรับเพ่ิมตวั ชี้วัดของหลักสตู ร และเน้อื หาหนังสอื เรียนใหส อดคลอ งตามนโยบายดังกลา ว โดยเพมิ่ เน้ือหาเกี่ยวหลักอํานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม หลักเหตุผล หลักการ ประนีประนอม และหลักการยอมรับความเห็นตาง เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท และ คุณธรรม จริยธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคีปรองดอง สามานฉันท เพื่อให สถานศึกษานาํ ไปใชในการจดั การเรยี นการสอนใหกับนักศึกษา กศน. ตอ ไป ท้ังนี้ สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ไดรบั ความรว มมอื ดวยดี จากผูทรงคุณวฒุ ิและผูเ กีย่ วขอ งหลายทา นที่คนควา และเรียบเรยี งเน้ือหาสาระจากส่อื ตาง ๆ เพ่ือใหไดส่ือที่ สอดคลองกบั หลกั สูตร และเปนประโยชนตอผเู รียนท่อี ยูนอกระบบอยางแทจริง ขอขอบคุณคณะท่ีปรึกษา คณะผเู รยี บเรยี ง ตลอดจนคณะผจู ัดทาํ ทุกทา นท่ีไดใ หความรว มมือดว ยดีไว ณ โอกาสนี้ สํานักงาน กศน. กันยายน 2557
สารบญั หนา คําแนะนําการใชห นังสือเรยี น โครงสรา งรายวชิ า ศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย บทที่ 1 ศาสนาในโลก............................................................................................................1 เรื่องที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนข องศาสนา………………………................2 เรอ่ื งท่ี 2 พทุ ธประวัตแิ ละหลักธรรมคาํ สอนของพทุ ธศาสนา...................................3 เรอ่ื งที่ 3 ประวัติศาสดา และคาํ สอนของศาสนาอสิ ลาม .......................................20 เรื่องท่ี 4 ประวตั ิศาสดา และคําสอนของศาสนาครสิ ต..........................................22 เรอ่ื งที่ 5 ประวัตศิ าสนาพราหณ - ฮินดู และคาํ สอน ............................................25 เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาและคาํ สอนของศาสนาซกิ ซ.............................................34 เรอ่ื งที่ 7 การเผยแผศาสนาตา ง ๆ ในโลก.............................................................40 เรื่องท่ี 8 กรณตี วั อยางปาเลสไตน.........................................................................44 เรอ่ื งท่ี 9 แนวปองกัน และแกไขความขัดแยงทางศาสนา......................................46 เรื่องที่ 10 หลักธรรมในแตละศาสนาท่ีสง ผลใหอ ยูรวมกับ ศาสนาอื่นไดอยา งมีความสขุ ..................................................................47 เรือ่ งที่ 11 วิธีฝก ปฏิบัติพฒั นาจติ ในแตล ะศาสนา....................................................48 บทที่ 2 วฒั นธรรม ประเพณีและคานิยมของประเทศของโลก .......................................... 52 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของวฒั นธรรม .................................................53 เรอ่ื งท่ี 2 เอกลักษณวฒั นธรรมไทย.......................................................................54 เรอื่ งท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรมและการเลอื กรบั วฒั นธรรม ...................55 เรอ่ื งท่ี 4 ประเพณีในโลก......................................................................................56 เร่ืองที่ 5 ความสําคัญของคานยิ ม และคา นยิ มในสังคมไทย ..................................56 เรอ่ื งที่ 6 คา นยิ มทพ่ี งึ ประสงคข องสังคมโลก.........................................................59 เรื่องที่ 7 การปอ งกนั และแกไขปญ หาพฤติกรรมตามคานยิ ม ทไ่ี มพ งึ ประสงคของสงั คมไทย................................................................61 บทท่ี 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย....................................................................... 63 เร่ืองที่ 1 ความเปนมาการเปลยี่ นแปลงรฐั ธรรมนญู ..............................................64 เร่อื งท่ี 2 สาระสาํ คญั ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย................................66 เรอ่ื งท่ี 3 บทบาทหนาทข่ี ององคก รตามรฐั ธรรมนูญ และการตรวจสอบการใชอาํ นาจรัฐ........................................................74 เรอ่ื งที่ 4 บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนูญท่มี ผี ลตอการเปลีย่ นแปลง ทางสงั คมและมีผลตอฐานะของประเทศไทยในสงั คมโลก.......................79 เร่ืองที่ 5 หนาทพี่ ลเมอื งตามรัฐธรรมนญู และกฎหมายอน่ื ๆ.................................81
สารบญั (ตอ) หนา เรอื่ งท่ี 6 หลักอํานาจอธิปไตย หลกั ความเสมอภาค หลักนติ ิรฐั และนติ ธิ รรม หลักเหตุผล หลักการประนปี ระนอมและ หลกั การยอมรับความคิดเหน็ ตางเพ่อื การอยูร ว มกนั อยา งสนั ติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉันท...............................................83 เรื่องท่ี 7 การมีสว นรวมในการปอ งกนั และปราบปรมการทจุ รติ .............................98 บทท่ี 4 สิทธมิ นษุ ยชน ...................................................................................................... 123 เร่ืองท่ี 1 หลักสิทธิมนุษยสากล.......................................................................... 124 เรือ่ งที่ 2 สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย.............................................................. 129 เรอ่ื งท่ี 3 แนวทางการปฏบิ ัตติ นตามหลักสิทธมิ นษุ ยชน..................................... 133 เฉลยกิจกรรม ........................................................................................................... 138 บรรณานุกรม ........................................................................................................... 141 คณะผูจัดทํา ........................................................................................................143
คาํ แนะนําในการใชหนังสือเรียน หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนา ที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสอื เรียนทจ่ี ดั ทําขนึ้ สาํ หรับผูเรียนทเ่ี ปน นักศกึ ษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาศาสนาและหนา ท่ีพลเมือง ผูเรียนควรปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ่ีคาดหวัง และขอบขาย เนอ้ื หา 2. ศึกษารายละเอยี ดเนื้อหาของแตล ะบทอยางละเอยี ด และทํากจิ กรรมตามที่กําหนดแลวตรวจสอบ กบั แนวตอบกจิ กรรมท่ีกาํ หนด ถา ผเู รียนตอบผิดควรกลบั ไปศึกษาและทําความเขา ใจในเนอ้ื หาน้นั ใหม ใหเ ขาใจ กอนท่จี ะศึกษาเรอื่ งตอ ไป 3. ปฏิบตั กิ จิ กรรมทา ยเรือ่ งของแตล ะเรือ่ ง เพอ่ื เปนการสรุปความรู ความเขา ใจของเนื้อหาในเร่ือง น้ัน ๆ อีกครง้ั และการปฏบิ ัติกิจกรรมของแตละเนือ้ หาแตล ะเรอ่ื ง ผเู รียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและ เพอ่ื น ๆ ทรี่ ว มเรยี นในรายวชิ าและระดบั เดียวกนั ได 4. หนังสือเรียนเลม นีม้ ี 4 บท คอื บทที่ 1 ศาสนาในโลก บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคา นยิ มของประเทศไทยและของโลก บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย บทท่ี 4 สิทธมิ นษุ ยชน
โครงสรา ง รายวิชา ศาสนาและหนา ท่ีพลเมือง (สค31002) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สาระสําคัญ เปน สาระที่เกี่ยวกับศาสนาตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ งกับกําเนิดศาสนาและศาสดาของศาสนาตา ง ๆ หลักธรรมสําคัญของศาสนาตา ง ๆ การเผยแพรศาสนา ความขัดแยง ในศาสนา การปฏิบัติตนใหอยูรวมกัน อยางสนั ติสขุ การฝกจติ ในแตล ะศาสนา การพฒั นาปญ ญาในการแกไ ขปญ หา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม วฒั นธรรม ประเพณดี านภาษา การแตง กาย อาหาร ประเพณีสําคญั ๆ ของประเทศตา ง ๆ ในโลก การอนุรักษ และสืบทอดวฒั นธรรม ประเพณี การมีสวนรวมในการสืบทอดและปฏิบัติตนเปนแบบอยางในการอนุรักษ วฒั นธรรมตามประเพณีของชาติ และการเลือกปรับใชว ัฒนธรรมตา งชาติไดอยางเหมาะสมกับตนเองและ สังคมไทย คานยิ มท่ีพึงประสงคของสงั คมไทยและประเทศตาง ๆ ในโลกการปฏิบัติตน เปน ผูน ําในการปองกัน และแกไ ขพฤตกิ รรมไมเ ปน ท่พี งึ ประสงคใ นสงั คมไทย ผลการเรียนรูท ่คี าดหวงั 1. อธิบายประวตั ิ หลักคาํ สอน และการปฏิบัตติ นตามหลกั ศาสนาทตี่ นนบั ถอื 2. เหน็ ความสาํ คญั ของวัฒนธรรม ประเพณี และมีสวนในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณี ทองถนิ่ 3. ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี 4. ยอมรบั และปฏิบตั ิตนเพือ่ การอยรู ว มกนั อยา งสนั ตสิ ขุ ในสังคมท่ีมีความหลากหลายทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี 5. วิเคราะหหลักการสําคัญของประชาธิปไตยและปฏิบัติตนตามคุณธรรม จริยธรรม คานิยมใน การอยรู วมกันอยา งสันติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉันท 6. วิเคราะหแนวทางการแกปญหาการทุจริต และมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม การทจุ ริต ขอบขา ยเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาในโลก เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนข องศาสนา เรอ่ื งที่ 2 พทุ ธประวตั แิ ละหลักธรรมคําสอนของพทุ ธศาสนา เรื่องท่ี 3 ประวตั ิศาสดา และคาํ สอนของศาสนาอสิ ลาม เรอื่ งท่ี 4 ประวตั ศิ าสดา และคําสอนของศาสนาครสิ ต เรอ่ื งท่ี 5 ประวิตศิ าสนาพราหมณ - ฮนิ ดู และคําสอน เรอ่ื งท่ี 6 ประวตั ิศาสดาของศาสนาซกิ ซและคําสอน เรื่องท่ี 7 การเผยแผศ าสนาตา ง ๆ ในโลก เรื่องที่ 8 กรณตี ัวอยางปาเลสไตน
เรอ่ื งท่ี 9 แนวทางปอ งกนั และแกไขความขัดแยงทางศาสนา เร่ืองท่ี 10 หลักธรรมในแตละศาสนาทีส่ ง ผลใหอยูรวมกบั ศาสนาอ่ืนไดอ ยา งมคี วามสุข เร่ืองท่ี 11 วธิ ฝี กปฏิบตั ิพฒั นาจิตในแตล ะศาสนา บทท่ี 2 วฒั นธรรม ประเพณี และคานิยมของประเทศของโลก เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของวัฒนธรรม เรื่องที่ 2 เอกลักษณวฒั นธรรมไทย เร่ืองที่ 3 การเปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรมและรบั วัฒนธรรม เรอ่ื งท่ี 4 ประเพณใี นโลก เรื่องท่ี 5 ความสําคญั ของคา นิยม และคา นิยมในสงั คมไทย เร่อื งที่ 6 คา นิยมที่พึงประสงคข องสงั คมโลก เรอ่ื งที่ 7 การปอ งกันและแกไ ขปญ หาพฤตกิ รรมตามคา นยิ ม ที่ไมพงึ ประสงคข องสังคมไทย บทท่ี 3 รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย เรื่องที่ 1 ความเปน มาการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ เรอ่ื งที่ 2 สาระสําคญั ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย เร่อื งที่ 3 บทบาทหนา ทข่ี ององคก รตามรฐั ธรรมนญู และการตรวจสอบการใชอาํ นาจรฐั เรือ่ งท่ี 4 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีผลตอการเปล่ียนแปลงทางสังคมและมีผลตอ ฐานะของประเทศไทยในสังคมโลก เร่อื งท่ี 5 หนา ท่พี ลเมอื งตามรฐั ธรรมนูญและกฎหมายอื่น ๆ เรื่องท่ี 6 หลกั อํานาจอธิปไตย หลกั ความเสมอภาค หลกั นิตริ ัฐและนิติธรรม หลกั เหตผุ ล หลักการประนปี ระนอมและหลกั การยอมรับความคิดเห็นตา ง เพือ่ การอยูรว มกนั อยางสันติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉันท เรื่องท่ี 7 การมสี วนรวมในการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ บทท่ี 4 สิทธิมนุษยชน เร่อื งท่ี 1 หลักสิทธิมนุษยสากล เรือ่ งท่ี 2 สิทธมิ นษุ ยชนในประเทศไทย เร่อื งท่ี 3 แนวทางการปฏิบัตติ นตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน บรรณานกุ รม คณะทาํ งาน
ส่อื ประกอบการเรียนรู 1. หนังสือ ศาสนาสากล 2. ซีดี ศาสนาพทุ ธ ศาสนาครสิ ต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาฮนิ ดู 3. หนังสอื วัฒนธรรม ประเพณีในสงั คมไทย 4. หนังสือวัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศตา ง ๆ ในโลก 5. คอมพิวเตอร อินเทอรเ นต็
ห น า | 1 บทที่ 1 ศาสนาในโลก สาระสําคัญ ศาสนาตาง ๆ ในโลกมีคุณคาและเปนประโยชนตอชาวโลก เพราะกอใหเกิดจริยธรรมเปน แนวทางการดําเนินชีวิต ทําใหมนุษยสามารถปกครองตนเองได ชวยใหสังคมดีขึ้น สําหรับประเทศไทยมี ผูนับถือศาสนาพุทธมากท่ีสุด รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกข แตในโลกมีผูนับถือศาสนาคริสตมากที่สุด รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ การศึกษาคําสอนศาสนาตาง ๆ ของศาสนิกชน เพ่ือนํามาประพฤติสงผลใหสังคมมีความสุข ศาสนา ทุกศาสนาลวนสัง่ สอนใหคนเปนคนดี เมื่อสงั คมเกดิ ความขดั แยง ควรรบี หาทางแกไข โดยการนําคําสอนทาง ศาสนามาประพฤตปิ ฏบิ ตั ิจงึ จะสงผลใหสงั คมเกดิ ความสงบสขุ ตลอดไป ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. มีความรูความเขา ใจศาสนาทสี่ ําคญั ๆ ในโลก 2. มีความรคู วามเขา ใจในหลกั ธรรมสําคัญของแตละศาสนา 3. เหน็ ความสาํ คัญในการอยูรว มกับศาสนาอ่ืนอยางสนั ติสุข 4. ประพฤตปิ ฏิบัติตนสงผลใหส ามารถอยรู ว มกนั กบั ศาสนาอื่นอยา งสันตสิ ุข 5. ฝกปฏิบัติพัฒนาจิตเพ่ือใหสามารถพัฒนาตนเองใหมีสติปญญาในการแกปญหาตาง ๆ และ พฒั นาตนเอง ขอบขายเนอื้ หา บทท่ี 1 ศาสนาในโลก เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายคุณคาและประโยชนข องศาสนา เร่อื งที่ 2 พทุ ธประวตั ิและหลกั ธรรมคาํ สอนของพทุ ธศาสนา เรอ่ื งท่ี 3 ประวตั ิศาสดาและคําสอนของศาสนาอสิ ลาม เรื่องท่ี 4 ประวตั ศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาครสิ ต เรื่องท่ี 5 ประวัตศิ าสนาพราหมณ - ฮนิ ดู และคาํ สอน เรอ่ื งที่ 6 ประวัตศิ าสดาและคําสอนของศาสนาซกิ ข เรอ่ื งที่ 7 การเผยแพรศาสนาตาง ๆ ในโลก เรอ่ื งท่ี 8 กรณีตวั อยางปาเลสไตน เรอ่ื งท่ี 9 แนวทางปองกันและแกไขความขดั แยงทางศาสนา เรอ่ื งท่ี 10 หลักธรรมในแตละศาสนาทสี่ งผลใหอ ยรู ว มกบั ศาสนาอืน่ ไดอยา งมีความสขุ เรอ่ื งท่ี 11 วธิ ฝี กปฏิบตั พิ ฒั นาจิตในแตล ะศาสนา สื่อประกอบการเรียนรู ซีดศี าสนาสากล เอกสารศาสนาสากลและความขัดแยงในปาเลสไตน
ห น า | 2 เรอื่ งท่ี 1 ความหมายคุณคา และประโยชนของศาสนา ความหมายของศาสนา ศาสนา คอื คําสอนทศ่ี าสดานํามาเผยแผ ส่งั สอน แจกแจง แสดงใหม นษุ ยเวน จากความช่ัว กระทํา แตค วามดี ซึ่งมนษุ ยย ดึ ถือปฏบิ ตั ติ ามคาํ สอน นนั้ ดวยความเคารพเลอ่ื มใสและศรัทธา คําสอนดังกลาวจะมี ลกั ษณะเปน สัจธรรม ศาสนามคี วามสําคัญตอบุคคลและสังคม ทําใหมนุษยทุกคนเปนคนดีและอยูรวมกัน อยางสันติสุข ศาสนาในโลกน้ีมีอยูมากมายหลายศาสนาดวยกัน แตวัตถุประสงคอันสําคัญย่ิงของทุก ๆ ศาสนาเปนไปในทางเดียวกนั กลา วคือ จูงใจใหคนละความช่ัว ประพฤติความดีเหมือนกันหมด หากแตวา การปฏบิ ตั ิพธิ กี รรมยอ มแตกตา งกันตามความเชอื่ ถอื ของแตละศาสนา คณุ คา ของศาสนา 1. เปน ทีย่ ดึ เหนี่ยวจิตใจของมนุษย 2. เปน บอเกดิ แหงความสามัคคขี องหมูคณะและในหมูมนุษยชาติ 3. เปน เคร่อื งดบั ความเรารอ นใจ ทําใหส งบรมเย็น 4. เปน บอเกดิ แหงจรยิ ธรรมศลี ธรรมและคณุ ธรรม 5. เปน บอ เกดิ แหงการศกึ ษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดงี าม 6. เปน ดวงประทีบสองโลกท่ีมืดมดิ อวิชชาใหก ลับสวา งไสวดว ยวชิ ชา ประโยชนข องศาสนา ศาสนามีประโยชนมากมายหลายประการ กลา วโดยสรปุ มี 6 ประการ คอื 1. ศาสนาเปนแหลงกําเนิดจริยธรรม ศาสนาทุกศาสนา สอนใหเราทราบวา อะไรคือความชั่ว ทค่ี วรละเวน อะไรคือความดีที่ควรกระทํา อะไรคือส่ิงที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติ เพ่ือใหอยูรวมกันอยางมี ความสุข ดังนั้น ทกุ ศาสนาจงึ เปนแหลง กาํ เนิดแหงความดที ั้งปวง 2. ศาสนาเปนแนวทางการดําเนินชีวิต ทุกศาสนาจะวางหลักการดําเนินชีวิตเปนข้ัน ๆ เชน พระพุทธศาสนาวางไว 3 ข้ัน คือ ขัน้ ตน เนนการพง่ึ ตนเองไดมีความสขุ ตามประสาชาวโลก ขั้นกลางเนน ความเจริญกา วหนาทางคุณธรรม และขน้ั สูงเนน การลด ละ โลภ โกรธ หลง 3. ศาสนาทําใหผูนับถือปกครองตนเองได หลักคําสอนใหรูจักรับผิดชอบตนเองคนท่ีทําตาม คาํ สอนทางศาสนาเครง ครัด จะมหี ิรโิ อตตัปปะ ไมทําช่วั ทง้ั ที่ลบั และท่ีแจง เพราะสามารถควบคุมตนเองได 4. ศาสนาชวยใหสังคมดีขึ้น คําสอนทางศาสนาเนนใหคนในสังคมเวนจากการเบียดเบียนกัน เอารัดเอาเปรยี บกนั สอนใหเ อือ้ เฟอ เผื่อแผ มีความซื่อสัตยสุจริตตอกัน เปนเหตุใหสังคมมีความสงบสันติ ยิ่งขน้ึ สอนใหอ ดทน เพียรพยายามทาํ ความดี สรางสรรคผลงานและประโยชนใหกับสังคม 5. ศาสนาชวยควบคมุ สงั คมดีขึ้น ทุกสังคมจะมีระเบยี บขอบังคับจารตี ประเพณีและกฎหมายเปน มาตรการควบคุมสงั คมใหสงบสขุ แตส ่ิงเหลานี้ไมส ามารถควบคุมสังคมใหสงบสุขแทจริงได เชน กฎหมาย ควบคมุ ไดเ ฉพาะพฤติกรรมทางกายและทางวาจาเทานนั้ ไมส ามารถลกึ ลงไปถงึ จิตใจได ศาสนาเทานน้ั จงึ จะ ควบคมุ คนไดทงั้ กาย วาจา และใจ
ห น า | 3 ศาสนาในประเทศไทย ศาสนาพทุ ธ เปนศาสนาประจําชาติไทย มีผูนับถือมากที่สุด รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ - ฮินดู และศาสนาซิกข รายละเอียดของแตละศาสนา ดงั ตอไปนี้ คอื เรือ่ งที่ 2 พุทธประวตั ิและหลักธรรมคําสอนของพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาเชอ่ื เรื่องการเวียนวาย ตาย เกิด ในวฏั สงสาร ถา สตั วโ ลกยงั มกี เิ ลส คือ โลภ โกรธ หลง จะตองเกิดในไตรภูมิ คือ 3 โลก ไดแก นรกภูมิ โลกมนุษย และเทวโลก และในการเกิดเปนพระพุทธเจา เพอ่ื ทจ่ี ะโปรดสัตวโลกใหบารมีสมบรู ณ จึงจะเกิดเปนพระพุทธเจา ใหพระพุทธเจาไดบําเพ็ญบารมีมาทุกภพ ทกุ ชาตแิ ละบาํ เพญ็ บารมีอยา งยงิ่ ยวดใน 10 ชาตสิ ดุ ทาย เรยี กวา ทศชาติ ซง่ึ ไดกลาวไวในพระสุตตันตปฎก โดยมคี วามยอ ๆ ดงั นี้ 1. เตมยี ช าดก เปนชาดกท่ีแสดงถึง การบําเพ็ญเนกขัมมบารมี คือ การออกบวช ความวา พระเตมียเกิดใน ตระกลู กษตั รยิ แตทรงเกรงวาจะตองขน้ึ ครองราชยเปน พระราชา เพราะทรงเห็นการลงโทษโจรตามคําส่ัง ของพระราชา เชน เฆย่ี นบาง เอาหอกแทงบาง พระองคจ ึงทรงแกลงเปน งอ ยเปล้ยี หูหนวก เปนใบ ไมพูดจากับ ใครพระราชาปรึกษากับพราหมณใหน ําพระองคไ ปฝงเสยี พระมารดาทรงคัดคาน แตไ มส าํ เรจ็ จึงทรงขอให พระเตมีย ครองราชย 7 วัน เผื่อพระองคจ ะตรสั บาง ครัน้ ครบ 7 วนั แลว พระเตมียก ็ไมตรสั ดงั นัน้ สารถีจึง นาํ พระเตมยี ไปฝง ตามคําส่ังของพระราชา ขณะกําลังขุดหลุมพระเตมียลงจากรถ และตรัสปราศรัยแจงวา พระองคตองการจะบวช ไมตองการเปนพระราชา จากนั้นสารถีกลับไปบอกพระราชา พระราชาจึงเชิญ พระเตมียก ลบั ไปครองราชย พระเตมยี ก ลบั เทศนาส่งั สอนจนพระชนก ชนนี และบริวาร พากนั เลอ่ื มใสออก บวชตาม 2. มหาชนกชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึง การบาํ เพญ็ วิริยบารมี คือ ความเพียร ใจความสําคัญ คือ พระมหาชนก- ราชกุมาร เดนิ ทางไปทางทะเล เรอื แตก คนทงั้ หลายจมน้ําตายบาง เปนเหยื่อของสัตวนํ้าบาง แตพระองค ไมท รงละความอตุ สาหะ ทรงวา ยนาํ้ โดยกาํ หนดทิศทางแหง กรุงมิถลิ า ในทีส่ ุดก็ไดรอดชวี ติ กลับไปกรุงมิถิลาได ชาดกเรื่องน้ี เปนท่ีมาแหงภาษติ ท่วี า เปน ชายควรเพียรราํ่ ไปอยาเบ่ือหนา ย (ความเพียร) เสีย เราเหน็ ตัวเอง เปนไดอ ยางท่ีปรารถนา ขึน้ จากน้าํ มาสบู กได 3. สวุ รรณสามชาดก ชาดกเรือ่ งนีแ้ สดงถงึ การบําเพ็ญเมตตาบารมี คือ การแผไมตรีจิตคิดจะใหสัตวท้ังปวงเปนสุข ท่วั หนา มเี รอ่ื งเลา วา สุวรรณสาม เลี้ยงมารดาบดิ าของตนซึง่ เสยี จกั ษุในปา และเน่ืองจากเปนผูเมตตาปรารถนาดี ตอผูอืน่ หมูเ นื้อกเ็ ดนิ ตามแวดลอมไปในที่ตาง ๆ วันหนึ่งถูกพระเจากรุงพาราณสี ชื่อ พระเจากบิลยักษ ยิงเอา ดวยธนู ดวยเขาพระทัยผิด ภายหลังเมื่อทราบวาเปนมาณพ ผูเล้ียงมารดา บิดา ก็สลดพระทัย จึงไปจูง มารดาของสุวรรณสามมา มารดา บิดาของสุวรรณสามก็ต้ังสัจจกริยาอางคุณความดีของสุวรรณสาม สวุ รรณสามก็ฟนคนื สตแิ ละไดสอนพระราชา แสดงคติธรรมวา ผูใดเลี้ยงมารดาบิดาโดยธรรม แมเทวดาก็
ห น า | 4 ยอมรักษาผูนั้น ยอมมีคนสรรเสริญในโลกนี้ ละโลกนี้ไปแลวก็ไปเกิดในสวรรค ตอจากน้ัน เม่ือพระราชา ขอใหสั่งสอนตอไปอกี ก็สอนใหท รงปฏิบัติธรรมปฏิบัตชิ อบในบคุ คลทัง้ ปวง 4. เนมริ าชชาดก ชาดกเรอ่ื งน้ีแสดงถงึ การบําเพญ็ อธิษฐานบารมี คือ ความตง้ั ใจมน่ั คง มเี รื่องเลาวา เนมิราช ไดข้ึน ครองราชยต อ จากพระราชบิดา ทรงบาํ เพญ็ คณุ งามความดี เปนท่ีรักของมหาชน และในท่ีสุดเมื่อทรงมอบ ราชสมบัติแกพระราชโอรส เสด็จออกผนวชเชนเดียวกับท่ีพระราชบิดาของพระองคเคยทรงบําเพ็ญมา ทอดพระเนตรเห็นเสนพระเกศาหงอกบางกส็ ลดพระทยั ในสังขารจงึ ทรงออกผนวช 5. มโหสถชาดก ชาดกเรอ่ื งนี้แสดงถงึ การบําเพ็ญปญ ญาบารมี คือ มีปญ ญาลา้ํ เลิศ มีเร่ืองเลาวา มโหสถบัณฑิต เปนทปี่ รึกษาหนุม ของพระเจาวเิ ทหะ แหง กรุงมถิ ลิ า ทา นมคี วามฉลาดรู สามารถแนะนาํ ในปญหาตาง ๆ ได อยางถกู ตองรอบคอบ เอาชนะทป่ี รึกษาอนื่ ๆ ที่รษิ ยาใสความดวยความดี ไมพยาบาท อาฆาตครั้งหลัง ใช อุบายปองกนั พระราชาจากราชศัตรู และจับราชศัตรซู ่ึงเปนกษัตรยิ พ ระนครอ่นื ได 6. ภรู ทิ ตั ชาดก ชาดกเรอ่ื งนแี้ สดงถึง การบาํ เพ็ญศลี บารมี คอื การรกั ษาศลี มีเรื่องเลาวา ภูรทิ ัตตนาคราช ไปจําศีล อยูริมฝงแมนํ้ายมุนา ยอมอดทนใหหมองูจับไปทรมานตาง ๆ ท้ังท่ีสามารถจะทําลายหมองูไดดวยฤทธ์ิ ดวยความทมี่ ใี จมัน่ ตอ ศลี ของตนในท่ีสดุ กไ็ ดอ สิ รภาพ 7. จันทกุมารชาดก ชาดกเรื่องนแ้ี สดงถึง การบําเพ็ญขนั ติบารมี คือ ความอดทน จนั ทกมุ าร เปนโอรสของพระเจา- เอกราช พระองคท รงชว ยประชาชนใหพ น จากคดี ซง่ึ กณั ฑหาลพราหมณราชปุโรหิต เปนผรู บั สินบนตดั สนิ คดี ขาดความเปน ธรรม สงผลใหก ณั ฑหาลพราหมณผ ูกอาฆาตพยาบาท วนั หนึ่งพระเจาเอกราช ทรงพระสุบิน เหน็ ดาวดึงสเ ทวโลก เมื่อทรงต่ืนบรรทม ทรงพระประสงคเดินทางไปดาวดึงสเทวโลก จึงตรัสถามกัณฑหาล- พราหมณ กณั ฑหาลพราหมณ จงึ กราบทูลแนะนําใหต ัดพระเศียรโอรส ธิดา มเหสี บูชายัญ แมใครจะทัดทาน ขอรองก็ไมเปนผล รอนถึงทาวสักกะ (พระอินทร) ตองมาช้ีแจงใหหายเขาใจผิดวา วิธีน้ีไมใชทางไปสวรรค มหาชน จึงรุมฆากัณฑหาลพราหมณ และเนรเทศพระเจา เอกราช แลวกราบทูลเชญิ จันทกมุ ารขึน้ ครองราชย 8. นารทชาดก ชาดกเรื่องน้ีแสดงถึง การบําเพ็ญอุเบกขาบารมี คือ การวางเฉย พระพรหมนารถ ไดชวยให พระเจา อังคตริ าช แหงกรุงมถิ ลิ ามหานคร พนจากความคิดเห็นผิดที่ไดรับคําสอนจากคุณาชีวก วารูปกาย ของคน สตั ว เปน ของเทีย่ ง แมต ัดศีรษะผอู ื่นแลวไมบาป สขุ ทุกขเกิดไดเองไมมีเหตุ คนเราเวยี นวา ยตายเกิด หนักเขาก็บริสุทธ์ิเอง เม่ือพระองคมีความเห็น ดังน้ัน พระเจาอังคติราชจึงส่ังใหร้ือโรงทาน และมัวเมาใน โลกยี รอ นถึงพระธดิ า คอื พระนางรุจา ทรงหว งพระบิดา จึงสวดออนวอน ขอใหพระบิดาพนจากความมัวเมา รอ นถึง พระพรหมนาทร ทรงจําแลงกายเปน นักบวช ทรงสอนใหพระเจาอังคติราชใหกลับความเห็นที่ผิดมา บาํ เพ็ญกศุ ลถือศีล ทําทานปกครองเมอื งโดยสงบรมเยน็ 9. วิทรู ชาดก ชาดกเรอื่ งนแ้ี สดงถงึ การบําเพญ็ สจั จบารมี คือ ความซ่ือสัตย บัณฑิต มีหนาที่ถวายคําแนะนํา แกพระเจาธนัญชัยโกรพั ยะ ซึง่ เปนพระราชาทีค่ นนบั ถือมาก ครั้งหนึง่ ปุณณกยกั ษมาทา พระเจา ธนัญชัยโกทพั ยะ เลน สกา ถาแพจะถวายมณรี ัตนะอันวเิ ศษ ถา พระราชาแพต องใหส ง่ิ ทีป่ ณุ ณกยักษต องการ ในทสี่ ุดพระราชาแพ ปณุ ณกยกั ษข อตัววฑิ รู บณั ฑติ พระราชาหนวงเหนี่ยวประการใดไมส าํ เร็จ วิฑรู บณั ฑติ รกั ษาสัจจะไปกับยักษ
ห น า | 5 ในท่สี ดุ แม แมยกั ษจะทาํ อยางไรวิฑูรบณั ฑติ ก็ไมตายกบั แสดงธรรม จนยกั ษเ ลอ่ื มใสและไดก ลบั คืนบานเมอื ง มกี ารฉลองรับขวญั เปน การใหญ 10. เวสสันดรชาดก เปนชาตสิ ุดทายของพระพทุ ธเจา ชาตติ อไปจึงจะเกิดเปน พระพทุ ธเจาชาดกเรอื่ งนี้ แสดงถึงการ บาํ เพญ็ ทานบารมี คือ การบริจาคทาน มีเรือ่ งเลาวา พระเวสสันดรผูใจดี บริจาคทุกอยางที่มีคนขอ ครั้งหน่ึง ประทานชางเผือกคูบ านคเู มืองแกพ ราหมณ ชาวกาลิงคะ ซึ่งตอมาขอชางไปเพอ่ื ใหเ มอื งของตนหายจากฝนแลง แตป ระชาชนโกรธ ขอใหเ นรเทศพระราชบิดา จึงจาํ พระทยั ตอ งเนรเทศพระเวสสนั ดร ซ่งึ พระนางมัทรีพรอม ดวยพระโอรสธิดาไดตามเสด็จไปดวย เม่ือชูชกไปขอสองกุมารก็ประทานใหอีก ภายหลังพระเจาสัญชัย พระราชบดิ าไดทรงไถส องกมุ ารจากชูชก และเสด็จไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับกรุง (เรื่องนี้ แสดงการเสียสละสวนนอย เพ่ือประโยชนสวนใหญ คือ การตรัสรู เปนพระพุทธเจา อันจะเปนทางใหได บําเพญ็ ประโยชนส วนรวมได มิใชเ สยี สละโดยไมม จี ุดมงุ หมายหรอื เหตผุ ล) ประวตั พิ ระพทุ ธเจา พระพุทธเจา ทรงมพี ระนามเดิมวา “สทิ ธัตถะ” ทรงเปนพระราชโอรสของ “พระเจาสุทโธทนะ” กษตั รยิ ผ ูครองกรุงกบลิ พัสดุ แควน สักกะ และ “พระนางสิริมหามายา” พระราชธิดาของกษัตริยราชสกุล โกลิยวงศ แหง กรุงเทวทหะ แควน โกลิยะ ในคืนที่พระพุทธเจาเสด็จปฏิสนธิในครรภพระนางสิริมหามายา พระนางทรงพระสุบินนิมิตวา มีชา งเผือกมงี าสามคูไดเขามาสูพระครรภ ณ ที่บรรทม กอนที่พระนางจะมีพระประสูติกาลที่ใตตนสาละ
ห น า | 6 ณ สวนลุมพินวี นั เมื่อวนั ศุกร ข้นึ สบิ หาคาํ่ เดือนวสิ าขะ ปจอ 80 ปก อนพทุ ธศักราช (ปจจุบันสวนลุมพินีวัน อยูในประเทศเนปาล) ทันทีที่ประสูติเจาชายสิทธัตถะ ทรงดําเนินดวยพระบาท 7 กาว และมีดอกบัวผุดขึ้นมารองรับ พระบาท พรอ มเปลง วาจาวา “เราเปนเลิศท่ีสดุ ในโลก ประเสรฐิ ทส่ี ุดในโลก การเกดิ คร้งั นเี้ ปนคร้ังสุดทาย ของเรา” แตหลังจากเจาชายสิทธัตถะประสูติกาลไดแลว 7 วัน พระนางสิริมหามายาก็เสด็จสวรรคาลัย เจาชายสิทธตั ถะ จึงอยูในความดแู ลของพระนางประชาบดีโคตมี ซง่ึ เปน พระกนษิ ฐาของพระนางสริ ิมหามายา ท้ังนี้ พราหมณทั้ง 8 ไดทํานายวา เจาชายสิทธัตถะมีลักษณะเปนมหาบุรุษ คือ หากดํารงตนใน ฆราวาส จะไดเปน จักรพรรดิ ถาออกบวชจะไดเ ปนศาสดาเอกของโลก แตโกณฑัญญะพราหมณผูอายุนอย ท่ีสุดในจํานวนนั้นยืนยันหนักแนนวาพระราชกุมารสิทธัตถะ จะเสด็จออกบวชและจะไดตรัสรูเปน พระพทุ ธเจาแนน อน ชวี ิตในวยั เดก็ เจา ชายสิทธัตถะ ทรงศึกษาเลาเรียนจนจบศิลปศาสตรทั้ง 18 ศาสตร ในสํานักครูวิศวามิตรและ เนอื่ งจากพระบดิ าไมป ระสงคใ หเ จา ชายสทิ ธตั ถะเปนศาสดาเอกของโลก จึงพยายามทําใหเจาชายสิทธัตถะ พบเหน็ แตค วามสขุ โดยการสรางปราสาท 3 ฤดู ใหอ ยูป ระทบั และจดั เตรยี มความพรอ มสาํ หรบั การราชาภิเษก ใหเจาชายข้ึนครองราชย เม่ือมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพาหรือยโสธรา พระธดิ าของพระเจากรงุ เทวทหะ ซึ่งเปนพระญาตฝิ ายมารดา จนเมือ่ มีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางพิมพา ไดใหประสตู ิพระราชโอรสมีพระนามวา “ราหลุ ” ซง่ึ หมายถงึ “บว ง” เสดจ็ ออกผนวช
ห น า | 7 วันหน่งึ เจาชายสิทธตั ถะ ทรงเบื่อความจําเจในปราสาท 3 ฤดู จึงชวนสารถีทรงรถมาประพาสอุทยาน ครั้งน้ันไดทอดพระเนตรเห็นคนแก คนเจ็บ คนตาย และนักบวช โดยเทวทูต (ทูตสวรรค) ท่ีแปลงกายมา พระองคจ งึ ทรงคิดไดว านี่เปน ธรรมดาของโลก ชวี ิตของทุกคนตองตกอยูในสภาพ เชนน้ัน ไมมีใครสามารถ หลีกเลย่ี งเกดิ แก เจ็บ ตายได จึงทรงเหน็ วา ความสขุ ทางโลกเปนเพียงภาพมายา เทานั้น และวิถีทางที่จะ พนจากความทุกข คือ ตองครองตนเปนสมณะ ดังนั้น พระองคจึงใครจะเสด็จออกบรรพชา ในขณะท่ีมี พระชนมายุ 29 พรรษา ครานนั้ พระองคไ ดเ สดจ็ ไปพรอ มกบั นายฉันทะ สารถีซึ่งเตรียมมา พระทีน่ ั่งนามวา กัณฑกะ มุงตรง ไปยังแมนํ้าอโนมานที กอนจะประทับน่ังบนกองทรายทรงตัดพระเมาลีดวยพระขรรคและเปลี่ยนชุด ผา กาสาวพัตร (ผายอ มดว ยรสฝาดแหงตน ไม) และใหน ายฉนั ทะนาํ เครื่องทรงกลับพระนคร กอนที่พระองค จะเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ (การเสด็จออกเพ่ือคุณอันยิ่งใหญ) ไปโดยเพียงลําพัง เพ่ือมุงพระพักตรไป แควน มคธ บาํ เพ็ญทุกรกิรยิ า หลงั จากทรงผนวชแลว พระองคมุงไปท่ีแมน้ําคยา แควนมคธ ไดพยายามเสาะแสวงทางพนทุกข ดวยการศึกษาคนควาทดลองในสํานักอาฬารดาบสกาลามโคตรและอุทกดาบสรามบุตร เมื่อเรียนจบทั้ง 2 สํานักแลว ทรงเหน็ วานยี่ ังไมใ ชทางพนทกุ ข จากนั้นพระองคไดเ สดจ็ ไปทแี่ มน้าํ เนรญั ชรา ในตําบลอรุ ุเวลาเสนานิคมและทรงบําเพ็ญทุกรกิริยา ดวยการขบฟนดว ยฟน กล้ันหายใจ และอดอาหารจนรางกายซูบผอม แตห ลังจากทดลองได 6 ป ทรงเห็นวา น่ียังไมใชทางพนทุกขจึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา และหันมาฉันอาหารตามเดิม ดวยพระราชดําริตามที่ ทา วสกั กเทวราชไดเ สดจ็ ลงมาดีดพิณถวาย 3 วาระ คือ ดีดพิณสาย 1 ขึงไวตึงเกินไป เม่ือดีดก็จะขาด ดีดพิณ วาระท่ี 2 ซึ่งขึงไวหยอน เสียงจะยืดยาด ขาดความไพเราะ และวาระท่ี 3 ดีดพิณสายสุดทายที่ขึงไวพอดี จงึ มีเสยี งกังวานไพเราะ ดังนั้น จึงทรงพิจารณาเห็นวา ทางสายกลาง คือ ไมตงึ เกินไป และไมหยอนเกินไป น้ัน คือ ทางท่จี ะนําสกู ารพนทุกข หลงั จากพระองคเ ลกิ บําเพ็ญทกุ รกิริยา ทําใหพระปญ จวคั คยี ทั้ง 5 ไดแ ก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อสั สชิ ทมี่ าคอยรับใชพ ระองคด ว ยความคาดหวังวา เมื่อพระองคคนพบทางพนทุกข จะไดสอน พวกตนใหบรรลุดวย เกิดเสื่อมศรัทธาที่พระองคลมเลิกความตั้งใจ จึงเดินทางกลับไปท่ีปาอิสิปตน- มฤคทายวัน ตําบลสารนาถ เมืองพาราณสี
ห น า | 8 ตรสั รู คราน้นั พระองคท รงประทบั นั่งขัดสมาธใิ ตตน พระศรมี หาโพธิ์ ณ อรุ เุ วลาเสนานิคม เมืองพาราณสี หนั พระพกั ตรไปทางทิศตะวนั ออกและตงั้ จิตอธิษฐานดว ยความแนวแนวา ตราบใดที่ยงั ไมบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ก็จะไมลุกขึ้นจากสมาธบิ ลั ลังก แมจะมีหมูมารเขามาขัดขวาง แตก็พายแพพระบารมีของพระองคกลับไป จนเวลาผา นไปในที่สดุ พระองคท รงบรรลรุ ูปฌาณ คือ ยามตน หรือ ปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสตญิ าณ คือ สามารถระลึกชาติได ยามสอง ทรงบรรลจุ ุตูปปาตญาณ (ทิพยจักษุญาณ) คือ รูเ รื่องการเกิดการตายของสัตวท ั้งหลายวา เปน ไปตามกรรมที่กําหนดไว ยามสาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ คือ ความรูที่ทําใหสิ้นอาสวะหรือกิเลสดวยอริยสัจ 4 ไดแก ทกุ ข สมุทัย นโิ รธ และมรรค และไดต รสั รดู วยพระองคเ องเปน พระสัมมาสมั พุทธเจาและเปนศาสดาเอกของโลก ซ่งึ วนั ท่พี ระสัมมาสัมพทุ ธเจา ตรสั รูตรงกับ วนั เพญ็ เดอื น 6 ขณะท่ีมีพระชนมายุ 35 พรรษา แสดงปฐมเทศนา หลงั จากพระสัมมาสมั พทุ ธเจาตรสั รแู ลว ทรงพิจารณาธรรมทีพ่ ระองคต รสั รมู าเปนเวลา 7 สปั ดาห และทรงเหน็ วาพระธรรมน้ันยากสําหรับบุคคลท่ัวไปท่ีจะเขาใจและปฏิบัติได พระองคจึงทรงพิจารณาวา บุคคลในโลกน้ีมีหลายจําพวกอยางบัว 4 เหลา ที่มีท้ังผูท่ีสอนไดงายและผูท่ีสอนไดยาก พระองคจึงทรง ระลึกถึงอาฬารดาบสและอุทกดาบสผูเปนพระอาจารยจึงหวังเสด็จไปโปรดแตทั้งสองทานเสียชีวิตแลว พระองคจ ึงทรงระลึกถึงปญจวคั คยี ท ้ัง 5 ทเ่ี คยมาเฝา รับใช จงึ ไดเ สด็จไปโปรดปญจวคั คียท่ปี าอิสิปตนมฤคทายวัน
ห น า | 9 ธรรมเทศนากณั ฑแ รกที่พระองคทรงแสดงธรรม คือ “ธัมมจกั กปั ปวัตตนสตู ร” แปลวา สูตรของ การหมุนวงลอแหงพระธรรมใหเปน ไป ซึ่งถือเปน การแสดงพระธรรมเทศนาครั้งแรกในวันเพ็ญ 15 ค่ํา เดือน 8 ซ่ึงตรงกบั วนั อาสาฬหบูชา ในการนพ้ี ระโกณฑญั ญะไดธรรมจกั ษุ คือ ดวงตาเห็นธรรมเปนคนแรก พระพุทธองคจึงทรงเปลง วาจาวา “อัญญาสิวตโกณฑัญโญ” แปลวา โกณฑัญญะไดรูแลว ทานโกณฑัญญะจึงไดสมญาวา อัญญา โกณฑญั ญะ และไดรับการบวชเปนพระสงฆองคแรกในพระพุทธศาสนา โดยเรียกการบวชที่พระพุทธเจา บวชใหว า “เอหิภิกขอุ ุปสมั ปทา” หลังจากปญจวัคคียอุปสมบทท้ังหมดแลว พุทธองคจึงทรงเทศนอนัตตลักขณสูตร ปญจวัคคีย จงึ สําเร็จเปนอรหนั ตใ นเวลาตอ มา การเผยแผพระพุทธศาสนา ตอมาพระพุทธเจาไดเทศนพระธรรมเทศนาโปรดแกสกุลบุตร รวมทั้งเพ่ือนของสกุลบุตรจนได สาํ เรจ็ เปนพระอรหนั ตท งั้ หมดรวม 60 รปู พระพุทธเจาทรงมพี ระราชประสงคจ ะใหม นษุ ยโลกพนทุกขพนกิเลส จึงตรัสเรียกสาวกทั้ง 60 รูป มาประชุมกนั และตรัสใหสาวก 60 รูป จาริกแยกยายกันเดินทางไปประกาศศาสนา 60 แหง โดยลําพังใน เสน ทางที่ไมซ ํ้ากัน เพอื่ ใหส ามารถเผยแผพระพทุ ธศาสนาในหลายพ้ืนท่อี ยางครอบคลมุ สว นพระองคเองได เสด็จไปแสดงธรรม ณ ตําบลอุรุเวลาเสนานคิ ม หลงั จากสาวกไดเ ดนิ ทางไปเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาในพืน้ ทตี่ าง ๆ ทาํ ใหมผี ูเลื่อมใสพระพุทธศาสนา เปน จํานวนมาก พระองคจ งึ ทรงอนุญาตใหสาวกสามารถดําเนินการบวชไดโดยใชวิธีการ “ติสรณคมนูปสัมปทา” คือ การปฏิญาณตนเปนผูถึงพระรัตนตรัย พระพุทธศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกและแพรหลายในดินแดน แหง นัน้ เปนตน มา
ห น า | 10 เสดจ็ ดับขนั ธป รนิ ิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงโปรดสัตวและแสดงพระธรรมเทศนาตลอดระยะเวลา 45 พรรษา ทรงสดบั วา อีก 3 เดือนขา งหนา จะปรนิ พิ พาน จงึ ไดท รงปลงอายสุ งั ขาร ขณะน้ันพระองคไดประทับจําพรรษา ณ เวฬคุ าม ใกลเ มืองเวสาลี แควนวชั ชี โดยกอ นเสดจ็ ดับขนั ธปรนิ พิ พาน 1 วัน พระองคไดเสวยสุกรมัททวะ ทีน่ ายจุนทะทาํ ถวาย แตเกดิ อาพาธลง ทําใหพ ระอานนทโ กรธ แตพระองคต รสั วา “บิณฑบาตที่มีอานสิ งสทีส่ ุด” มี 2 ประการ คอื เม่อื ตถาคต (พุทธองค) เสวยบิณฑบาตแลวตรสั รูและปรินิพพาน” และมีพระดํารัสวา “โย โว อานนท ธมม จ วนิ โย มยา เทสิ โต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา” อันแปลวา “ดูกอนอานนท ธรรม และวนิ ัยอนั ที่เราแสดงแลว บัญญัติแลวแกเธอทั้งหลาย ธรรมวินัยจักเปนศาสดาของเธอท้ังหลายเม่ือเรา ลวงลบั ไปแลว” พระพุทธเจาทรงประชวรหนักแตทรงอดกล้ันมุงหนาไปเมืองกุสินารา ประทับ ณ ปาสาละ เพื่อ เสด็จดับขันธปรินิพพาน โดยกอนที่จะเสด็จดับขันธปรินิพพานนั้น พระองคไดอุปสมบทแกพระสุภัททะ- ปรพิ าชก ซ่ึงถอื ไดว า “พระสภุ ทั ทะ” คอื สาวกองคสุดทา ยที่พระพุทธองคท รงบวชใหใ นทามกลางคณะสงฆ ท้งั ท่ีเปนพระอรหนั ตแ ละปุถชุ นจากแควนตาง ๆ รวมทงั้ เทวดาทมี่ ารวมตวั กันในวันนี้ ในครานั้นพระองคท รงมปี จฉิมโอวาทวา “ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย เราขอบอกเธอทั้งหลายสังขารท้ังปวง มีความเส่ือมสลายไปเปนธรรมดา พวกเธอจึงทําประโยชนตนเองและประโยชนของผูอ่ืนใหสมบูรณดวย ความไมประมาทเถดิ ” (อปปมาเทนสมปาเทต) จากนัน้ ไดเสดจ็ ดบั ขนั ธป รนิ ิพพานใตตน สาละ ณ สาลวโนทยาน ของเหลามัลลกษัตริย เมืองกุสินารา แควนมัลละ ในวันข้ึน 15 ค่ําเดือน 6 รวมพระชนมายุ 80 พรรษา และวันน้ีถือเปนการเร่ิมตนของ พุทธศกั ราช
ห น า | 11 สรปุ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเปนศาสนาประเภทเทวนยิ ม คอื ไมน บั ถอื พระเจา พระสัมมาสมั พทุ ธเจา ทรงตรัสรู ความจรงิ ของชวี ติ วา องคประกอบของชวี ติ มนษุ ยประกอบดวยรูปและนามเทานน้ั รปู และนามเมอื่ ขยายความกจ็ ะเปน รปู จติ และเจตสิก จากรูปจิตและเจตสิกกข็ ยายความดว ยขันธ 5 ไดแ ก รปู ขนั ธ วญิ ญาณขันธ เวทนาขนั ธ สญั ญาขนั ธ และสงั ขารขันธ สรุปไดด ังแผนภมู อิ งคป ระกอบของชวี ิต แผนภูมแิ สดงองคป ระกอบของชีวติ มนุษย จากแผนภูมิองคประกอบของชีวิตมนุษยดังกลาว ในทางพระพุทธศาสนาอธิบายวา ชีวิต คือ ความเปน อยขู องรา งกาย (รปู ) จิตและเจตสิก (นาม) โดยอาศัยความเปนผูนําเกิดและตามรักษาดํารงชีวิต และการกระทําตาง ๆ ไดโดยอาศยั จติ และเจตสิกเปนผูก าํ หนด รปู คือ รางกายเปน ธรรมชาตทิ ่ีไมมีความรสู ึกนึกคดิ ใด ๆ ทัง้ สน้ิ นาม คอื สว นท่ีเปนจติ และเจตสกิ เปนธรรมชาติท่รี ับรสู ิง่ ตาง ๆ และสามารถนึกคิดเร่ืองราวสง่ิ ตาง ๆ ได จิต คอื ธรรมชาติทร่ี ูอารมณ ทําหนาที่เห็น ไดยิน รูรส รูกล่ิน รูสึกตอการสัมผัส ถูกตองทางกาย และรสู ึกคิดทางใจ เจตสิก คือ ธรรมชาตทิ รี่ ูสกึ นกึ คิดเรอ่ื งราวสงิ่ ตา ง ๆ เมอื่ แยกรปู และนามใหละเอียดขึ้นกจ็ ะอธบิ ายดวยขนั ธ 5 คอื รปู ขนั ธ (รูป) หมายถึง อวยั วะนอ ยใหญ หรือกลุม รูปทม่ี ีอยใู นรางกายทัง้ หมดของเรา วิญญาณขนั ธ (จติ ) หมายถงึ ธรรมชาตทิ ่รี ับรูสิ่งตา ง ๆ ทมี่ าปรากฏทางตา หู จมูก ล้ิน กายใจ อีก ทัง้ เปน ธรรมชาตทิ ีท่ าํ ใหเ กดิ ความรสู ํานกึ คดิ ตา ง ๆ เวทนาขนั ธ (เจตสกิ ) หมายถึง ความรูสึกเปนสขุ เปนทุกข ดใี จ เสียใจหรือเฉย ๆ สัญญาขันธ (เจตสิก) หมายถงึ ธรรมชาติท่มี ีหนา ทใ่ี นการจํา หรือเปน หนวยความจําของจติ นน่ั เอง
ห น า | 12 สงั ขารขันธ (เจตสกิ ) หมายถงึ ธรรมชาตทิ ปี่ รงุ แตงจิตใหมลี กั ษณะตา ง ๆ เปนกุศลบาง การเกดิ ข้นึ ของ จติ (วญิ ญาณขันธ) จะเกดิ ข้นึ โดยมีเจตสิก (เวทนาขันธ สญั ญาขันธ สงั ขารขนั ธ) เกิดขน้ึ รวมดวยเสมอเฉพาะจิต อยา งเดียว ไมส ามารถรบั รหู รอื นกึ คิดอะไรไดเลย จติ และเจตสกิ จะแยกจากกันไมไ ด ตอ งเกดิ รวมกนั อิงอาศยั กัน จิตแตล ะดวงทเ่ี กิดจะตองมีเจตสกิ เกิดรว มดวยเสมอ จากความจริงของชีวิตท่ีพระพุทธองคทรงคนพบวา ชีวิตเปนเพียงองคประกอบของรูปและนาม เทา น้นั แตเหตุทีค่ นเรามีความทกุ ขอยู เพราะความรสู กึ นึกคิดท่ีเปนเร่อื งเปน ราววา “มีเรามีเขา” ทําใหเกิด การยึดมนั่ ถอื มัน่ ดว ยอวิชชา (ความไมร )ู วา สภาพธรรมเทานั้นเปนเพียงรูปและนามท่ี “เกิดข้ึน ตั้งอยู แลว ดับไป” เทาน้นั 1. หลกั ธรรมเพื่อความหลดุ พน เฉพาะตวั คือ อรยิ สจั 4 อรยิ สจั 4 แปลวา ความจริงอันประเสรฐิ มอี ยสู ปี่ ระการ คอื 1) ทุกข คือ สภาพที่ทนไดยากภาวะท่ีทนอยูในสภาพเดิมไมไดสภาพท่ีบีบคั้น ไดแก ชาติ (การเกดิ ) ชรา (การแก การเกา) มรณะ (การตาย การสลายไป การสญู สิ้น) การประสบกบั ส่งิ อนั ไมเ ปน ทีร่ ัก พลดั พรากจากส่ิงอนั เปน ทรี่ กั การปรารถนาส่งิ ใดแลว ไมสมหวังในสิ่งน้นั กลา วโดยยอ ทกุ ข ก็คือ อุปาทานขันธ หรอื ขนั ธ 5 2) ทุกขสมุทัย คือ สาเหตุท่ีทําใหเกิดทุกข ไดแก ตัณหา 3 คือ กามตัณหา – ความทะยาน อยากในกาม ความอยากไดทางกามารมณ, ภวตัณหา – ความทะยานอยากในภพ ความอยากเปนโนนเปนน่ี ความอยากท่ีประกอบดวย ภาวทิฏฐิ หรือสัสสตทิฏฐิ และวิภวตัณหา – ความทะยานอยากในความปรารถนา จากภพ ความอยากไมเปนโนน ไมเปน น่ี ความอยากท่ปี ระกอบดว ยวภิ วทฏิ ฐิ หรืออุจเฉททฏิ ฐิ 3) ทุกขนิโรธ คือ ความดับทุกข ไดแก ดับสาเหตุท่ีทําใหเกิดทุกขกลาว คือ ดับตัณหาทั้ง 3 ไดอ ยา งส้ินเชิง 4) ทกุ ขนิโรธคามินีปฏิปทา คือ แนวปฏิบัติที่นําไปสูหรือนําไปถึงความดับทุกข ไดแก มรรค อนั มีองคป ระกอบอยแู ปดประการ คือ (1) สัมมาทฏิ ฐิ – ความเห็นชอบ (2) สัมมาสังกัปปะ – ความดําหริชอบ (3) สัมมาวาจา - เจรจาชอบ (4) สมั มากมั มนั ตะ - ทําการงานชอบ (5) สมั มาอาชวี ะ – เลี้ยงชพี ชอบ (6) สมั มาวายามะ - พยายามชอบ (7) สมั มาสติ - ระลึกชอบ และ (8) สัมมาสมาธิ – ตั้งใจชอบ ซ่ึงรวมเรียก อีกชอื่ หนง่ึ ไดวา “มัชฌมิ าปฏปิ ทา” หรอื ทางสายกลาง 2. หลกั ธรรมเพ่ือการอยูรวมกนั ในสังคม 1) สปั ปรุ สิ ธรรม 7 สปั ปรุ สิ ธรรม 7 คือ หลักธรรมของคนดีหรอื หลกั ธรรมของสัตตบุรษุ 7 ประการ ไดแก (1) รจู กั เหตหุ รอื ธมั มัตุ า หมายถงึ ความเปน ผรู จู ักเหตุ รจู ักวเิ คราะหหาสาเหตขุ องส่ิงตาง ๆ (2) รูจ กั ผลหรืออัตถญั ุตา หมายถึง ความเปน ผูรูจักผลทเี่ กิดขน้ึ จากการกระทาํ (3) รูจักตนหรอื อัตตัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักตนทั้งในดานความรู คุณธรรมและ ความสามารถ (4) รจู ักประมาณหรอื มตั ตัญุตา หมายถึง ความเปนผูรจู ักประมาณรจู กั หลกั ของความพอดี การดาํ เนนิ ชีวติ พอเหมาะพอควร (5) รจู ักกาลเวลาหรือกาลญั ตุ า หมายถงึ ความเปน ผรู จู กั กาลเวลา รจู ักเวลาไหนควรทาํ อะไร แลว ปฏบิ ัตใิ หเ หมาะสมกับเวลานนั้ ๆ
ห น า | 13 (6) รจู ักชุมชนหรือปริสัญตุ า หมายถึง ความเปน ผูรจู กั ปฏิบตั กิ ารปรับตนและแกไขตนให เหมาะสมกับสภาพของกลมุ และชุมชน (7) รจู ักบุคคลหรือปคุ คลัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับบุคคล ซึ่งมีความแตกตางกัน การที่บคุ คลไดน ําหลักสปั ปุริสธรรม 7 มาใชใ นการดาํ เนินชีวติ พบกบั ความสขุ ในชวี ิตได 2) อทิ ธิบาท 4 อิทธบิ าท 4 คอื หลักธรรมทน่ี ําไปสูความสาํ เรจ็ แหง กจิ การมี 4 ประการ คือ ฉันทะ วิรยิ ะ จติ ตะ วมิ ังสา (1) ฉนั ทะ คอื ความพอใจใฝร กั ใฝหาความรแู ละใฝส รางสรรค (2) วิรยิ ะ คือ ความเพียรพยายามมคี วามอดทนไมท อ ถอย (3) จิตตะ คือ ความเอาใจใสแ ละต้งั ใจแนว แนในการทาํ งาน (4) วมิ ังสา คือ ความหม่นั ใชปญญาและสติในการตรวจตราและคิดไตรต รอง 3) กุศลธรรมบถ 10 กศุ ลกรรมบถ 10 เปน หนทางแหง การทาํ ความดีงามทางแหงกุศล ซ่ึงเปนหนทางนําไปสูความสุข ความเจรญิ แบง ออกเปน 3 ทาง คอื กายกรรม 3 วจีกรรม 4 และมโนกรรม 3 1. กายกรรม 3 หมายถงึ ความประพฤตดิ ีทีแ่ สดงออกทางกาย 3 ประการ ไดแ ก (1) เวนจากการฆาสัตว คือ การละเวนจากการฆาสัตว การเบียดเบียนกัน เปนผูเมตตา กรณุ า (2) เวน จากการลกั ทรัพย คอื เวน จากการลกั ขโมย เคารพในสทิ ธิของผูอ่ืน ไมหยิบฉวยเอา ของคนอื่นมาเปนของตน (3) เวน จากการประพฤติในกาม คือ การไมลวงละเมิดสามีหรือภรรยาผูอื่น ไมลวงละเมิด ประเวณที างเพศ 2. วจีกรรม 4 หมายถึง การเปนผูมีความประพฤติดีซ่ึงแสดงออกทางวาจา 4 ประการ ไดแก (1) เวน จากการพูดเท็จ คือ การพดู แตความจริงไมพ ูดโกหกหลอกลวง (2) เวนจากการพูดสอเสียด คือ พูดแตในส่ิงท่ีทําใหเกิดความสามัคคีกลมเกลียว ไมพ ูดจาในสงิ่ ทก่ี อ ใหเกิดความแตกแยกแตกราว (3) เวนจากการพูดคาํ หยาบ คือ พดู แตคําสุภาพ ออนหวาน ออนโยนกับบุคคลอ่ืนท้ังตอหนา และลับหลงั (4) เวน จากการพดู เพอเจอ คือ พูดแตค วามจริง มเี หตุผล เนน เน้ือหาสาระที่เปนประโยชน พดู แตส งิ่ ท่จี ําเปน และพดู ถกู กาลเทศะ 3. มโนกรรม 3 หมายถงึ ความประพฤติทีเ่ กิดขนึ้ ในใจ 3 ประการ ไดแ ก (1) ไมอ ยากไดของของเขา คือ ไมค ดิ โลภอยากไดของผูอืน่ มาเปน ของตน (2) ไมพ ยาบาทปองรายผอู นื่ คอื มจี ติ ใจปรารถนาดอี ยากใหผ ูอ่ืนมคี วามสขุ ความเจรญิ (3) มีความเห็นที่ถูกตอง คือ ความเช่ือท่ีถูกตองคือความเชื่อในเรื่องการทําความดีไดดี ทําช่วั ไดช ัว่ และมีความเช่ือวา ความพยายามเปนหนทางแหงความสําเร็จ
ห น า | 14 สงั คหวตั ถุ 4 สังคหวัตถุ 4 เปน หลักธรรมคาํ สอนทางพระพทุ ธศาสนาทเ่ี ปนวธิ ปี ฏบิ ัติเพ่อื ยึดเหน่ียวจิตใจของคน ท่ยี งั ไมเคยรักใครน บั ถือใหมีความรักความนับถือ สังคหวัตถุเปนหลักธรรมท่ีชวยผูกไมตรีซึ่งกันและกันให แนนแฟน ยิ่งข้นึ ประกอบดวย ทาน ปยวาจา อตั ถจริยา สมานตั ตตา 1. ทาน คือ การใหเปนสิง่ ของตนใหแกผ อู น่ื ดวยความเต็มใจ เพ่อื เปนประโยชนแ กผูรบั การใหเปน การยึดเหน่ียวนํา้ ใจกนั อยา งดยี ิง่ เปน การสงเคราะหส มานน้าํ ใจกันผกู มิตรไมตรีกันใหยัง่ ยืน 2. ปยวาจา คือ การเจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวานพูดชวนใหคนอ่ืนเกิดความรักและนับถือ คําพดู ท่ดี นี ั้นยอมผูกใจคนใหแ นนแฟน ตลอดไป หรือแสดงความเห็นอกเห็นใจใหกําลังใจรูจักพูดใหเกิดความ เขาใจดสี มานสามคั คยี อมทําใหเ กิดไมตรที ําใหรักใครน ับถอื และชวยเหลือเกอ้ื กูลกนั 3. อัตถจรยิ า คอื การประพฤตสิ ่ิงท่ีเปน ประโยชนแกกัน คือชวยเหลือดวยแรงกายและขวนขวาย ชวยเหลอื กจิ กรรมตา ง ๆ ใหล ลุ ว งไป เปนคนไมด ูดายชวยใหความผดิ ชอบชว่ั ดีหรือชว ยแนะนาํ ใหเกิดความรู ความสามารถในการประกอบอาชีพ 4. สมานัตตตา คือ การวางตนเปนปกติเสมอตนเสมอปลาย ไมถือตัว และการวางตนใหเหมาะสม กับฐานะของตนตามสภาพ ไดแก ผูใหญ ผูนอย หรือผูเสมอกัน ปฏิบัติตามฐานะผูนอยคาราวะนอบนอม ยําเกรงผูใหญ อบายมุข 6 คาํ วา อบายมขุ คอื หนทางแหงความเส่ือมหรือหนทางแหงความหายนะความฉิบหาย มี 6 อยาง ไดแก 1. การเปน นักเลงผหู ญิง หมายถงึ การเปนคนมีจติ ใจใฝในเรอื่ งเพศ เปนนักเจาชู ทําใหเสียทรัพยสิน เงนิ ทองสญู เสยี เวลาและเสยี สขุ ภาพ 2. การเปนนกั เลงสรุ า หมายถงึ ผูท่ดี ่มื สรุ าจนตดิ เปน นสิ ยั การดม่ื สุรานอกจากจะทําใหเ สียเงินเสียทอง แลว ยังเสยี สุขภาพ และบั่นทอนสตปิ ญญาอีกดว ย 3. การเปนนักเลงการพนัน หมายถึง ผูที่ชอบเลนการพนันทุกชนิด การเลนการพนันทําใหเสีย ทรัพยส นิ ไมเ คยทําใครร่าํ รวยมั่งมเี งินทองไดเ ลย 4. การคบคนช่ัวเปน มิตร หมายถงึ การคบคนไมดีหรือคนชั่ว คนช่ัวชักชวนใหทําในสิ่งที่ไมถูกตอง และอาจนําความเดือดรอนมาสตู นเองและครอบครัว 5. การเที่ยวดกู ารละเลน หมายถงึ ผทู ชี่ อบเทยี่ วการละเลน กลางคืน ทําใหเสียทรัพยสิน และอาจ ทาํ ใหเกดิ การทะเลาะเบาะแวง ในครอบครวั 6. เกยี จครา นทาํ การงาน หมายถงึ ผูไ มช อบทาํ งาน ไมข ยนั ไมทํางานตามหนาท่ที ร่ี บั ผดิ ชอบ
ห น า | 15 เบญจศลี เบญจธรรม เบญจศีลเบญจธรรม คือ หลกั ธรรมทคี่ วรปฏิบตั ิควบคูกนั มงุ ใหบุคคลทาํ ความดลี ะเวน ความช่ัว เบญจศลี (สิ่งที่ควรละเวน) เบญจธรรม (สิ่งที่ควรประพฤติ) 1. เวนจากการฆา สตั ว 1. มคี วามเมตตากรณุ า 2. เวน จากการลักทรัพย 2. ประกอบอาชีพสุจริต 3. เวนจากการประพฤติผดิ ในกาม 3. มคี วามสาํ รวมในกาม 4. เวนจากการพดู เทจ็ 4. พูดความจรงิ ไมพดู โกหก 5. เวนจาการเสพของมึนเมา 5. มสี ตสิ ัมปชญั ญะ โลกบาลธรรมหรอื ธรรมคมุ ครองโลก โลกบาลธรรม หรือ ธรรมคุมครองโลก เปนหลักธรรมท่ีชวยใหมนุษยทุกคนในโลกอยูกันอยางมี ความสุข มีนาํ้ ใจเอ้ือเฟอ มคี ุณธรรม และทําแตส งิ่ ท่ีเปนประโยชน ประกอบดว ยหลกั ธรรม 2 ประการ ไดแก หริ ิโอตตัปปะ 1.หริ ิ คอื ความละอายในลักษณะ 3 ประการแลว ไมท ําความช่วั (บาป) คือ (1) ละอายแกใจหรือความรสู ึกท่ีเกดิ ขนึ้ ในใจตนเองแลว ไมทําความชว่ั (2) ละอายผูอ่ืนหรอื สภาพแวดลอ มตาง ๆ แลวไมท ําความช่ัว (3) ละอายตอความช่ัวท่ตี นจะทาํ นน้ั แลวไมท าํ ความชัว่ 2.โอตตปั ปะ คือ ความเกรงกลัว หมายถงึ (1) เกรงกลัวตนเอง ตเิ ตียนตนเองได (2) เกรงกลัวผอู ืน่ แลว ไมก ลา ทาํ ความช่ัว (3) เกรงกลัวตอผลของความชั่วที่ทําจะเกดิ ขน้ึ แกต น (4) เกรงกลวั ตอ อาญาของแผน ดนิ แลวไมกลา ทําความชั่ว นกิ ายสําคญั ของพระพทุ ธศาสนา หลังจากทพ่ี ระพทุ ธเจาปรินิพพานแลว ประมาณ 100 ป พระพุทธศาสนาก็เริ่มมีการแตกแยกใน ดานความคิดเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติตามพระธรรมวินัย จนถึงสมัยพระเจาอโศกมหาราช ก็แตกแยกกัน ออกเปน นกิ ายใหญ ๆ 2 นิกาย คอื มหายาน (อาจาริยวาท) กบั หนิ ยาน (เถรวาท) มหายาน “มหายาน” แปลวา “ยานใหญ” เปน ลทั ธขิ องภิกษุฝายเหนือของอนิ เดยี ซึง่ มจี ุดมุงหมาย ที่จะเผยแพรพระพุทธศาสนาใหมหาชนเลือ่ มใสเสียกอนแลวจงึ สอนใหระงับดับกิเลส ทั้งยังไดแกไขคําสอน ในพระพุทธศาสนาใหผันแปรไปตามลําดับ ลัทธินี้ไดเขาไปเจริญรุงเรืองอยูในทิเบต จีน เกาหลี ญี่ปุนและ เวยี ดนาม เปน ตน
ห น า | 16 หินยาน คาํ วา “หินยาน” เปนคําท่ฝี า ยมหายานตง้ั ให แปลวา “ยานเล็ก” เปน ลทั ธขิ องภิกษฝุ ายใต ที่สอนใหพระสงฆปฏบิ ัติ เพื่อดับกิเลสของตนเองกอน และหามเปล่ียนแปลงแกไขพระวินัยอยางเด็ดขาด นิกายน้มี ีผูนับถือในประเทศศรีลังกา ไทย พมา ลาว และกัมพูชา โดยเฉพาะประเทศไทย เปนศูนยกลาง นิกายเถรวาท เพราะมีการนับถือพระพุทธศาสนานิกายนี้สืบตอกันมาต้ังแตบรรพชน พระพุทธเจาไมใช เทวดาหรือพระเจา แตเปนมนษุ ยทีม่ ีศักยภาพเหมือนสามัญชนท่วั ไป สามารถบรรลสุ จั ธรรมไดดวยความวิริยะ อุตสาหะ หลักปฏบิ ัติในชีวิตที่ทกุ คนควรกระทาํ คือ ทําความดี ละเวนความชั่ว ทําจิตใจใหผองแผว และการท่ี เราจะทําส่งิ เหลา นไี้ ดนนั้ จะตองมีศีล สมาธิ ปญญา เพ่ือเปนพาหนะนําผูโดยสารขามทะเลแหงวัฏสงสาร ไปสพู ระนพิ พาน
ห น า | 17 ความแตกตางของนกิ ายหินยานกับนกิ ายมหายาน นิกายหนิ ยาน นิกายมหายาน 1. ถือเร่อื งอรยิ สัจเปนสําคัญ 1. ถอื เรื่องบารมเี ปนสําคัญ 2. คุณภาพของศาสนกิ ชนเปนสําคัญ 2. ถือปรมิ าณเปน สําคญั กอ นแลว จงึ เขา ปรบั ปรุง คณุ ภาพในภายหลงั ดงั น้นั จึงตองลดหยอ น การปฏบิ ัตพิ ระวนิ ยั บางขอลง เขา หาบคุ คล และเพม่ิ เทวดาและพิธกี รรมสังคตี กรรม เพ่อื จูงใจคนไดอธิบายพทุ ธมติอยา งกวางขวางเกิน ประมาณ เพอื่ การเผยแพร จนทําใหพระพทุ ธ- พจน ซงึ่ เปนสจั นิยมกลายเปน ปรชั ญาและ ตรรกวิทยาไป 2. มพี ระพทุ ธเจาองคเ ดยี วคือพระ- 3. มีพระพทุ ธเจา หลายองค องคเ ดมิ คอื อาทพิ ุทธ สมณโคดมหรือพระศากยมนุ ี (กายสีนา้ํ เงนิ ) เมอ่ื ทานบําเพญ็ ฌานกเ็ กิด พระฌานิพุทธอกี เปนตนวา พระไวโรจน พทุ ธะ- อักโขภัย พุทธะรัตนสมภพ พทุ ธไภสัชชครุ ุ- โอฆสิทธิ และอมติ าภา เฉพาะองคน ี้มมี าใน รางคนเปน (มานุษีพทุ ธะ) คอื พระศากยมุนี 4. มีความพน จากกเิ ลสชาติภพ 4. มีความเปนพระโพธิสัตวหรือพุทธภูมิเพื่อ เปนอตั กตั ถจริยแลวบาํ เพญ็ บาํ เพ็ญโลกตั ถจรยิ าไดเต็มทีเ่ ปนความ ประโยชนแ กผ อู ่ืนเปนโลกตั ถจริย มุงหมายของพระโพธ์ิสัตวหลายองค เชน เปน ความมุงหมายสาํ คญั พระอวโลกเิ ตศวรมชั ชุลี วชิ รปาณี กษติ คสร 3 สมันตภัทรอริยเมตไตร เปน ตน 5. มีบารมี 10 ประการ คือ ทาน ศีล 5. มบี ารมี 6 ประการ คอื ทาน ศีล วนิ ยั ขนั ติ เนกขัมมะ ปญญา วริ ิยะ ขนั ติ สจั จะ ฌาน ปญญา อันใหถ งึ ความสาํ เรจ็ เปน อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา อันใหถึง พระโพธสิ ัตวและเปนปฏปิ ทาของพระโพธิสตั ว ความเปน พระพทุ ธเจา 6. ถือพระไตรปฎกเถรวาท คือ 6. ถอื พระธรรมวินัยเกาและมพี ระสตู รใหม พระธรรมวนิ ยั ยตุ ิตามปฐม- เพม่ิ เตมิ เชน สุขวดียหู สูตรลงั กาวตาร สังคายนา ไมมพี ระวนิ ัยใหม ลัทธรรมปณุ ฑรกิ สูตร ปรัชญาปารมิตาสูตร เพ่มิ เตมิ เปนตน
ห น า | 18 นิกายหนิ ยาน นกิ ายมหายาน 7. รักษาวินัยเดมิ เอาไว 7. ปรับปรงุ พระธรรมวินัยใหเ ขา กับภาวะแวดลอม 8. ถือวาพระอรหันตเม่ือนิพพานแลว 8. ถือวาพระอรหันตเมื่อปรินิพพานแลวยอม ไมเ กดิ ใหมอ ีก กลบั มาเกดิ ใหมสาํ เรจ็ เปน พระพทุ ธเจา อีก 9. ยอมรบั แตธ รรมกาย และนริ มานกาย 9. ถอื วาพระพทุ ธเจา มี 3 กาย คือ ธรรมกาย นอกน้นั ไมย อมรบั ไดแก กายธรรมสมั โภคกายหรือกายจาํ ลอง หรือกายอวตารของพระพทุ ธเจา เปน กสั สปสัมพุทธะบา ง เปนพระศากยมนุ ีบาง เปนพระกกสุ นั ธะบาง เปนตน นั้น ลว นเปน สัมโภคกายของพระพทุ ธองคเดมิ (อาทิพทุ ธะ) ท้ังน้ัน และ นริ นามกาย คือ กายทตี่ องอยู สภาพธรรมดา คือ ตอ งแก เจ็บ และ ปรนิ ิพพาน ซงึ่ เปนกายทพี่ ระพทุ ธเจา สรางขึ้น เพ่ือใหคนเห็นความจรงิ ของชวี ติ แตส าํ หรบั พระพทุ ธเจา องคท่แี ทนั้นไมต อ งอยใู นสภาพ เชน นี้ แบบเดียวกนั กับปรมาตมนั ของพราหมณ
ห น า | 19 บุคคลสาํ คัญในสมยั พทุ ธกาล พระสารบี ตุ ร เปนอัครสาวกเบอื้ งขวาของพระพทุ ธเจา ไดร ับการยกยองจากพระพุทธเจาวา เปนเลิศ กวาพระสงฆท้ังปวง ในดานสติปญญา นอกจากน้ีพระสารีบุตร ยังมีคุณธรรมในดานความกตัญู และการ บําเพ็ญประโยชนใหแกพ ุทธศาสนาอกี ดวย ทานไดรับการยกยองวาเปน ธรรมเสนาบดีคูกับพระพุทธเจาที่ เปน ธรรมราชา เนอ่ื งจากทา นเปนผูมีปฏญิ าณในการแสดงพระธรรมเทศนา คือ ชแ้ี จงใหผ ูฟงเขาใจไดช ัดเจน สาํ หรบั ในดา นความกตัญู น้นั ทา นไดฟ ง ธรรมจากพระอิสสชเิ ปนทานแรก และเกิดธรรมจักษุ คือ ดวงตา เหน็ ธรรม หมายความวา ส่ิงใดเกดิ เปนธรรมดา ยอ มดับเปนธรรมดา จากนั้นเม่ือกอนท่ีทานจะนอนทานจะ กราบทิศที่พระอสั สชิอยแู ละหันศีรษะนอนไปยังทิศนัน้ พระมหาโมคคัลลานะ เปนอัครสาวกเบือ้ งซายของพระพุทธเจา เปนผูมีเอตทัคคะในดานผูมีฤทธิ์ ทานเปนผฤู ทธานุภาพมาก สามารถกระทําอทิ ธิฤทธ์ิไปเย่ียมสวรรคและนรกได จากน้ันนําขาวสารมาบอก ญาติมิตรของผทู ไี่ ปเกิดในสวรรคแ ละนรกใหไ ดท ราบ ประชาชนทั้งหลายจึงมาเลื่อมใสพระพุทธศาสนา ทําให ประชาชนเสอ่ื มคลายความเคารพเดยี รถีย (นักบวชลทั ธิหนงึ่ ในสมยั พทุ ธกาล) พวกเดยี รถยี จ ึงโกรธแคน ทา นมาก จึงลงความเห็นวา ใหกําจัดพระโมคคัลลานะ นอกจากนั้นจึงจางโจรไปฆาพระเถระ พวกโจรจึงลอมจับ พระเถระทานรูตัวหนีไปได 2 ครั้ง ในครั้งที่ 3 ทานพิจารณาเห็นวาเปนกรรมเกา จึงยอมใหโจรจับอยาง งายดาย โจรทบุ กระดกู ทา นจนแหลกเหลวไมม ีชนิ้ ดี กอนท่ที านจะยอมนิพพาน เพราะกรรมเกา ทานไดไป ทลู ลาพระพทุ ธเจากอ นแลว จึงนิพพาน อนาถบิณฑิกเศรษฐี เปน ผูไ ดร ับการยกยอ งเปนนายกฝายอุบาสก ทานเปนเศรษฐีอยูเมืองสาวัตถี เปนผมู ีศรัทธาแรงกลาเปน ผูสรา งพระเชตุวนั มหาวิหารถวายแกพระพุทธเจา พระพุทธเจาทรงประทับอยูท่ี วดั น้ถี ึง 19 พรรษา นอกจากทานจะอปุ ถมั ภบ าํ รงุ พระภกิ ษสุ งฆแลว ยังไดสงเคราะหคนยากไรอนาถาอยาง มากมายเปน ประจําจงึ ไดช อ่ื วา อนาถบิณฑกิ ซง่ึ แปลวา ผมู ีกอนขา วเพอ่ื คนอนาถา พระเจาพิมพิสาร เปนอุบาสกที่สําคัญอีกผูหน่ึง พระองคเปนพระเจาแผนดินครองแควนมคธ ครองราชยสมบตั ิอยูทีก่ รุงราชคฤห ทา นถวายพระราชอุทยานเวฬุวันแกพระพุทธเจานับวาเปนวัดแหงแรก ในพระพุทธศาสนา พระอานนท เปน สหชาติและพุทธอุปฏ ฐากของพระพุทธเจา ไดรับการยกยองวาเปนเอตทัคคะวา เปนผูมีพหูสูต เนื่องจากทรงจําพระสูตรท่ีพระพุทธเจาตรัสไว และเปนผูสาธยายพระสูตรจนทําให การปฐมสังคายนาสําเรจ็ เรยี บรอย นอกจากนน้ั ทานยงั ทาํ หนา ท่ีเปน พทุ ธอุปฏ ฐากของพระพทุ ธเจาไดอ ยางดี รวม 25 พรรษา ดวยความขยันขันแข็งที่เปนภารกิจประจําและไดรับการยกยองจากสมเด็จพระสัมมา- สมั พุทธเจาใหเปน เอตทัคคะ (เลิศ) 5 ประการ คือ 1. มีสติรอบคอบ 2. มีความทรงจําแมนยํา 3. มคี วามเพยี รดี 4. เปนพหสู ตู 5. เปน ยอดของพระภกิ ษุผูอ ปุ ฏฐากพระพทุ ธเจา นางวิสาขา ผูเปนฝายอุบาสิกาเปนเลิศในการถวายทานและนางเปนผูมีความงามครบ 5 อยาง ซ่ึงเรยี กวา เบญจกลั ยาณี ไดแ ก เปนผมู ีผมงาม คือ มีผมยาวถงึ สะเอวแลว ปลายผมงอนขึ้น เปนผูมีเน้ืองาม คือ รมิ ฝปากแดง ดจุ ผลตําลึงสกุ และเรยี บชดิ สนิทดี เปนผูมกี ระดูกงาม คอื ฟนขาวประดุจสังขแ ละเรยี บ
ห น า | 20 เสมอกนั เปนผมู ผี ิวงาม คือ ผวิ งามละเอียด ถา ดาํ กด็ ําดงั ดอกบวั เขยี ว ถา ขาวกข็ าวดงั ดอกกรรณกิ าร เปน ผูม ี วัยงามแมจะคลอดบุตรถึง 10 ครั้ง ก็คงสภาพรางกายสาวสวยดุจคลอดครั้งเดียว ปกตินางวิสาขาไปวัด วันละ 2 ครั้ง คอื เชา เยน็ และมขี องไปถวายเสมอ เวลาเชาจะเปนอาหาร เวลาเย็นจะเปนน้ําปานะ นางเปน ผูส รางวัดบปุ ผารามถวายพระบรมศาสดา และเปนผคู ดิ ถวายผา อาบนํ้าฝนแกพระเณร เพราะพระเณรไมมี ผา อาบน้ํา เปลือยกายอาบนาํ้ ฝนดไู มเ หมาะสม เรือ่ งที่ 3 ประวัตศิ าสดาและคําสอนของศาสนาอิสลาม ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด ศาสนาอิสลามเกิดขึ้นในดินแดนทะเลทรายอาหรับ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ในยุคนั้นชาวอาหรับแตกออกเปนหลายกลุม ขาดความสามัคคี ยากแกการปกครอง มีการรบพุง ฆา ฟน กนั ตลอดเวลา ไมมีศาสนาเปนแกน สาร คนสวนใหญนับถือเทพเจา และรปู เคารพตา ง ๆ ประชาชนไมม ีศีลธรรม สตรจี ะถูกขมเหงรังแกมากทสี่ ดุ นบีมฮู ัมหมดั เกิดข้ึนทามกลาง สภาพสงั คมทเ่ี สอื่ มทรามเชน นี้ จึงคดิ หาวิธีทจี่ ะชว ยปรับปรงุ แกไ ขสถานการณน้ีใหด ีขนึ้ นบมี ฮู มั หมัดเปนผทู ่ี ฝกใฝในศาสนาหาความสงบและบําเพ็ญสมาธิท่ถี า้ํ ฮีรอบนภูเขานูร ในคืนหนึ่งของเดือนรอมฎอนกาเบรียล ทตู ของพระเจาไดนาํ โองการของอัลลอฮมาประทาน นบีมูฮัมหมัดไดนําคําสอนเหลานี้มาเผยแผจนเกิด เปนศาสนาอิสลามข้นึ ในระยะแรกของการเผยแผศ าสนาไดรับการตอตา นเปนอยางมากถึงกับถูกทํารา ยจน ตองหลบหนไี ปอยเู มืองมะดีนะฮ จนเปนท่ียอมรับและมีคนนับถือมากมายก็กลับมายึดเมืองเมกกะทําการ เผยแผศ าสนาอสิ ลามอยางเต็มที่ การเผยแผศาสนาของอิสลามออกไปยังประเทศตา ง ๆ ในยุคหลังเปน ไป โดยไรสงครามเขา ยดึ เมอื งเพือ่ เผยแผศ าสนา โดยมคี ัมภีรในศาสนาอิสลาม คอื คัมภรี อัลกุรอาน แนวประพฤตปิ ฏิบตั ิและหลกั คาํ สอนของศาสนาอิสลาม แนวประพฤติปฏิบัติและหลักคําสอนของศาสนาอิสลามประกอบดว ยรายละเอียดท่ีสําคัญ ๆ ดงั ตอ ไปน้ี คือ 1. ศรัทธาตอ อัลเลาะห ใหศรัทธาโดยปราศจากขอ สงสัยใด ๆ วา พระอัลเลาะหท รงมีอยูจ ริง ทรงดํารงอยดู ว ยพระองค ทรงมมี าแตด้งั เดมิ โดยไมม ีส่ิงใดมากอนพระองค ทรงดํารงอยตู ลอดกาล ไมมีสง่ิ ใดอยู หลงั จากพระองคท รงสรางทุกอยางในทอ งฟาเพียบพรอ มดว ยคุณลกั ษณะอันประเสริฐ 2. ศรทั ธาตอ มลาอกิ ะฮุ ซง่ึ เปน บา วอัลเลาะหป ระเภทหนึง่ ทไี่ มอ าจมองเห็นตัวตนหรือทราบรูปรา ง ที่แทจ ริง บรรดามลาอิกะฮุน้ีปราศจากความผิดพลาดบริสุทธิ์จากความมัวหมองท้ังปวง มีคุณสมบัติ ไมเหมือนมนุษย คอื ไมก นิ ไมน อน ไมมเี พศ สามารถจําแลงรา งได 3. ศรทั ธาในพระคัมภีรของพระเจา คือ ศรัทธาวา อัลเลาะหท รงประทานคัมภีรใ หก ับบรรดาศาสนทูต เพื่อนําไปประกาศใหป ระชาชนไดท ราบหลกั คําสอนซงึ่ มีอยู 2 ประเภท คอื 1) สอนถงึ ความสัมพันธระหวางมนษุ ยกบั พระเจา 2) สอนถึงความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกันโดยบรรดาคัมภีรที่ประทานมานั้น มีวิธีประทานตาง ๆ กนั ดังนี้ (1) ถา ยทอดโองการตาง ๆ เขาจิตใจของศาสนา (2) การไดย นิ เสยี งในลักษณะอยใู นภวังคห รือการฝน
ห น า | 21 (3) โดยมลาอกิ ะฮฺ มนี ามวา ญบิ รลี ถูกสงมาพรอมกับโองการของพระเจา นํามาใหศ าสดาดว ย คาํ พูดอันชัดเจน สาํ หรับคัมภรี อัลกรุ อานไดถ ูกบันทกึ ตัง้ แตศ าสดานบีมูฮัมหมัดยังมีชีวิตอยูแ ละไดท อ งจําโดย สาวกของทา น คัมภรี นีไ้ มเ คยปรับปรงุ แกไ ขแตอยางไร มใิ ชวรรณกรรมทม่ี นุษยประพันธข ึ้นมา แตถ ูกประทาน มาจากอลั เลาะหเจา 4. ศรทั ธาในบรรดาศาสนทูต ใหศ รัทธาวา อลั เลาะห ทรงคัดเลือกบคุ คลเปน ผูสง สารนําบทบัญญัติ ของพระองคม าส่ังสอนแกปวงชน อัลกุรอานสอนวา ศาสนทูตที่ปรากฏช่ือในคัมภีรอัลกุรอานมี 25 ทาน มุสลิมทุกคนตอ งศรัทธาในบรรดาศาสนทตู ดังกลา วทัง้ หมด จะละเวนทา นหนึง่ ทา นใดมไิ ดแ ละถอื วา ทกุ ทาน ทก่ี ลา วมาน้ีเปน มุสลิมและเปนบา วของอัลเลาะหเ หมอื น ๆ กัน 5. ศรทั ธาตอ วันปรโลก มหี ลกั การวา มีวันหน่ึงที่เปนวันพิจารณาผลกรรมของมนุษยท ้ังหมด ท้ังนี้ เพ่อื ทุกสงิ่ ทุกอยางในจกั รวาลไดพ ินาศแตกดับหมดแลว จากนั้นอัลเลาะหจะไดใหท ุกคนคืนชีพมาชําระงาน ทีเ่ ขาประกอบไวใ นโลกดงั ขอ ความวา ผปู ระกอบความดีจะไดร ับตอบสนองดว ยส่งิ ดี ผปู ระกอบกรรมชัว่ กจ็ ะ ไดรบั ผลตอบสนอง คือ การลงโทษดังขอ ความวา ผูใดประกอบกรรมดีแมเ พียงนอ ยนิดเขาก็จะไดเ ห็นมัน และผูใดประกอบกรรมช่ัวแมเ พยี งนอยนิดเขากจ็ ะไดเห็นมัน 6. การศรัทธาตอกฎกําหนดสภาวะ คือ ระเบียบอันรัดกุมท่ีอัลเลาะหท รงกําหนดไวแกโลก การศรทั ธาตอ กฎกาํ หนดสภาวะ คือ การยอมรับในอาํ นาจของอัลเลาะหท ี่ทรงครอบครองความเปนไปของ ทกุ สง่ิ แตละสงิ่ เปน ไปตามพระประสงคท พี่ ระองคท รงกําหนดไวท กุ ประการ เชน การถือกําเนดิ ชาตพิ ันธุ เปนตน การนมัสการน้ีจะทําคนเดียวก็ได แตถ าจะรว มกันทําเปนหมูยิ่งไดก ุศลเพิ่มข้ึน มีขอ หามในการ นมัสการเม่ือเวลามนึ เมา 7. การถอื ศีลอด เปนหลักมูลฐานของอิสลามขอ หน่ึงที่มุสลิมทกุ คนตองปฏิบัติ มกี าํ หนดขนึ้ ในทุก ๆ ป ปละ 1 เดือน คือ ตกเดอื นรอมฎอน อันเปน เดอื นที่ 6 แหงปอ สิ ลาม นับแบบจนั ทรคติ การถือศีลอด คือ การงดเวน จากการบริโภคและอื่น ๆ ตามท่ีกําหนดไวแนนอน มีหลักเกณฑในการ ปฏบิ ตั ิ คือ 1. เปนมุสลิม 2. มอี ายบุ รรลศุ าสนาภาวะ (ประมาณ 15 ป) 3. มสี ตสิ ัมปชัญญะ 4. มีพลงั ความสามารถที่จะปฏิบตั ไิ ด กิจกรรมที่กระทําในพธิ ีศลี อด คอื 1. ตั้งจติ ปรารถนา (นียะฮ) ไวแ ตก ลางคืน วาตนจะถอื ศลี อด 2. งดเวนการกนิ ดื่ม และอน่ื ๆ ตาม ขอกําหนด จดุ ประสงคข องการถือศลี อด 1. เพือ่ ทําใหจิตใจบรสิ ทุ ธ์ิ 2. ใหรจู ักควบคมุ จติ ใจและตดั กิเลส 3. ใหรูจักรสของการมขี ันติ 4. ใหร จู ักสภาพของคนยากจนอนาถา จะทาํ ใหเกดิ ความเมตตาแกค นทว่ั ไป จุดเร่มิ ตนของการเขาถือศีลอดในเดอื นรอมฎอนตามศาสนาบญั ญตั ิ
ห น า | 22 เร่ืองท่ี 4 ประวัติศาสดาและคาํ สอนของศาสนาคริสต ศาสนาครสิ ต เปน ศาสนาประเภทเอกเทวนิยม คือ เช่ือวา มีพระเจา สูงสุดเพยี งองคเดียวเปนผูสราง โลกและสรรพสิง่ พระเจา องคน ้ัน คอื พระยะโฮวาห ศาสนาคริสตเ ช่อื วา มนุษยมบี าปมาแตก ําเนิด พระเจา จึงสง พระเยซูมาไถบ าป เช่อื วา วญิ ญาณเปนอมตะ เม่ือถึงวนั ตัดสินโลกมนุษยจะไปอยใู นสวรรค หรือในนรก ชว่ั นิรนั ดร เชอ่ื วามีเทวดาอยมู ากมายท้งั ฝายดแี ละฝา ยชว่ั ซาตานเปน หวั หนาฝา ยช่วั ในที่สุดก็จะถูกพระเจา ทําลาย ศาสนาคริสต เปนศาสนาท่มี ผี นู ับถือมากท่สี ุดในโลก คําวา Christ มาจากภาษาโรมันวา Christus และคําน้ีมาจากภาษากรีก อีกตอหน่ึง คือ คําวา Christos ซ่ึงแปลมาจากคําวา Messiah ในภาษาฮิบรู คําวา messiah แปลวา พระผปู ลดเปลื้องทกุ ขภัย ศาสนาครสิ ต เกิดในปาเลสไตน เมื่อ พ.ศ. 543 โดยคํานวณจากปเกิดของพระเยซูซ่ึงเปนศาสดา ของศาสนานี้ ศาสนาครสิ ต เปนศาสนาทพ่ี ัฒนามาจากศาสนายดู ายหรือยิว เพราะศาสนาคริสตน ับถือพระเจา องคเ ดียวกนั กบั ศาสนายูดาย คือ พระยะโฮวาห พระเยซูเปน ชาวยิวมิไดปรารถนาท่ีจะตั้งศาสนาใหม แต ทรงตอ งการปฏิรูปศาสนายิวใหบ ริสุทธิ์ขึ้น ทรงกลาววา “อยาคิดวา เรามาทําลายพระบัญญัติและคําของ ศาสดาพยากรณเ สีย เรามิไดมาทําลายแตม าเพ่ือทําใหส ําเรจ็ ” กอ นหนา ท่ีพระเยซปู ระสูติ ประเทศปาเลสไตน ไดต กเปนเมืองขึน้ ของจกั รวรรดิใกลเ คียงติดตอกัน เปนระยะเวลากวา 100 ป เร่มิ ตัง้ แตศตวรรษท่ี 1 กอ นคริสตกาล ตกเปน เมืองขึ้นของอัสซีเรีย บาบิโลเนีย จกั รวรรดิเปอรเ ซีย จักรวรรดิกรกี ในสมยั พระเจาอเล็กซานเดอรม หาราช และในที่สดุ ตกเปนของอาณานิคม จักรวรรดิโรมัน ตลอดเวลาทต่ี กเปนเมืองขึ้นนี้ ผพู ยากรณห ลายทานไดพ ยากรณถึงพระเมสสิอา (Messiah) พระผูชว ยใหรอด ซึ่งเปน พระบุตรของพระเจาที่จะเสด็จมาปลดแอกชาวยิวใหไ ดรับเสรีภาพและจะ ทรงไถบาปใหชาวยิวพน จากความหายนะและไดร ับความรอดชั่วนิรันดร ในสมัยนั้นชาวยิวเช่ือใน คําพยากรณน ี้มากและพระเยซูประสูติในชวงเวลาน้ันพอดี พระเยซูเกิดท่ีหมูบ า นเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรงุ เยรซู าเล็ม มารดาชื่อมาเรยี บดิ าชอ่ื โยเซฟ ตามประวัติมาเรียน้ันตั้งครรภม ากอ นขณะที่ยังเปน คูหมั้น กบั โยเซฟ เทวทตู จงึ มาเขา ฝนบอกโยเซฟวา บตุ รในครรภมาเรยี เปนบุตรของพระเจาใหต งั้ ช่ือวา เยซู ตอมา จะเปนผูไถบ าปใหก ับชาวยิว โยเซฟจึงปฏบิ ตั ิตามและรบั มาเรียมาอยดู วยโดยไมสมสูเย่ียงภริยา พระเยซูได รับการเล้ียงดูอยางดี เปน ศิษยของโยฮนั ศกึ ษาพระคมั ภีรเ กา จนแตกฉาน ทานมนี ิสยั ใฝสงบชอบวิเวก เมื่ออายุ 30 ป ไดร ับศลี ลางบาปทแี่ มนํ้าจอรแดน ต้ังแตน้นั มาถือวา ทานสําเร็จภูมิธรรมสูงสุดในศาสนาพระองคม ีสาวก 12 คน เปน หลักในศาสนาทําหนาท่ีสืบศาสนามีนักบุญเปโตร (SaintPeter) เปนหัวหนาผูสืบตําแหนง นักบุญเปโตรตอ ๆ มาจนถึงปจจุบัน เรียกวา สมเด็จพระสันตะปาปา พระเยซูเผยแผศาสนาท่ัวดินแดน ปาเลสไตน เ ปนเวลา 3 ป มีพวกปุโรหิตธรรมาจารยและพวกซีซารเกลียดชัง ขณะท่ีพระองครับประทาน อาหารมือ้ คํ่ากับสาวก 12 คน เปน มอ้ื สดุ ทา ย ทหารโรมันจับตัวทา นในขอหาเปนกบฎและถูกตัดสินใหลงโทษ ประหารชีวิตโดยตรึงกับไมกางเขนไวจนสิ้นพระชนม
ห น า | 23 วิธีการเผยแผค ําสอนของพระเยซู พระเยซู ใชว ิธีการ 3 วธิ ี ในการเผยแผค าํ สอน คือ 1. การรักษาบุคคลท่ีเจ็บปวยใหหาย คนตายใหฟน เปน การปลูกศรัทธาของปวงชนใหเ กิดมีข้ึนตอ อํานาจของ พระเจา 2. การแสดงความฉลาดในการแกปญ หา เชน เมื่อ มีการใหตดั สนิ คดหี ญงิ ผดิ ประเวณี พระเยซูตรัสวา ลงโทษได แตผ ูลงโทษจะตองเปน ผบู ริสุทธิ์ เปน ตน 3. การประกาศหลักการแหงความรัก ความเมตตา กรณุ า และกลาววา จงรกั ศัตรู ทา นจงอธิษฐานเพื่อผูท่ีขมเหง ทา นทาํ ดงั น้ีแลว ทานจะเปนบุตรของพระบิดาของทานใน สวรรค หลกั ธรรมของศาสนาคริสต ศาสนาครสิ ตจ ารกึ หลกั ธรรมไวใ นคมั ภีรไบเบล้ิ หลกั ธรรมของพระเยซบู างขอตรงขา มกบั ศาสนายิว บางขอใหก ารปฏริ ปู และประยุกตเ สียใหม เชน 1. พระเจา ทรงเปน บิดาท่ีดพี รอ มท่ีจะประทานอภยั ใหแ กบตุ รทีก่ ลบั ใจ แตข ณะเดยี วกันก็ทรงเปน ผทู รงไวซ ่ึงความเดด็ เด่ยี วลงโทษผูท ่ีไมเ ชอ่ื ฟง 2. พระเยซูทรงเปน ผูป ระกาศขา วดีโดยแจง ใหท ราบวาอาณาจักรของพระเจา มาถงึ แลว ผูที่ศรัทธา จะไดร ับมหากรุณาธคิ ุณจากพระเจา 3. หลักการสํานึกผิด ใหพ ิจารณาตนเองวา ใหทําผิดอะไร และต้ังใจที่จะเลกิ ทําความชัว่ นั้นเสยี 4. หลกั ความเสมอภาค คือ ความรักความเมตตาของพระเจา ที่มีตอมนุษยทั้งมวล โดยไมเ ลือกชั้น วรรณะ ผูทีท่ าํ ความดีแลว ตองไดร บั รางวัลจากพระเจาโดยเสมอภาคกนั 5. ใหล ะความเคียดแคนพยาบาทการจองเวรซ่ึงกันและกัน ใครรักก็รักตอบ ใครอาฆาตมุงรา ย กต็ องใหอ ภยั คาํ สอนของพระเยซูทส่ี ําคญั ๆ อกี คอื 1. พระเยซูเปนบุตรของพระเจา ทรงสง ใหม าเกิดในโลกมนุษยเ พ่ือไถบาปใหมนุษย มิไดเ สด็จมา ปราบศตั รดู วยอาวธุ แตท รงมาสรา งสนั ติ 2. ผูท่เี ชอ่ื พระเยซจู ะไดร บั ความรอดและชวี ติ นริ นั ดรจะไมถูกพพิ ากษาวันสนิ้ โลก สวนผทู ไ่ี มศรทั ธา จะถูกพพิ ากษาในวันสน้ิ โลก 3. ทรงส่ังสอนใหช าวยิวกลับใจใหมม ิใหนับถือเฉพาะในดา นประกอบพิธีกรรมหรือทองคําสวดดว ย ปากไมจ รงิ ใจ ทรงติเตยี นพวกพระยวิ วาเปน พวกปากวาตาขยิบไมรจู กั พระเจา ที่แทจ ริง 4. บัญญัติของพระเยซทู ีส่ ูงสดุ คือ “การรักพระเจาสดุ ใจและรักเพื่อนบา นเหมือนตัวเราเอง” ผูท ่ี พระเจาโปรดปราน คือ ผูท ี่อยูใ นความดีความชอบธรรมทั้งกาย วาจา ใจ ผูท ี่ผิดดา นจิตใจถือวามีบาปเทากับ การกระทํา
ห น า | 24 5. สอนไมใ หก งั วลความสขุ ทางโลกอนั ไดจากวัตถใุ หแ สวงหาความสุขดานจิตใจผูที่หว งสมบัติจะไมได ข้ึนสวรรค ไมไดพ บกับพระเจา 6. ในดา นการปฏิบัติตอเพ่ือนมนุษยท รงสอนวา การไมท ําช่ัวตอบแทนกรรมชั่วหรือทําดี ตอบแทน ความดีเทาน้ันยังไมเ พียงพอ ใหท ําดีตอบแทนความช่ัว และใหรักศัตรูดังที่ไดเปรียบเทียบวา อยา ตอ สูค นชั่ว ถาผใู ดตบแกม ขวาของทา นกจ็ งหนั แกม ซายใหเ ขาดวย 7. ความดีสูงสดุ คอื การทําตัวตามแบบพระเยซู คุณธรรมสูงสุด คือ ความรัก ความเมตตากรุณา ความออนโยน ความถอมตน ความอดทนตอความทกุ ขทง้ั ปวง พธิ ีกรรมสาํ คญั ของศาสนาครสิ ต เรียกวา พธิ ศี ักดิส์ ิทธิ์ 7 ประการ คือ 1. ศีลลา งบาปหรือศีลจุม (Baptism) กระทาํ เมอื่ เปนทารกหรือเมื่อเขาเปนคริสตศาสนิกชน พิธีนี้ กระทําตามแบบของพระเยซูเมื่อกอ นทรงออกเทศนาใหน ิกายคาทอลิก ปจ จุบันไมจ ุมตัวในนํ้าแตใช นํา้ ศักด์ิสิทธิเ์ ทบนศรี ษะเพ่ือเปน สญั ลกั ษณของการลา งบาป ศลี นี้สาํ คัญทส่ี ดุ ผใู ดไมไดรับศีลลางบาปจะไมได ชื่อวา เปนบตุ รของพระเจาและจะไมไ ดช ีวิตนิรนั ดร 2. ศีลกําลัง (Confirmation) กระทําอีกครั้งหนึ่งเมื่อพนวัยเด็กและเปนผูใหญแลวเพ่ือเปน คริสตศาสนกิ ชนท่ีสมบูรณ 3. ศลี มหาสนิท (Holy Communion) สาํ หรบั คริสตศาสนกิ ชนอาจทาํ ทุกวัน ทกุ สัปดาห ทุกเดือน หรอื อยา งนอ ยปละ 1 คร้ัง โดยรบั ประทานขนมปง และเหลา องุนเปนสัญลักษณต ามแบบที่พระเยซกู ระทําแก อัครสาวกในพระกระยาหารม้อื สดุ ทา ยกอนถูกตรึงกางเขน ขนมปง คือ พระกาย เหลา องุน คือ พระโลหิต ของพระเยซู ฝายคาทอลกิ เชอื่ วา การกระทําพิธีน้ีผูไ ดร บั ประกาศจะมีชวี ติ นริ นั ดร 4. ศีลแกบาป (Penance) สําหรับคาทอลิกท่ีกระทําบาปประสงคจ ะไดรับการอภัยบาปตองไป สารภาพบาปนั้นตอ นกั บวชดวยความสํานึกผิดอยา งแทจริง ถือวา นักบวชไดรับอํานาจในการยกบาปโดยตรง จากสันตะปาปา ซึ่งเปนผแู ทนของพระเยซคู รสิ ต นกั บวชจะยกบาปและตักเตือนสั่งสอนไมใหท าํ บาปอกี 5. ศีลเจิมคนไข (Extreme Unetion) กระทําเมื่อคนไขเจ็บหนักใกลจ ะตายเม่ือชําระบาป ขนั้ สุดทา ยจะชวยใหมีสตกิ าํ ลังสามารถตอ สูกับความตายจนถึงที่สุด วิธีทําบาทหลวงใชนํ้ามันศักด์ิสิทธิ์เจิม ทาท่หี ู จมกู ปาก มอื และเทา ของคนไข พรอ มกบั สวดอวยพรทุกคนในบา นจะตอ งสวดพรอม 6. ศีลสมรสหรอื ศีลกลาว (Matrimony) กระทําแกค บู า วสาวในพธิ สี มรส ผูร ับศลี สมรสโดยถูกตอง แลวจะหยารางกันไมไ ด และหา มสมรสใหมขณะที่สามีภรรยายังมีชีวิตอยู การจดทะเบียนสมรสตาม กฎหมายโดยไมไ ดรบั ศีลสมรสไมถือวาเปน สามภี ริยาโดยถูกตองตามกฎหมายของศาสนา 7. ศีลอนุกรม (Holy Order หรือ Ordination) เปน ศีลบวชใหกับบุคคลท่ีเปนบาทหลวง ผูมี อาํ นาจโปรดศลี อนุกรม คือ สังฆราช ซึ่งถอื เปนผูแทนของพระเยซูครสิ ตเมื่อไดร ับศีลอนุกรมแลวไมอนุญาต ใหส มรส กฎขอนเ้ี กดิ ข้ึนภายหลงั โดยศาสนาจักรเปน ผอู อกกฎน้ี นิกายของศาสนาคริสต เดิมศาสนาคริสตม ีนิกายเดียว คือ โรมันคาทอลิก มีศูนยก ลางอํานาจอยูท่ีสํานักวาติกัน กรุงโรม ใชภ าษาละตนิ เปนภาษาของศาสนา ประมุขของศาสนาคอื สนั ตะปาปา เนนวาเปน ผูส ืบทอดศาสนาคําสอน ของพระเยซูมีพระคือบาทหลวง เปน นกิ ายที่เชือ่ เรือ่ งบุญบาป รูปเคารพถือไมกางเขนท่ีพระเยซูถูกตรึงอยู ตอมาอาณาจักรไบเซนไทนมีศูนยก ลางท่ีกรุงคอนสแตนติโนเปล ประเทศตุรกี ปจจุบันมีความเปนอิสระ ไมย อมอยูใตอํานาจของสนั ตะปาปา จึงแยกนกิ ายมาชอื่ วา กรกี ออรธอดอกซ ไมม ีศูนยก ลางอํานาจท่ีใดโดย
ห น า | 25 เฉพาะใหค วามสําคัญของประมุขท่ีเรียกวา ปาตริอารค หรืออารคบิชอป ตอมามีบาทหลวงชาวเยอรมัน ช่ือมารตินลูเธอร ไมพอใจการปกครองของสํานักวาติกันและโดนขับออกจากศาสนาจักรในป ค.ศ.1521 จึงแยกตนเองออกมาตัง้ นกิ ายใหมคอื โปรเตสแตนต เนน คมั ภรี ไมม ีนกั บวช รับศีลศกั ด์ิสิทธิ์เพียง 2 อยา งคือ ศีลลา งบาปและศีลมหาสนิท เรื่องที่ 5 ประวตั ศิ าสนาพราหมณ - ฮนิ ดแู ละคาํ สอน ศาสนาพราหมณ หรือ ฮินดู เกิดในเอเชียใต คือ ประเทศอินเดีย เมื่อประมาณ 1,400 ป กอนคริสต ศกั ราช เกดิ จากพวกอารยันที่อพยพเขา มาในประเทศอินเดีย ถือกันวาเปนศาสนาท่ีเกา แกท่ีสุดในโลกพระเวท เปน คมั ภีรศาสนาพราหมณไ ดร ับการยกยองวาเปนคมั ภรี ท เี่ กาแกท่ีสดุ ในโลก และเปนวรรณคดที ีเ่ กา แกท ่สี ดุ ในโลกช่อื ของศาสนาเปล่ยี นไปตามกาลเวลา ในตอนแรกเร่มิ เรียกตัวเองวา “พราหมณ” ตอ มาศาสนาเส่อื มลงระยะหนง่ึ และไดม าฟนฟูปรับปรุง ใหเ ปน ศาสนาฮินดู โดยเพิ่มบางสิ่งบางอยางเขา ไป มีการปรับปรุงเนื้อหาหลักธรรมคําสอนใหดีข้ึน คําวา “ฮนิ ดู” เปนคําทใี่ ชเรยี กชาวอารยันท่อี พยพเขาไปตงั้ ถิ่นฐานในลุม แมน ํ้าสินธุ และเปน คําท่ีใชเ รียกลูกผสม ของชาวอารยันกับชาวพ้ืนเมืองในชมพูทวีป และชนพื้นเมืองน้ีไดพ ัฒนาศาสนาพราหมณโดยการเพ่ิมเติม อะไรใหม ๆ ลงไปแลวเรยี กศาสนาของพวกน้วี า “ศาสนาฮนิ ดู” เพราะฉะนนั้ ศาสนาพราหมณจ งึ มีอีกช่ือใน ศาสนาใหมวา “ฮนิ ด”ู จนถงึ ปจ จุบัน ในอดีตศาสนาพราหมณหรือฮินดูจะมีการจัดคัมภีรออกเปน 3 พวก ตามการยกยองนับถือเทวะ ทั้ง 3 โดยแยกเปน 3 นิกายใหญ ๆ นิกายใดนับถือเทวะองคใ ดก็ยกยอ งวา เทวะองคน้ันสูงสุด ตอ มา นักปราชญช าวฮนิ ดูไดกาํ หนดใหเทวะท้งั 3 องค เปน ใหญสงู สดุ เสมอกัน เทวะทงั้ 3 องคนี้ รับการนํามารวมกัน เรยี กวา “ตรมี รู ต”ิ ใชค าํ สวดวา “โอม” ซึง่ ยอมาจาก “อะอมุ ะ” แตล ะพยางคแ ทนเทวะ 3 องค คอื “อะ” แทนพระวษิ ณหุ รือพระนารายณ “อ”ุ แทนพระศวิ ะหรอื อศิ วร “มะ” แทนพระพรหม
ห น า | 26 ในประเทศอนิ เดยี ไดม กี ารแบงชนชัน้ ออกเปน 4 วรรณะ คือ พราหมณ กษตั ริย แพศย คือ พอคา คหบฎี และศทู ร กรรมกรคนใชแ รงงาน วรรณะพราหมณ ถอื วา เปนวรรณะสงู สดุ เปนพวกทําหนาที่ ทางศาสนา “พราหมณ” เปนคาํ ศัพททีเ่ นื่องมาจาก คําวา “พรหม” คนในวรรณะนี้ถอื วา ตนสืบเชื้อสายมา จากพรหม สามารถติดตอเกี่ยวของกับโองการตาง ๆ จากพรหมซ่ึงเปนพระผูเปนเจามาแจงแกชาวโลก มนุษยได สามารถติดตอบวงสรวงออ นวอนเทพเจาใหมาประสาทพรหรอื บนั ดาลความเปนไปตาง ๆ ในโลก มนุษยไ ด พวกพราหมณจึงเปน ท่ีเคารพยําเกรงของคนทุกวรรณะ แมแตก ษัตริยผ ูเ ปน ใหญใ นการปกครอง เมื่อพวกพราหมณม ีอํานาจมากมคี นยาํ เกรงมากโอกาสที่จะแสวงหาลาภสกั การะจึงมีมาก พวกพราหมณแ ตละ พวกจะแขง ขันในการทําพธิ ีโดยถอื วา การจดั ทาํ พธิ ตี าง ๆ ใหถกู ตองตามพธิ ที ี่กาํ หนดไวใ นพระเวทเปนส่ิงสําคัญ ชนวรรณะพราหมณไดร วบรวมสรรพวิชาท้ังหลายท่ีตนคนพบหรือเขา ใจเรื่องประมวลความรู เรียกวา “ไสยศาสตร” ซง่ึ ข้ึนตนดวยวชิ าทีส่ ําคัญท่ีสุด คอื “พระเวท” อันหมายถงึ วิชาการที่เก่ียวกับพรหม เทวดา และสงิ่ ศกั ดิ์สิทธทิ์ ง้ั หลายที่มนุษยต องเคารพบชู า สมยั นั้นยังไมม หี นังสือ จึงตอ งใชว ธิ ที องจําและสอนตอ ๆ กันมา พระเวท ประกอบดวย “มนตรี” คือ คาถาสําหรับทองจํากับ “พราหมณะ” ซึ่งเปน คัมภีรคูม ือท่ีพวกพราหมณ แตล ะกลมุ ไดเพม่ิ เติมในพธิ ีกรรมของตนใหล ะเอียดพิศดารขน้ึ จนพราหมณเ องไมส ามารถทองจําได จึงตองมี คมู ือ “พราหมณะ” คอื คาํ อธิบายลัทธพิ ธิ ีกรรมตา ง ๆ ของพระเวท แตเ ดมิ มี 3 อยาง เรียกวา “ไตรเพท” ไดแ ก 1. ฤคเวท เปน คัมภีรเกาแกที่สุด ถือกันวา ออกจากโอษฐของพระพรหม ซ่ึงพวกฤาษีไดส ดับแลว นาํ มาอนุศาสนนรชนอกี ตอหนึ่ง กลา วดว ยเทวดาตา ง ๆ และการบนบานใหชวยขจัดภยั ทัง้ มวล 2. ยชุรเวท กลา วดวยพิธกี รรมตา ง ๆ เปนตําราการทาํ พิธีกรรมของพราหมณโ ดยตรง 3. สามเวท กลา วดวยบทคาถาสังเวยสําหรับเหกลอมเทวดา บชู านํา้ โสมแกเ ทวะท้ังหลาย (“สาม แปลวา สวด”) ดงั มีบทเหกลอมพระนเรศร - พระนารายณ หลงั พธิ ตี รียมั ปวายเสร็จสิ้นแลว ตอ มาเพิ่ม “อาถรรพเวท” ซ่ึงเปน พระเวทท่เี กีย่ วกบั อาถรรพต าง ๆ มีมนตรสําหรับใชใ นกิจการท้งั ปวงรักษาโรคภัยไขเจบ็ หรือกําจดั ผลราย อนั จะมมี าแตพยาธแิ ละมรณภยั และรวมทั้งสาํ หรบั ใชทาํ รายแกหมูอมิตร โดยเสกสิ่งหน่ึงสง่ิ ใดเขา ตัวหรอื ฝง รูป ฝงรอยหรือทาํ เสนห ย าแฝด นอกจากพระเวทท้งั 4 นแ้ี ลว ยงั มี “พระเวทรอง” อีก 4 อยา ง เรียก “อปุ เวท” เปนวชิ าทกี่ ลา วดวย วทิ ยาศาสตรต า ง ๆ อนั เปนวทิ ยาการโดยเฉพาะ คอื 1. อยุรเวท ไดแ ก ตาํ ราแพทยศาสตร กลา วดว ยการใชสมุนไพร และมนตตา ง ๆ ในการรักษาโรค มเี ทวดาประจําเปนเจา ของ คอื ฤาษีทัง้ แปด ซ่ึงไมปรากฏนามแนนอน 2. คานธรรมเวท ไดแ ก ตาํ ราขับรอ งและดนตรีกับนาฏศาสตรหรือการฟอ นรํา มีเทวดาประจํา คือ พระนารทฤๅษี หรอื ทเ่ี รียกวา พระนารอท หรือ พระปรคนธรรพ 3. ธนุรเวท ไดแ ก วชิ ายิงธนแู ละการใชอาวุธสงคราม ซง่ึ บดั นเ้ี รียก “ยุทธศาสตร” มีเทวดาประจํา คอื พระขนั ทกมุ าร 4. สถาปตยเวท ไดแ ก วชิ ากอสราง ซง่ึ เรยี กวา “สถาปตยกรรม” เทวดาประจาํ คอื พระวษิ ณุกรรม
ห น า | 27 วรรณะพราหมณในศาสนาฮนิ ดู ในประเทศอินเดยี ไดแ บงออกเปน 4 วรรณะ คือ พราหมณ กษตั รยิ แพศย ศูทร ในท่ีนี้จะกลาวถึง วรรณะพราหมณห รอื ตระกลู นกั บวชเทา น้นั แบงออกเปน 4 ช้ัน คอื 1. พรหมจารี คอื พวกนักเรียน มีหนา ท่ีเปน ผูป ฏิบัติและศึกษาพระเวทในสํานักคณาจารยคนใด คนหนึ่ง (เทียบกับศาสนาพุทธ คือ สามเณร และนวกะ) 2. คฤหบดี คือ ผูค รองเรือน มีภรรยา มีครอบครัว เปนหัวหนา ในบาน อานและสอนพระเวท ทาํ การบชู าเอง หรอื ชว ยผูอ ่นื กระทาํ ยญั กรรม ใหท าน และรบั ทกั ษิณา 3. วานปรสั ถ คอื ผูอยปู า ละเคหสถานและครอบครวั เขา ปาเพื่อทรมานตน มักนอ ยในอาหารและ เครื่องนงุ หม กระทาํ ทกุ รกริ ยิ า สมาธิมนั่ คงในกจิ วตั ร ไดแ ก ฤๅษี แปลวา ผแู สวง หมายถึง แสวงหาโมกษะ คอื การหลดุ พนจากการเวยี นวาย ตาย เกิด โยคี แปลวา ผูบ ําเพ็ญโยคะ คือ ทรมานกายโดยวิธีแหงอิริยาบถตาง ๆ เพื่อหวังผลสําเร็จเปน ผูวเิ ศษ เชน ยืนขาเดยี วเหนย่ี วกินลมนานนับสบิ ป นั่งสมาธิโดยไมลุกข้นึ เลยเปน เวลาสบิ ป ดาบส แปลวา ผูบําเพ็ญตน คือ ความเพง เล็งในดวงจิตเพ่ือประโยชนใ หอาตมันเขา รว มอยูใน ปรมตั ถ (หรือปรพรหม) ใหเ กิดความบรสิ ุทธใ์ิ สสะอาด แมกระทบอารมณใด ๆ ก็ไมแ ปรปรวน มุนี แปลวา ผูสงบ ไดแก ผสู ําเร็จฌานสมาบัติ คือ ผกู ระทําตบะและโยคะจนถงึ ท่สี ดุ แลว สิทธา แปลวา ผูสําเร็จฌานสมาบัติ คือ ผูก ระทาํ ตบะและโยคะจนถงึ ที่สดุ แลว นกั พรต แปลวา ผบู วชและถือพรตตามลัทธพิ ราหมณ ชฎิล แปลวา ฤๅษีผูมนุ มวยผมสงู เปนชฎา นกิ ายและลทั ธิ มี 4 นิกายดวยกัน คอื 1. นิกายไศวะ ถอื พระอศิ วรเปน ใหญ และนบั ถือพระนารายณ พระพรหมกบั เทพอนื่ ๆ ดวย 2. นิกายไวษณพ ถอื พระนารายณเปน ใหญ และนับถอื พระศิวะ พระพรหม กบั เทพอ่ืน ๆ ดว ย 3. นิกายศากต ถือวาพระแมอ าทิศักตีหรือพระแมปราศักตีเปน ใหญ และนับถือพระพรหม พระนารายณก ับเทพอนื่ ๆ ดว ย 4. นกิ ายสมารต ถอื เทพหา องคดวยกัน คอื พระพฆิ เณศวร พระแมภ วานี คอื พระศักตี พระพรหม พระนารายณ พระศวิ ะ ไมม อี งคใดใหญก วา โดยเฉพาะ ลทั ธิ ปรมาตมนั คือ พรหมัน แบง ออกเปน 2 ระดับ อปรหมันความเจรญิ สูงสุด (UltimateReality) ละปรพรหมัน คือ ความจริงขัน้ เทพเจาสงู สดุ (SupremeBeing) คําสอนในคัมภีรอ ุปนษิ ัท ทําใหศ าสนาพราหมณ เปน เอกนยิ ม (Monoism) เช่อื วา สรรพสิ่งมาจากหนงึ่ และกลับไปสคู วามเปน หนึ่ง หลงั จากคมั ภีรอ ุปนษิ ทั ได พฒั นาจนถึงขดี สดุ ทําใหเ กดิ ลัทธปิ รัชญาอกี 6 สํานกั ดงั ตอ ไปน้ี 1. นยายะเจา ลัทธิ คอื โคตมะ 2. ไวเศษกิ ะเจาลทั ธิ คือ กนาทะ 3. สางขยะเจาลัทธิ คอื กปล ะ
ห น า | 28 4. โยคะเจาลทั ธิ คือ ปตัญชลี 5. มมี างสา หรอื ปูรวมมี างสา เจาลทั ธิ คือ ไชมินิ 6. เวทานตะ หรืออุตตรมมี างสา เจาลัทธิ คือ พาทรายณะ หรอื วยาส ลัทธนิ ยายะ นยายะ แปลวา การนําไป คือ นําไปสูการพิจารณา สอบสวน อยา งละเอียดถี่ถว นหรือวิธีการหา ความจรงิ ซึ่งอาศยั หลกั ตรรกวิทยา เพราะเหตนุ ้ชี ่อื เรียกสําหรบั ลัทธินยายะจึงมหี ลายอยาง เชน ตรรกวิทยาบา ง วชิ าวา ดวยวาทะบาง โคตมะผูเปน เจา ของลัทธิน้ีเกิดประมาณ 550 ป กอน ค.ศ. หรือกอนพระพุทธเจา ปรินิพพานประมาณ 7 ป วิธีท่ีจะไดค วามรู ความเขาใจที่ถูกตองตามหลักของลัทธินยายะน้ันมีอยู 16 ประการ เชน 1. ประมาณหรือวิธีใหเ กิดความรูชอบน้ัน มี 4 อยา งคือ 1. การรูป ระจักษ 2. การอนุมานหรือ คาดคะเน 3. การเปรียบเทยี บ 4. บรรยายถอ ยคํา 2. ประเมยะ เรอื่ งทพี่ ง่ึ รชู อบมี 12 อยา ง คือ 1. อา 9 มนั 2. สรีระ 3. อนนิ ทรีย 4. อรรถ 5. พุทธิ 6. มนะ 7. พฤตกิ รรม 8. โทษ 9. การเกดิ อีก (หลงั ตายไปแลว) 10. ผลแหง ความดีความชั่ว 11. ความทุกข 12. ความหลดุ พน 3. สงั สะยะ ความสงสยั เปน ตน ลทั ธิไวเศษกิ ะ คาํ วา ไวเศษิกะ คอื วเิ ศษ หมายถึง ลกั ษณะท่ีทาํ ใหสิ่งหน่งึ ตางไปจากอกี หนึ่ง ฤๅษีกณาทะ ผูตั้งลัทธินี้ เกดิ ในศตวรรษที่ 3 กอนครสิ ตศักราช ลัทธนิ ี้สอนเพือ่ ความหลดุ พนไป การหลดุ พนนั้น การรูอ าตมันไดอ ยา ง แจม แจง เปนวิธีการสาํ คัญยิง่ ลัทธินี้ใชวิธีตรรกวิทยา คือ ส่ิงที่มีอยูจริงช่ัวนิรันดร มีอยู 9 อยางคือ 1. ดิน 2. นํ้า 3. ไฟ 4. ลม 5. อากาศ 6. กาละ 7. ทิศ 8. อาตมนั 9. ใจ ดวยการรวมตวั ของสิ่งเหลา น้สี ่งิ อน่ื ๆ ยอ มเกิดข้นึ มากมาย ลัทธสิ างขยะ ลทั ธิสางขยะนี้ถอื วา เปน ปรชั ญาฮินดทู ่เี กาแกท ีส่ ดุ เพราะนับเปน ครัง้ แรกที่ไดมีการพยายามทําให ปรชั ญาของพระเวทกลมกลืนกบั เหตุผล ฤาษกี ปละ เปน ผแู ตง คมั ภีรแหงลัทธนิ ี้ ทานเกดิ ในสมยั ศตวรรษที่ 6 กอ น ค.ศ. รวมสมัยกับพระพุทธเจา คาํ วา สางขยะ แปลวา การนับหรือจํานวน กลาวถึงความจริงแท 25 ประการ ยอมลงเปน 2 คือ บุรุษ ไดแ ก อาตมนั หรอื วิญญาณสากล และประกฤติ (ปกติ) คอื ส่ิงทีเ่ ปน เนื้อหาหรือตนกําเนิดของสง่ิ ทั้งหลาย ความมุง หมายของลัทธิน้ี เพ่ือสรา งปญญาใหเกิดเพ่ือทําลายเหตุแหง ความทุกขท้ังปวงและ ปลดเปล้อื งอาตมันออกจากสิง่ ผกู พัน ความทุกขใ นความหมายของลัทธิน้ีแบงออกเปน 3 ประการ ดังนี้ 1. ความทุกขทเ่ี กิดข้นึ จากเหตภุ ายใน เชน ความผิดปกตขิ องรา งกายและจติ ใจ 2. ความทุกขท ่ีเกิดขึ้นจากเหตภุ ายนอก เชน มนุษย สตั ว หรอื ส่งิ ไมมีชวี ติ อื่น ๆ 3. ความทกุ ขท่ีเกดิ ขึน้ จากเหตุนอกอํานาจ หรือเหนือธรรมชาติ เชน บรรยากาศดาวพระเคราะห การแกทุกขเ หลาน้ีตอ งใชป ญญาท่ีสามารถปลดเปล้ืองอาตมันออกจากสิ่งผูกพัน โดยหลักการแลวลัทธิน้ี เปน อเทวนิยม ไมเชื่อเร่ืองพระเจา สรางโลก เปน ทวินิยม คือ เชื่อวา ของจริงมีอยู 2 อยาง คือ 1. อาตมัน 2. เนื้อหาของสิ่งที่เขา มาผสมกับอาตมนั
ห น า | 29 ลัทธิโยคะ ลัทธโิ ยคะ คําวา โยคะ เปนศาสตรเ ดมิ ทมี่ มี านานแลว ปตัญชลีเปน ผรู วบรวมเรียบเรียงข้ึน ทา นจึง ไดรับเกียรติวา เปนผูต ง้ั ลทั ธโิ ยคะ ประมาณ 3 หรือ 4 ศตวรรษกอน ค.ศ. โยคตะ แปลวา การประกอบหรือ การลงมอื ทาํ ใหเ กิดผล ลัทธนิ ี้อาศัยปรชั ญาของสางขยะเปน ฐานจดุ หมาย คอื จะชว ยมนุษยใ หหลุดพนออก จากความทุกข 3 ประการ ดังกลาวในลัทธสิ างขยะ คอื 1. ในการทาํ ใหหลดุ พนจากความทุกขซ งึ่ เกิดจากเหตุภายใน เชน โรคภัยไขเ จบ็ หรอื ความประพฤติผิด ตองพยายามใหบรรลคุ วามไมย ึดถอื โลก โดยไมจ าํ เปน ตองแยกตัวออกจากโลก 2. ในการทาํ ใหห ลุดพนจากความทกุ ข ซึง่ เกดิ จากเหตภุ ายนอก เชน สัตวราย หรือโจรผูรา ย เปน ตน พงึ สํารวมจิตใจใหบ รสิ ุทธ์สิ ะอาด 3. ในการทาํ ใหหลดุ พนจากเหตนุ อกอาํ นาจ หรือเหนือธรรมชาติ เชน ธาตุ หรืออํานาจอันเรน ลับ ละเอยี ดออ นพึงบําเพญ็ สมาธซิ ่งึ เปนจดุ ประสงคอ ันแทจ รงิ ของลัทธินี้ โยคีหรอื ผูบ ําเพ็ญโยคะ ยอมพยายามท่ีจะเปน ผูหลุดพน จากวงกลมแหงชีวิตและความตายอยา ง เด็ดขาด โดยพิจารณาเห็นธรรมชาติวาเปนพลังอันเดียวแตทํางานสองแง คือ จากภายนอก พลังงานนี้ พยายามที่จะแยกส่ิงทั้งหลายออกจากกัน ท่ีเรียกวา ความตาย จากภายใน พลังงานน้ีพยายามที่จะรวม ส่ิงทั้งหลายเขาดวยกนั ท่เี รยี กวา ชีวิต การบําเพ็ญโยคะกเ็ พื่อรวมพลังงาน 2 อยา งนี้เขาดวยกนั โยคะวางกฎ สําหรับปฏิบัติและวางพิธีเพื่อควบคุมหรือสํารวมระวังจิตของแตละบุคคลที่เรียกวา ชีวะ จนเปน อันหนึ่ง อันเดยี วกนั จติ ใจสากลทีเ่ รียกวา ปุรุษะ เมือ่ ชวี ะบรรลถุ งึ สภาพดง้ั เดิมของตน คือ ปุรุษะ ก็ชื่อวา เปนอิสระ หรือหลดุ พน จากสถานการณท ้ังปวงแหงพายแุ ละความสงบ ความสุข ความทุกข และเช่ือวาพนจากความทุกข ท้ังปวง คาํ วา “โอม” เปน คาํ ศักดส์ิ ทิ ธใ์ิ นลทั ธโิ ยคะ ใชสําหรับรวมความหมายที่เน่ืองดวยพระเปน เจา แลว กลาวซ้ํา ๆ กนั เพ่อื ใหเ กดิ ความรถู งึ ส่งิ สงู สุด และเพื่อปองกันอุปสรรคในการบําเพ็ญโยคะ อบุ ายวธิ ใี นการบําเพ็ญโยคะ มี 8 ประการ ดังนี้ 1. ยมะ สาํ รวจความประพฤติ 2. นยิ มะ การบําเพญ็ ขอ วัตรทางศาสนา 3. อาสนะ ทา น่งั ท่ถี ูกตอ ง 4. ปราณายามะ การบงั คับลมหายใจไปในทางทต่ี องการ 5. ปรตั ยาหาระ การสาํ รวม ตา หู จมูก ลนิ้ กาย 6. ธารณา การทาํ ใจใหม่นั คง 7. ธยานะ การเพง 8. สมาธิ การทําใจแนวแน ต้งั มน่ั อยางลกึ ซ้งึ ลทั ธมิ ีมางสา คําวา มมี างสา แปลวา พิจารณา สอบสวน หมายถึง พิจารณาสอบสวนพระเวท ไดแก สอบสวน มนั ตระกับพราหณะ ไชมิณิ ผแู ตงคัมภีรมีมางสาสตู ร เกดิ ขึน้ สมยั ระหวาง 600 - 2000 ป กอนครสิ ตศักราช ความมงุ หมายของลัทธิมมี างสา คอื สอบสวนถงึ ธรรมชาติแหงการกระทําที่ถูกตอ ง ซ่ึงเรียกสั้น ๆ วา “ธรรม” ขอ เสนออันเปน ฐานของลัทธิมีอยูวา หนา ท่ีหรือการกระทําเปน สาระอันสําคัญยิ่งของความเปน มนษุ ย ถาไมมกี ารทาํ ปญญากไ็ มม ีผล ถา ไมม กี ารกระทําความสุขก็เปน สิ่งที่เปน ไปไมได ถา ไมมีการกระทํา
ห น า | 30 จดุ หมายปลายทางของมนุษยกไ็ มม ีทางจะทําใหส มบรู ณได เพราะฉะน้นั การกระทาํ ทถี่ ูกตอ ง ซง่ึ เรียกวาสนั้ ๆ วา “ธรรม” จึงเปนส่งิ จําเปนในเบื้องตนของชวี ติ การกระทําทุกอยาง มีผล 2 ทาง คอื ผลภายนอกกับผลภายใน ผลภายนอก เปนผลหยาบเปน ส่ิงท่ี แสดงตัวออกมา ผลภายใน เปนผลละเอียดเปนสิ่งท่ีเรียกวา “ศักยะ” คือ ยังไมแ สดงตัว แตอ าจใหผลได เหมือนนาฬกิ าท่ไี ขลานไว ยอมมีกําลังงานสะสมพรอ มท่จี ะแสดงผลออกมา ผลภายนอก เปน ของชั่วคราว ผลภายใน เปน ของชั่วนิรันดร เพราะฉะน้ัน การกระทําทั้งหลายจึง เทา กับเปนการปลกู พชื ในอนาคต ในขอเสนอขนั้ มูลฐานน้ี ลทั ธิมีมางสาสอบสวนถงึ การกระทําหรือกรรมท้งั ปวง อันปรากฏพระเวทแลว แบง ออกเปน 2 สว น คอื มนั ตระ กบั พราหมณะ มี 5 หวั ขอ ดงั นี้ 1. วธิ รี ะเบียบวธิ ี 2. มนั ตระหรอื บทสวด 3. นามเธยะช่อื 4. นเิ สธะขอ หา ม 5. อรรถวาทะคําอธิบายความหมายหรือเนอ้ื ความ ลัทธเิ วทานตะ ลัทธิเวทานตะ สอบสวนถึงสว นสุดทายของพระเวท จึงมีรากฐานตั้งอยูบ นปรัชญาของอุปนิษัท ซ่ึงเปนที่สุดแหงพระเวท และมีหลักการสวนใหญว า ดว ยเรื่องญาณหรือปญญาอันสอบสวนถึงความจริง ข้ันสดุ ทา ยเกีย่ วกับ ปรุ ุษะ หรอื พระพรหม ผูเรยี บเรียงคัมภรี เ วทานะ คอื พาทรายณะ กลา วกันวา ทา นเปน อาจารยข องทา นไชมิณิ ผูต้ังลัทธิ มมี างสา พาทรายณะอยูในสมยั ระหวาง 600 - 2000 ป กอ นครสิ ตศักราช ในการปฏบิ ัตเิ พ่อื ใหบ รรลุจดุ หมายปลายทางของลัทธิน้ี มหี ลกั การอยู 4 ขอ ดังน้ี 1. วิเวกะ ความสงดั หรือความไมเกย่ี วในฝา ยหนึ่ง ระหวางสิ่งอันเปนนริ นั ดรกับมใิ ชน ิรันดรระหวา ง สิง่ แทก บั สงิ่ ไมแท 2. ปราศจากราคะ คอื ไมมีความกาํ หนดั ยินดหี รือความตดิ ใจ ความตองการ เชน ความปรารถนา ทจ่ี ะอภริ มยใ นผลแหงการกระทําทัง้ ในปจ จบุ นั และอนาคต 3. สลัมปต ความประพฤตชิ อบ ซงึ่ แจกออกอีกหลายอยา ง เชน สมะ ความสงบ ทมะ การฝกตน อปุ รติ มีใจกวา งขวาง ไมต ดิ ลทั ธินิกายติตกิ ษา ความอดทน ศรัทธา ความเช่ือ สมาธานะความต้งั ม่ันสมดลุ แหง จิตใจ 4. มุมุกษตุ วะ ความปรารถนาทชี่ อบเพอื่ จะรคู วามจริงขั้นสุดทา ยและเพือ่ ความหลดุ พน คาํ สอนท่สี าํ คญั ของศาสนาพราหมณ - ฮินดู หลกั ธรรมสาํ คัญของศาสนาพราหมณ - ฮินดู หลักธรรม 10 ประการ 1. ธฤติ ไดแ ก ความมั่นคง ความเพียร ความพอใจในส่งิ ทีต่ นมี 2. กษมา ไดแก ความอดทนอดกล้นั และมเี มตตากรณุ า 3. ทมะ ไดแก การขมจิตมิใหหวนั่ ไหวไปตามอารมณ มสี ติอยเู สมอ 4. อัสเตยะ ไดแ ก การไมล ักขโมย ไมกระทาํ โจรกรรม
ห น า | 31 5. เศาจะ ไดแ ก การทาํ ตนใหสะอาดท้ังกายและใจ 6. อินทรียนิครหะ ไดแ ก การขม การระงับอินทรีย 10 คือ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง มือ เทา ทวารหนกั ทวารเบา และลําคอ ใหเปน ไปในทางที่ถกู ตองอยใู นขอบเขต 7. ธี ไดแก การมีสติ ปญ ญา รูจ ักการดาํ เนินชวี ติ ในสังคม 8. วิทยา ไดแ ก ความรูทางปรัชญา 9. สตั ยา ไดแ ก ความจริง คอื ความซือ่ สตั ยสจุ รติ ตอ กัน 10.อโกธะ คอื ความไมโ กรธ หลกั อาศรม 4 1. พรหมจารี ศึกษาเลาเรยี นและประพฤตพิ รหมจรรยจนถงึ อายุ 25 ป ศึกษาจบจึงกลับบา น 2. คฤหัสถ ครองเรือน จบจากการศึกษา กลับบา น ชว ยบิดามารดาทํางาน แตงงานเพื่อรักษา วงศต ระกูล ประกอบอาชีพโดยยดึ หลักธรรมเปน เคร่ืองดาํ เนินชวี ติ 3. วานปรสั ถ สงั คมกาล มอบทรัพยส มบัติใหบตุ รธดิ า ออกอยูปา แสวงหาความสงบ บําเพ็ญประโยชน ตอสังคม การออกอยปู า อาจจะทําเปน ครั้งคราวกไ็ ด 4. สันยาสี ปริพาชก เปน ระยะสุดทา ยแหงชีวิต สละความสุขทางโลกออกบวชเปน ปริพาชก เพื่อ หลุดพน จากสังสารวัฏ การเผยแผข องศาสนาพราหมณในประเทศ ศาสนาฮินดูท่ีมีอิทธิพลตอ วัฒนธรรมไทยน้ันคือ ชว งที่เปนศาสนาพราหมณ ไดเขามาที่ประเทศไทย เมือ่ ใดนัน้ ไมปรากฏระยะเวลาทแี่ นน อน นักประวตั ิศาสตรส ว นมากสนั นษิ ฐานวา ศาสนาพราหมณน ้นี า จะเขา มา ยคุ สมัยสโุ ขทยั โบราณสถานและรปู สลกั เทพเจา เปน จาํ นวนมากไดแสดงใหเ ห็นถึงอิทธิพลของศาสนา เชน รูปลักษณะนารายณ 4 กร ถือสังข จักร คทา ดอกบัว สวมหมวกกระบอก เขา ใจวา นา จะมีอายุประมาณ พุทธศตวรรษที่ 9 - 10 หรือเกาไปกวา น้นั (ปจจบุ ันอยพู พิ ิธภัณฑสถานแหง ชาติพระนคร) นอกจากนีไ้ ดพบรูปสลกั พระนารายณท าํ ดวยศิลาท่ีอําเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธานี โบราณสถานท่ี สําคญั ท่ขี ดุ พบ เชน ปราสาทพนมรงุ จงั หวดั บุรรี มั ย ปราสาทหนิ พมิ าย จังหวัดนครราชสมี า พระปรางคส ามยอด จังหวัดลพบุรี เทวสถานเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ ตอมาในสมัยสุโขทัย ศาสนาพราหมณไดเ ขา มามี บทบาทมากข้นึ ควบคูไ ปกับพุทธศาสนา ในสมัยน้ีมีการคน พบเทวรูปพระนารายณ พระอิศวร พระพรหม พระแมอ ุมา พระหริหระ สว นมากนยิ มหลอ สาํ ริด
ห น า | 32 นอกจากหลกั ฐานทางศิลปกรรมแลว ในดานวรรณคดไี ดแ สดงใหเ ห็นถึงความเช่อื ของศาสนาพราหมณ เชน ตํารบั ทา วศรจี ุฬาลกั ษณห รือนางนพมาศ หรอื แมแ ตป ระเพณลี อยกระทง เพอ่ื ขอขมาลาโทษพระแมคงคา นา จะไดอิทธพิ ลจากศาสนาพราหมณ เชน กนั ในสมัยอยุธยา เปนสมัยท่ีศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรมประเพณีเชน เดียวกับ สุโขทัย พระมหากษัตริยห ลายพระองคท รงยอมรับพิธีกรรมที่มีศาสนาพราหมณเ ขามา เชน พิธีแชง นํ้า พิธีทําน้ําอภิเษกกอ นขึ้นครองราชยสมบัติ พิธีบรมราชภิเษก พระราชพิธีจองเปรียง พระราชพิธีจรด พระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพธิ ีตรียมั ปวาย เปน ตน โดยเฉพาะสมเด็จพระนารายณมหาราช ทรงนับถือทาง ไสยศาสตรม ากถงึ ขนาดทรงสรา งเทวรปู หมุ ดว ยทองคาํ ทรงเครอ่ื งทรงยาราชาวดสี ําหรบั ตง้ั ในการพระราชพิธี หลายองค ในพิธตี รยี มั ปวายพระองคไ ดเสด็จไปสงพระเปน เจา นับถือเทวสถานทกุ ๆ ป ตอมาในสมัยรัตนโกสินทร- ตอนตน พิธีตาง ๆ ในสมัยอยุธยายังคงไดร บั การยอมรับนบั ถือจากพระมหากษัตริยและปฏบิ ตั ติ อ กันมา คอื 1. พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พระราชพิธีน้ีมีความสําคัญ เพราะเปนการเทิดพระเกียรติขององคพระประมุขพระบาทสมเด็จ- พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกไดโปรดเกลา ฯ ใหผ ูรูแบบแผนครง้ั กรงุ เกา ทําการคนควา เพ่ือจะไดส รา งแบบแผนท่ี สมบูรณต ามแนวทางแตเ ดมิ มาในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยาและเพ่ิมพธิ ีสงฆเ ขาไป ซึง่ มี 5 ข้นั ตอน คือ 1. ขั้นเตรยี มพิธี มกี ารทําพิธีเสกนํ้า การทําพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏดวงพระราชสมภพและแกะ พระราชลัญจกรประจํารชั กาล 2. ขน้ั พิธเี บอื้ งตน มกี ารเจรญิ พระพทุ ธมนต 3. ขั้นพิธีบรมราชาภิเษก มีการสรงพระมุรธาภิเษก จากน้ันรับการถวายสิริราชสมบัติและ เคร่อื งสิรริ าชกกธุ ภัณฑ 4. ขั้นพิธีเบื้องปลาย เสด็จออกมหาสมาคมและสถาปนาสมเด็จพระบรมราชินีแลวเสด็จพระราช- ดําเนินไปทําพิธีประกาศพระองคเปนศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา พรอ มท้ังถวายบังคมพระบรมศพ พระบรมอัฐิพระเจาอยูหัวองคกอน และเสดจ็ เฉลิมพระราชมณเฑียรเสด็จเลียบพระนคร 2. การทํานํ้าอภิเษก พระมหากษตั รยิ ท ่จี ะเสดจ็ ขน้ึ เถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกจะตองสรงพระมุรธาภิเษกและ ทรงรับนา้ํ อภเิ ษกกอนไดร ับการถวายสริ ริ าชสมบัติตามตําราพราหมณ น้ําอภิเษกน้ีใชน ํ้าจากปญ จมหานที คือ คงคายมุนา มหิ อจิรวดี และสรภู ซึ่งทําเปนนํ้าท่ีไหลมาจากเขาไกรลาส อันเปนท่ีสถิตของพระศิวะ สมัยกรุง- รัตนโกสินทร ต้ังแตร ชั กาลที่ 1 ถึงรัชกาลท่ี 4 ใชน า้ํ จาก 4 สระ ในเขตจงั หวดั สุพรรณบุรี คือ สระเกษ สระแกว สระคงคา และสระยมนุ า และไดเพ่ิมนํา้ จากแมน ํา้ สําคญั ในประเทศอีก 5 สาย คือ 1) แมน ้ําบางปะกง ตักที่บงึ พระอาจารย แขวงนครนายก 2) แมน้าํ ปาสกั ตกั ที่ตาํ บลทา ราบ เขตสระบุรี 3) แมน า้ํ เจา พระยา ตกั ทตี่ าํ บลบางแกว เขตอางทอง 4) แมน้ําราชบุรี ตกั ทตี่ ําบลดาวดงึ ส เขตสมุทรสงคราม 5) แมน ํา้ เพชรบุรี ตักทตี่ าํ บลทาไชย เขตเมืองเพชรบรุ ี
ห น า | 33 3. พระราชพิธีจองเปรยี ง (เทศกาลลอยกระทง) คือ การยกโคมตามประทีปบชู าเทพเจา ตรมี ูรติ กระทําในเดอื นสิบสองหรอื เดอื นอาย โดยพราหมณ เปน ผทู ําพธิ ใี นพระบรมมหาราชวัง พระราชครูฯ ตอ งกินถั่วกินงา 15 วัน สวนพราหมณอ ่ืนกินคนละ 3 วัน ทุกเชาตอ งถวายน้ํามหาสังขทุกวนั จนถงึ ลดโคมลง ตอ มาสมัยรัชการที่ 4 ไดท รงโปรดใหเพิ่มพิธีทางพุทธศาสนา เขามาดวย โดยโปรดใหม สี วดมนตเย็นแลวฉันเชา อาลักษณอ านประกาศพระราชพิธีจากน้ันแผพ ระราช- กศุ ลใหเ ทพยดาพระสงฆเ จรญิ พุทธมนตตอไป จนไดฤกษแ ลวทรงหลั่งน้ําสังขและเจิมเสาโคมชัย จึงยกโคมข้ึน เสาโคมชยั นที้ ย่ี อดมีฉตั รผาขาว 9 ช้ัน โคมประเทียบ 7 ช้ัน ตลอดเสาทานํ้าปูนขาว มีหงสติดลูกกระพรวน นอกจากน้ีมเี สาโคมบริวารประมาณ 100 ตน ยอดฉตั รมผี า ขาว 3 ชนั้ 4.พระราชพธิ ตี รยี ัมปวาย เปนพิธีสงทายปเกาตอนรับปใหมข องพราหมณ เช่ือกันวา เทพเจา เสด็จมาเยี่ยมโลกทุกป จึงจัดพิธี ตอนรับใหใ หญโตเปน พิธหี ลวงทม่ี มี านานแลว ในสมัยรตั นโกสินทรไดจ ัดกันอยางใหญโตมาก กระทําพระราชพิธีน้ี ที่เสาชิงชาหนาวัดสุทัศน ชาวบานเรียกพิธีน้ีวา “พิธีโลชิงชา ” พิธีน้ีกระทําในเดือนอา ยตอมาเปล่ียนเปน เดอื นยี่ 5.พระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ แตเ ดิมมาเปนพราหมณ ภายหลงั ไดเ พ่ิมพธิ ีสงฆ จึงทําใหเ กิดเปน 2 ตอนคือ พิธีพืชมงคลเปนพิธีสงฆ เร่ิมต้ังแตก ารนําพันธุพืชมารวมพิธี พระสงฆส วดมนต เยน็ ท่ีทองสนามหลวง จนกระท่งั รุง เชา มีการเลีย้ งพระ ตอ สว นพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเปนพิธีของ พราหมณก ระทําในตอนบา ย ปจ จุบันน้ีพิธีกรรมของพราหมณท ่ีเขามามี อิทธิพลตอสังคมไทยเร่ิมลดบทบาทลงไปมากเพราะ พุทธศาสนาไดเ ขามามีอิทธิพลแทนท้ังในพระราชพิธี และพิธีกรรมท่ัว ๆ ไปในสังคม อยางไรก็ตามพิธี- พราหมณเทา ท่ีเหลืออยแู ละยงั มีผปู ฏิบตั ิสบื กนั มา ไดแ ก พิธีโกนผมไฟ พิธีโกนผมจุก พิธีตั้งเสาเอก พิธีตั้ง- ศาลพระภมู ิ พิธีเหลานยี้ งั คงมผี นู ยิ มกระทํากนั ท่วั ไปในสังคม สว นพระราชพิธีที่ปรากฏอยู ไดแ ก พระราชพิธี- พืชมงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวญั พระราชพิธบี รมราชภเิ ษก และพธิ ที าํ นา้ํ อภิเษก เปนตน สําหรับพธิ กี รรมในศาสนาฮนิ ดซู ึง่ เปนพราหมณใ หม ไมใ ครม อี ทิ ธพิ ลมากนัก แตกม็ ผี นู ับถอื และสนใจ รวมในพิธกี รรมเปน ครง้ั คราว ท้ังนอี้ าจเปน เพราะความเช่อื ในพระเปนเจาตรีมูรติท้ัง 3 องค ยังคงมีอิทธิพล ควบคูไ ปกับการนับถือพุทธศาสนา ประกอบกับในโบสถข องพวกฮินดูมักจะต้ังพระพุทธรูปรวม ๆ ไปกับ รปู ปน ของพระผูเปน เจา ทั้งน้ีสืบเนื่องมาจากความเชื่อในเร่ืองอวตารของพระวิษณุทําใหค นไทยที่นับถือ พทุ ธศาสนาบางกลุมนิยมมาสวดออ นวอนขอพรและบนบาน หลายคนถึงขนาดเขารว มพิธีของฮินดูจึงเขา ลกั ษณะท่ีวานับถือท้งั พุทธทั้งฮนิ ดูปนกนั ไป
ห น า | 34 ศาสนาพราหมณ - ฮินดูในโลก ปจ จุบันศาสนาพราหมณ - ฮินดู นับถือกันมากในประเทศอนิ เดยี และมอี ยเู ปนสว นนอยในประเทศ ตาง ๆ เชน ลงั กา บาหลี อนิ โดนเี ซยี ไทย และแอฟริกาใต เร่ืองที่ 6 ประวัตศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาซิกข 1. ประวตั ศิ าสดา ศาสนาซิกข เปน ศาสนาประเภทเอกเทวนิยม มีทานคุรุนานักเทพเปนศาสดาองคท ี่ 1 สืบตอ มาถึง ทานครุ โุ ควินทสิงห เปนศาสดาองคที่ 10 มีสุวรรณวิหารตั้งอยูท่ีเมืองอัมริสสา แควน ปญ จาป ประเทศอินเดีย เปนศูนยช าวซิกขทวั่ โลก ตามทีป่ รากฏในประวัติศาสตร มปี ระมขุ แหง ศาสนาซิกขอยู 10 ทา นดวยกนั คอื 1. คุรุนานัก กอ นสิ้นชีพไมส ามารถพ่ึงลูกชายสองคนเปน ผูส ืบตอทางลัทธิได ทา นจึงไดประกาศ แตง ตัง้ ศษิ ยท ี่รักของทานคนหน่ึงซง่ึ เปน คนขวั้นเชอื กขาย ช่ือ ลาหนิ า (Lahina) เปน ผสู บื ตอ แตเ น่อื งจากศษิ ย ผูน้ีมีการเสียสละตอทา นคุรุนานักตลอดมา ทานจึงเปล่ียนนามใหใ หมวา อังคัต (Angal) แปลวา ผูเสียสละ รางกาย 2. ครุ ุองั คัต (พ.ศ. 2081 - 2095) ทา นผูนเี้ ปนนักภาษาศาสตรส ามารถเผยแผคําสอนของอาจารย ไปไดย่ิงกวา คุรุคนใด ทา นเปน คนแรกท่ีแนะนาํ สาวกใหนับถือคุรุนานกั วาเปนพระเจา องคห น่ึง 3. ครุ ุอมาร ทาส (Amardas พ.ศ. 2095 - 2117) ทา นเปน ผูท ไ่ี ดช อื่ วา เปน คนสุภาพ ไดต ั้งองคก าร ลทั ธิซิกขขนึ้ มา ไดช่อื วา เปนผสู งเสริมลัทธิซิกขไ วไดอ ยา งมนั่ คง 4. คุรุรามทาส (Ramsas พ.ศ. 2117 - 2124) ทา นเปน ผูส รา งศูนยก ลางของลัทธิซิกขไ วแ หง หน่ึง ใหชือ่ วา “หริมณเฑียร” คอื วิหารซกิ ขไวในทะเลสาบเล็ก ๆ แหง หน่ึง อยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของแควน ลาฮอร สถานท่ีดังกลาว เรยี กวา อมฤตสระ กลายเปน ทบี่ าํ เพญ็ บุญศูนยก ลางลัทธิซิกขเชน เดียวกับเมืองเมกกะ ศูนยกลางของลทั ธอิ สิ ลาม ทา นไดต ั้งแบบแผนไววาผูสืบตอตําแหนง คุรุจําเปน ตองเปน เชื้อสายของตนเอง ดังน้นั ทานไดแ ตง ตง้ั บุตรชายของทา นเปนครุ ุตอ ไป 5. ครุ ุอรชุน (Arjan พ.ศ. 2124 - 2149) เปน ผูร วบรวมคมั ภรี ใ นลทั ธิซิกขไดมากกวา ผูใด คัมภีร ที่รวบรวมเก็บจากโอวาทของครุ ทุ งั้ สี่ทา นท่ผี า นมา และไดเ พิ่มโอวาทของทานเองไวใ นคัมภีรดว ย เปนผูออก บญั ญัติวา ชนชาติซิกข ตองแตงตัวดวยเคร่ืองแตงกายของศาสนานิยม ไมนิยมแตงตัวดวยวัตถุมีราคาแพง ต้ังกฎเกณฑเก็บภาษีเพ่ือบํารุงศาสนา ไดช ื่อวาเปน ผูเผยแผล ัทธิไดอ ยา งกวา งขวาง สรา งหริมณเฑียรขึ้นเปน สวุ รรณวหิ าร สิ้นชพี ในการตอ สกู ับกษัตรยิ ก รุงเดลี 6. คุรุหรโิ ควนิ ทะ (HarI Covind พ.ศ. 2149 - 2181) เปนคุรคุ นแรกท่สี อนใหชาวซกิ ขนิยมดาบ ใหถ อื ดาบเปนเครื่องหมายของชาวซิกขผเู ครงครัดในศาสนา เปน ผสู งเสรมิ กาํ ลงั ทหารสัง่ สอนใหช าวซิกขเปน ผกู ลา หาญตานทานศตั รู (ซึง่ เขา มาครองดินแดนอนิ เดยี อยใู นขณะนั้น) เปน ท่ีนา สังเกตวานับตั้งแตสมัยน้ีเปน ตน ไป เร่ืองของศาสนาซิกขเ ปนเร่ืองของอาวุธ เร่ืองความ กลา หาญ เพอื่ ตอ สูศ ัตรผู มู ารกุ รานแผน ดิน
ห น า | 35 7. คุรุหริไร (HarI Rai พ.ศ. 2181 - 2207) ทานผูน ี้ไดทําการรบตา นทานโอรังเซฟกษัตริยมุสลิมใน อินเดยี 8. คุรุหริกิษัน (HarI Rai พ.ศ. 2207 - 2281) ไดด ําเนินการเผยแพรล ัทธิดว ยการตอตานกษัตริย โอรงั เซฟเชนเดยี วกบั คุรุหรไิ ร 9. คุรุเทคพาหาทรู (Tegh Bahadur พ.ศ. 2218 - 2229) เปน นกั รบที่แกลวกลา สามารถตา นทาน การรกุ รานของกษัตริยอ ิสลามท่ีเขามาครอบครองอินเดียและขมขูศาสนาอื่น ทา นไดเ ผยแพรศาสนาซิกข ออกไปไดก วางขวางสุดเขตตะวนั ตกเฉยี งเหนือของประเทศอินเดยี และแผม าทางใตจ นถึงเกาะลงั กา ทา นได ตา นทานอิสลามทกุ ทาง พวกมสุ ลมิ ในสมัยนน้ั ไมกลาสรู บกบั ครุ ทุ า นนีไ้ ด 10. ครุ โุ ควินทสงิ ห (Covind Singh พ.ศ. 2229 - 2251) เปน บตุ รของคุรุเทคพาหาทูร เปนผูร ิเริ่ม ต้ังบทบัญญัติใหมในศาสนาซิกข ดว ยวิธีปลุกใจสานุศิษยใหเปน นักรบ ตอ ตานกษัตริยม ุสสิมผูเ ขา มาขม ขี่ ศาสนาอ่ืน เพื่อจรรโลงชาติทา นไดต ้ังศูนยก ลางการเผยแผลัทธิซิกขอยูท ่ีเมืองดัคคา (Dacca) และ แควน อสั สมั ในเบงกอลตะวนั ออก ทา นไดป ระกาศแกสานุศษิ ยท้ังหลายวา ทุกคนควรเปน นักรบตอ สูกับศัตรู เพ่อื จรรโลงชาติศาสนาของตน ซิกขท กุ คนตอ งเปน คนกลาหาญ คําวา “สิงห” อันเปนความหมายของความ กลาหาญ เปนชื่อของบรรดาสานุศิษยแหง ศาสนาซิกขมาต้ังแตคร้ังน้ัน และ “สิงห” ทุกคนตอ งรวมเปน ครอบครวั บริสุทธ์ิ 2. พระคมั ภีร เปนส่ิงสาํ คญั ที่ตอ งเคารพสงู สดุ จัดวางในท่สี ูงบนแทนบูชา จะตอ งมีผูปรนนบิ ัติพระคัมภีรอยูเ สมอ คือ การศกึ ษาและปฏบิ ัตติ ามอยางเครง ครัด ชาวซกิ ขทกุ คนจะตองถอดรองเทาและโพกศรี ษะกอ นเขาไปใน โบสถ จะตอ งเขา ไปกราบพระคมั ภีรด วยความเคารพเสยี กอน คัมภรี ของศาสนาซิกข เรยี กวา ครันถ - ซาหิป หรือ คันถะ (ในภาษาบาลี) หมายความวา คัมภีรหรือ หนงั สือ สว นใหญเปน คํารอ ยกรองส้ัน ๆ รวม 1,430 หนา มีคาํ ไมน อยกวา ลานคํามี 5,894 โศลก โศลกเหลา นี้ เขา กับทาํ นองสังคตไี ดถ งึ 30 แขนง จัดเปนเลม ได 37 เลม ภาษาทใ่ี ชใ นคัมภรี มีอยู 6 ภาษาหลัก คือ ปญจาบี (ภาษาประจําแควน ปญจาปอันเปนถนิ่ เกิดของศาสนา) มุลตานี เปอรเ ซียน ปรากริตฮินดี และมารถี ศาสนาซิกขโบราณประมาณรอยละ 90 เชนเดียวกบั ศาสนิกชนในศาสนาอ่ืนท่ีไมเคยรอบรูค ัมภีรข อง ศาสนาของตน ดังนั้น คมั ภีรจ ึงกลายเปนวัตถุศักดิ์สิทธิ์ ผูไ มเ กี่ยวขอ งไมส ามารถแตะตองได ที่หริมณเฑียร หรอื สุวรรณวิหาร ในเมืองอมฤตสรา แควนปญจาป มีสถานทป่ี ระดิษฐานคมั ภรี ถ ือเปนศนู ยก ลางศาสนาซกิ ข
ห น า | 36 ในวิหารของศาสนาซิกขไ มบ ังคับใหม ีรูปเคารพ นอกจากคัมภีร ใหถือวา คัมภีรน ั้นคือ ตัวแทนของ พระเจา ทุกเวลาเชา ผูรักษาวิหารจะนําผาปกดิ้นราคาแพงมาหุมหอคัมภีรเปนการเปลี่ยนผาคลุมทําความ สะอาด วางคัมภีรลงบนแทนภายในมานซ่ึงปก ดว ยเกล็ดเพชร กอนพิธีสวดในเวลาเชา ครั้นตกเย็น ก็นาํ คัมภีรไปประดิษฐานไวบนตั่งทองในหอ งพิเศษ ไมย อมใหฝ นุ ละอองจับตอ งได คัมภีรเดิมหรือชว งแรกของศาสนานี้เรียกวา อาทิคันถะ รวบรวมโดยคุรุทานที่หา คือ คุรุอรชุน (เทพ) ประมวลจากนานาโอวาทซง่ึ ครุ ทุ า นแรก คือ ครุ นุ านกั และโอวาทของคุรทุ า นตอ ๆ มา พรอ มทั้งวาณี (คําภาษิต) ของภคัต คอื ปราชญผ ทู ่ีมคี วามภกั ดอี ยา งยิ่งตอ ลัทธิน้ีอีก 11 ทาน และมีวาณีของภคัตผูม ีอาชีพ ประจาํ สกุลมารวมไวในอาทิคนั ถะดว ย ในเวลาตอ มาไดม ีการรวบรวมโอวาทของครุ ุอีกครงั้ หน่ึง โดยคุรุโควินทสิงห ไดรวบรวมโอวาทของ ครุ เุ ทคพาหาทรู รวมเปน คมั ภีรครันถ - ซาหปิ อนั สมบูรณ 3. จรยิ ธรรมของซกิ ข คาํ สอนตามคัมภรี ค รันถ - ซาหิป ซึ่งบรรดาทา นครุ ุทง้ั หลายไดป ระกาศไวเ กยี่ วกบั จริยธรรมอันเปน เคร่ืองยังสังคมและประเทศชาตใิ หม ่นั คงอยไู ด และยงั จติ ใจของผปู ฏบิ ัติใหบ รรลถุ งึ ความผาสุกข้ันสุดทายได มนี ัยโดยสงั เขป คือ เกี่ยวกบั พระเจา “รูปทง้ั หลายปรากฏขน้ึ ตามคาํ ส่ังของพระเจา (อกาลปรุ ษุ ) ส่ิงมีชวี ิตทัง้ หลายอบุ ตั ิ มาตามคาํ สง่ั ของพระเจา บุตรธิดาจะไดร ถู ึงกาํ เนิดบิดามารดาไดอยา งไร โลกทง้ั หมดรอ ยไวด ว ยเสน ดาย คือ คําสั่งของพระเจา” “มนุษยท้งั หลายมพี ระบิดาผูเ ดียว เราทั้งหลายเปน บุตรของทาน เราจงึ เปน พีน่ อ งกนั ” “พระเจาผสู รางโลก (อกาลปุรษุ ) สิงสถิตอยูในส่ิงทั้งหลายท่ีพระเจาสรางและสิ่งทั้งหลายก็อยูใน พระเจา ” “อา หลา (อัลลอห) ไดส รางแสงสวา งเปนคร้ังแรก สตั วท งั้ หลายอุบัติมาเพราะศักดิ์ของอาหลา สิ่งที่อา หลา สรา งข้ึนเกดิ มาแตแ สงสวา งน้ันเองจึงไมม ีใครสูง ไมม ีใครต่ํา ใครจะไมถ ามถึงวรรณะ และกําเนิดของทา น ทานจงแสวงหาความจริงซึง่ พระเจาแสดงแกทาน วรรณะและกาํ เนิดของทา นเปน ไปตามจารตี ของทานเอง” “อยาใหใครถือตัวเพราะวรรณะของตน ผูซึ่งรูจักพรหมนั่นแหละเปน พราหมณอยา ถือตัวเพราะ วรรณะ ความถือตัวเชนนเ้ี ปน บอเกดิ แหงความช่วั ฯลฯ” “คนท้งั หลาย บา งก็เปน อุทาสี สันยาสี โยคี พรหมจารี ยติ ฮินธุ ฯลฯ บางคนเปนอิมานซาฟ จึงถือวา คนท้ังหลายเปน วรรณะเดียวกันหมด กรุตา (ผูสรา งโลกตามสํานวนฮินดู) และกรีม (อา หลาตามสํานวน มุสลิม) เปน ผูเดียวกัน เปน ผเู ผอื่ แผป ระทานอภยั อยาเขา ใจผิด เพราะความสงสัยและเชอื่ ไปวามีพระเจาองค ท่สี อง คนท้ังหลายจงปฏิบัตแิ ตพระเจาองคเ ดียว คนทัง้ หลายยอมมีพระเจา เดยี ว ทา นจงรูไ วซึ่งรปู เดียว และ วิญญาณเดียว” เก่ยี วกบั การสรา งโลก ซกิ ขส อนวา แตเรมิ่ แรกมีแตก าลบุรุษ ตอ มามีหมอกและกา ซหมุนเวียนอยู ไดล านโกฎิป จึงมีธรณี ดวงดาว น้ํา อากาศ ฯลฯ อุบัติขึ้นมา มีชีวิตอุบัติมาบนส่ิงเหลานี้นับดวยจํานวน 8,400,000 ชนิด มนษุ ยม ีฐานะสงู สุด เพราะมีโอกาสบาํ เพ็ญธรรมเปนการฟอกดวงวิญญาณใหสะอาดอันเปน หนทางใหห ลดุ พน จากการเกิดการตาย ซกิ ขสอนวา โลกมีมากตอ มาก ดวงสุริยะ ดวงจันทร มีมากตอ มาก อากาศ และอวกาศกวางใหญไพศาล อันผูมกี เิ ลสยากทีจ่ ะหย่ังรูไ ด
ห น า | 37 เกีย่ วกบั เศรษฐกิจสังคม ซกิ ขสอนวา 1. ใหตื่นแตเ ชา อยางนอ ยครึ่งชั่วโมงกอนรงุ อรุณ 2. ต่ืนแลว ใหบ รกิ รรมทางธรรม เพ่อื ฟอกจติ ใจใหส ะอาด 3. ใหป ระกอบสมั มาชีพ 4. ใหแบง สวนของรายได 10 สว น มอบใหแกก องการกศุ ล 5. ใหละเวนการเสพของมึนเมา ประพฤตผิ ิดประเวณี เก่ยี วกบั ประเทศชาติ ศาสนาซกิ ขตัง้ ข้นึ โดยคุรุนานกั ผมู องเห็นภยั ท่ปี ระเทศชาตกิ ําลังไดรบั อยจู าก คนตา งชาติและคนในชาติเดียวกัน จึงไดป ระกาศธรรมสั่งสอนเพื่อความดํารงอยูของชาติ คุรุวาณีของทาน เปน เคร่อื งกระตนุ ใหผูรบั ฟงมคี วามสามคั คมี คี วามรักชาติ โดยไมเ กลยี ดชาติอ่นื ตอ มาในสมยั คุรโุ ควินสู งิ ห ทานไดส งั่ สอนใหช าวซกิ ขเปน ทหารหาญ เสยี สละเลือดเนอื้ และชวี ติ เพอ่ื ชาติ ครุ หุ ลายทา น เชน ครุ อุ รชนุ เทพ และครุ ุเทคบาหาทรู ไดสละชีพเพ่ือชาติและศาสนา และบางทานสละชีพ เพือ่ ปอ งกนั ศาสนาซกิ ข กลาวคอื - ครุ ุชุนเทพ ถกู กษัตรยิ อ ิสลาม คอื ชาหันครี บังคบั ไมใหทา นประกาศศาสนา ทา นถูกจับขังที่ปอ ม เมืองลาฮอร ถูกทรมานใหนั่งบนแผนเหล็กเผาไฟและถูกโบยดวยทรายคั่วรอนบนราง กษัตริยชาหันคีร บังคบั ใหทานเลิกประกาศศาสนาซิกข และหันมาประกาศศาสนาอิสลามแทน แตทา นไมยอมทําตามจึงถูก นาํ ตัวไปใสห มอตม และถกู นาํ ตัวไปถวงในแมนา้ํ ระวี จนเสียชีวิต พ.ศ. 2149 คุรเุ ทคบาหาทุร ถกู กษัตรยิ อ สิ ลามประหาร เพราะเร่อื งการประกาศศาสนาซิกขเชน กัน ในการกูเอกราชของประเทศอินเดีย ปรากฏวาชาวซิกขไ ดส ละชวี ิตเพ่ือการน้เี ปนจํานวนมาก เก่ียวกับฐานะของสตรี ศาสนาซิกขย กสตรีใหม ีฐานะเทา บุรุษ สตรีมีสิทธิในการศึกษา รว ม สวดมนตห รือเปน ผูนําในการสวดมนตเทากับบุรษุ ทุกประการ ครุ นุ านกั ใหโ อวาทแกพวกพราหมณผ เู ครงใน วรรณะส่ี ไวว า “พวกทา นประณามสตรดี ว ยเหตุใดสตรีเหลาน้เี ปนผูใหก าํ เนดิ แกราชาคุรศุ าสดาและแมแตต วั ทา นเอง” เกยี่ วกบั เสมอภาคและเสรีภาพ ครุ ุนานกั สอนวา “โลกท้ังหมดเกดิ จากแสงสวางอันเดียวกนั คือ (พระเจา) จะวา ใครดีใครชว่ั กวา กนั ไมไ ด” คุรโุ ควนิ ทสิงห สอนวา สเุ หรา มณเฑยี ร วิหาร เปนสถานที่บาํ เพญ็ ธรรมของคนทั้งหลายเหมือนกัน ที่เหน็ แตกตา งกันบา งเพราะความแตกตา งแหง กาลกาละและเทศะ วิหารของซิกขม ีประตูสี่ดาน หมายความวา เปด รับคนทั้งส่ีทิศ คือ ไมจํากัดชาติ ศาสนา เพศ หรอื วรรณะใด ในการประชุมทางศาสนาทกุ คนไดรบั การปฏิบัติทเี่ สมอภาค ผูแ จกหรือผูร ับแจกอาหารจาก โรงทานของกองการกศุ ลจะเปนคนในวรรณะใด ๆ ชาตใิ ดก็ไดคนทุกฐานะตอ งนัง่ กนิ อาหารในท่เี สมอหนา กนั เร่อื งของโรงอาหารเปนสง่ิ สําคัญมากของศาสนสถาน คุรุรามทาส ไดต้ังกฎไววาใครจะเขา พบ ทานตอ งรับอาหารจากโรงทานเสียกอน เพือ่ เปนการแสดงใหเ หน็ ประจักษวารับหลักการเสมอภาคของทา นคุรุ ครั้งหน่ึงอักบารม หาราชไปพบทา นเห็นทานน่ังกินอาหารในที่เดียวกับสามัญชน ทําใหอ ักบารม หาราช พอพระทัยถวายเงนิ ปแดทานครุ ผุ ูนี้
ห น า | 38 อีกประการหนึ่งจะเปน ผใู ดก็ตามจะตอ งปฏบิ ัตสิ ังคตี (พธิ ชี มุ นุมศาสนิก) ดว ยมือของตนเอง คือ ตองเช็ดรองเทา ตกั นา้ํ ทําทุกอยางดวยตนเอง ไมมใี ครไดรับยกเวนเปนพเิ ศษ ผูใดปฏิบัติตามไดม ากย่ิงเปน ซกิ ขท ่ีดมี าก 4. ศาสนาซกิ ขเ ขา สูประเทศไทย ชาวซกิ ขส วนมากยึดอาชีพขายอิสระ บา งก็แยก ยายถิน่ ฐานทํามาหากินไปอยูตา งประเทศ บา งก็เดินทางไปมา ระหวา งประเทศ ในบรรดาชาวซิกขดังกลาวมีพอ คา ชาวซิกข ผูหน่ึงช่ือ นายกิรปารามมาคาน ไดเดินทางไปประเทศ อัฟกานิสถาน เพอื่ หาซ้ือสินคา แลว นําไปจําหนา ยยังบานเกิด สนิ คาทซี่ ือ้ ครง้ั หน่งึ มมี าพนั ธุดรี วมอยหู นง่ึ ตัว เมื่อขายสินคา หมดแลวไดเ ดินทางมาแวะที่ ประเทศสยาม โดยไดนํามา ตัวดังกลาวมาดวย เขาไดมา อาศยั อยใู นพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริยส ยาม ไดร บั ความอบอนุ ใจเปนอยา งยิ่ง ดังนั้น เขามีโอกาสเขา เฝา พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยูห ัว และไดถวายมา ตัวโปรดของเขาแดพ ระองคด ว ยความสํานึกในพระมหา- กรณุ าธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยูห ัว เห็น ในความจงรักภักดขี องเขา ไดพ ระราชทานชางใหเ ขาหน่งึ เชอื ก ตลอดจนขา วของเคร่ืองใชท จี่ าํ เปนในระหวา ง เดินทางกลับอินเดยี เมอื่ เดนิ ทางกลบั มาถึงอนิ เดียแลว เห็นวา ของทไี่ ดร บั พระราชทานมาน้ันสูงคาอยา งย่ิงควรท่ีจะเก็บ รกั ษาใหสมพระเกยี รตยิ ศแหง พระเจากรงุ สยาม จึงไดน าํ ชา งเชือกนน้ั ไปถวายพระราชาแหงแควนแคชเมียร และยํามู พรอมทั้งเลา เรอ่ื งที่ตนไดเ ดนิ ทางไปประเทศสยามไดร ับความสุขความสบายจากพี่นอ งประชาชน ชาวสยาม ซ่ึงมีพระเจา แผนดนิ ปกครองดวยทศพธิ ราชธรรมเปน ทยี่ กยองสรรเสรญิ ของประชาชน พระราชาแหง แควนแคชเมียร ไดฟ งเรื่องราวแลว ก็มีความพอพระทัยอยางยิ่ง ทรงรับชา งเชือก ดงั กลา วเอาไวแ ลว ขึน้ ระวางเปน ราชาพาหนะตอ ไป พรอมกับมอบแกวแหวนเงินทองใหนายกิรปารามมาคาน เปน รางวลั จากนนั้ เขาก็ไดเดินทางกลับบา นเกิด ณ แควนปญ จาป แตคร้ังน้ีเขาไดร วบรวมเงินทอง พรอมทั้ง ชักชวนเพ่ือนพอ งใหไ ปตัง้ ถน่ิ ฐานอาศัยอยใู ตรมพระบรมโพธสิ มภารพระเจากรงุ สยามตลอดไป ตอ มาไมนานผูคนท่ีเขาไดช ักชวนไวก ็ทยอยกันมาเรื่อย ๆ ดังน้ัน ศาสนาสถานแหงแรกจึงไดถ ูก กาํ หนดขึ้น โดยศาสนิกชนชาวซกิ ขไดเ ชา เรือนไมหนง่ึ คหู าที่บริเวณบา นหมอ หลงั โรงภาพยนตรเ ฉลมิ กรงุ ปจ จบุ ัน เมื่อป พ.ศ. 2455 มาตกแตง ใหเ หมาะสมเพ่อื ใชประกอบศาสนากิจ
ห น า | 39 ตอ มาเมือ่ สงั คมซิกขเติบโตข้ึนจึงไดย า ยสถานท่ีจากที่เดิมมาเชาบานหลังใหญก วาเดิม ณ บริเวณ ยา นพาหรุ ดั ในปจจุบนั แลว ไดอ ญั เชญิ พระมหาคมั ภีรอาทคิ รนั ถมาประดิษฐานเปน องคประธาน มีการสวดมนต ปฏบิ ตั ิศาสนกิจเปน ประจาํ ทกุ วนั ไมมีวนั หยุดนับ ตงั้ แตป พ.ศ. 2456 เปน ตนไปจนถึงป พ.ศ. 2475 ศาสนิกชน ชาวซกิ ขจ งึ ไดร วบรวมเงนิ เพ่อื ซือ้ ทด่ี ินผนื หนึง่ เปน กรรมสทิ ธิ์ เปนจาํ นวนเงิน 16,200 บาท และไดก อสรา ง อาคารเปน ตึกสามช้ันครงึ่ ดวยเงนิ จํานวนประมาณ 25,000 บาท เปน ศาสนสถานถาวรใชช ือ่ วา ศาสนาสถาน สมาคมศรคี รุ สุ ิงหส ภา สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ. 2476 ตอ มาเกดิ สงครามมหาเอเชยี บรู พา ศาสนสถานแหง นถ้ี กู ระเบดิ จากฝา ยสัมพนั ธมติ รถึงสองลูกเจาะ เพดานดาดฟา ลงมาถงึ ช้ันลา งถงึ สองชั้น แตลกู ระเบดิ ดงั กลาวดาน แตท าํ ใหต ัวอาคารรา วไมสามารถใชงานได หลงั จากไดทําการซอมแซมมาระยะหนึ่งอาคารดงั กลา วใชงานไดดงั เดมิ และไดใชป ระกอบศาสนากิจมาจนถึง ปจจบุ นั ตอ มาเมอ่ื ศาสนกิ ชนชาวซกิ ขมจี าํ นวนมากขึน้ ตามลําดับ จึงตางก็แยกยายไปประกอบกิจการคา ขาย ตามหวั เมืองตา ง ๆ อยางมสี ทิ ธเิ สรีภาพยิ่ง และทุกแหง ที่ศาสนิกชนชาวซิกขไปอาศัยอยูก็จะรวมกันกอตั้ง ศาสนสถานเพ่ือประกอบศาสนกจิ ของตน ปจจบุ นั มีศาสนสถานของชาวซิกขทีเ่ ปน สาขาของสมาคมอยู 17 แหง คือ ศาสนสถานสมาคมศรีคุรุสิงหสภา (ศูนยร วมซิกขศาสนิกชนในประเทศไทย) กรุงเทพฯ และต้ังอยูใน จังหวัดตา ง ๆ อีก 16 แหง คือ จังหวัดนครสวรรค ลําปาง เชียงใหม เชียงราย นครราชสีมา ขอนแกน อุดรธานี นครพนม อุบลราชธานี ชลบุรี (พัทยา) ภเู กต็ ตรัง สงขลา (อาํ เภอเมอื งสงขลา และอําเภอหาดใหญ) ยะลา และจังหวดั ปต ตานี ในป พ.ศ. 2525 มีศาสนิกชนชาวซกิ ขอยใู นประเทศไทยประมาณสองหม่ืนคน ทกุ คนตา งมงุ ประกอบ สัมมาอาชพี อยูภายใตพ ระบรมโพธิสมภารแหงพระมหากษัตริยไ ทย ดว ยความม่ังค่ังสุขสงบทั้งกายและใจ โดยท่ัวหนา สมาคมศรีครุ สุ ิงหส ภา (ศูนยร วมซกิ ขศ าสนิกชนในประเทศไทย) ไดอ บรมสงั่ สอนกุลบตุ รกุลธิดาใหเปน ผมู คี วามรูความสามารถ เปน ผูดีมีศีลธรรม รูจักรักษาธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ละเวน จากสิ่งเสพติด ทั้งปวง ดาํ เนนิ การอุปการะชวยเหลอื เออื้ เฟอเผอื่ แผตอ ผูป ระสบทุกขยากอยเู สมอมิไดข าด จัดสรา งโรงเรียนซกิ ขว ิทยา ที่สาํ โรงเหนอื จงั หวดั สมุทรปราการ มีหองเรียน 40 หอง มีนักเรียน 300 คน ทัง้ ชายและหญิง สอนตามหลกั สตู รกระทรวงศึกษาธิการ
ห น า | 40 จัดสรา งสถานพยาบาล คลนิ กิ นานกั มิชชนั เพือ่ เปด การรักษาพยาบาล มีคนไขท่ียากจนเขา รับการ รักษาพยาบาลโดยไมเ สยี เงิน โดยไมจํากดั ช้นั วรรณะ และศาสนาแตป ระการใด เปดบริการหองสมดุ นานัก บรกิ ารหนงั สือตาง ๆ ทัง้ ในภาคภาษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาปญ จาบี เปด สถานสงเคราะหค นชรา เพื่อสงเคราะหช ว ยเหลือผูส ูงอายุที่ยากจนขัดสน และขาดแคลน ผอู ปุ การะ จัดต้ังมูลนิธิพระศาสดาคุรนุ านักเทพ เม่ือป พ.ศ. 2512 นําดอกผลมาสงเคราะหนกั เรียนทีเ่ รียนดแี ต ขดั สนทนุ ทรัพย ใหความรวมมือในการชวยเหลือสังคมในดานตาง ๆ กับหนวยงานตาง ๆ เชน กรมการศาสนา สภากาชาดไทย มูลนิธิเด็กพิการ มูลนิธิชวยคนปญญาออ น สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย (ในพระบรม- ราชปู ถัมภ) เพ่ือใหเกดิ ความสมคั รสมานสามคั คใี นหมศู าสนิกชนศาสนาตาง ๆ เชญิ ชวนใหช าวซิกขออกบําเพ็ญตน เพอื่ ใหประโยชนต อสังคมสว นรวม เรอื่ งที่ 7 การเผยแผศาสนาตาง ๆ ในโลก ในจาํ นวนประชากรประมาณ 4,500 ลานคน มผี ูนบั ถือศาสนาตา ง ๆ ดังตอ ไปน้ี คือ 1) ศาสนาคริสต ประมาณ 2,000 ลา นคน 2) ศาสนาอสิ ลาม ประมาณ 1,500 ลานคน 3) ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดปู ระมาณ 900 ลา นคน 4) ศาสนาพุทธ ประมาณ 360 ลา นคน 5) ทเ่ี หลอื เปน นับถือลทั ธิตา ง ๆ เทพเจา หรือไมน ับถือศาสนาอะไรเลย ศาสนาท่ีสําคัญของโลกทุกศาสนาตางเกิดในทวีปเอเชีย ซ่ึงแหลง กําเนิดดังน้ี เอเชียตะวันตก- เฉยี งใต เปนตนกาํ เนิดของศาสนายดู าย ศาสนาคริสต และอิสลาม ศาสนายูดาย เปน ศาสนาทเ่ี กา แกที่สุดใน เอเชียตะวันตกเฉยี งใต เปนตน กําเนดิ ของศาสนาครสิ ต ซง่ึ เปนศาสนาทมี่ ผี นู บั ถือมากที่สดุ ในโลกขณะนี้ โดยได เผยแผไปสยู โุ รป ซกี โลกตะวนั ตกอ่นื ๆ และชาวยุโรปนํามาเผยแผสูทวีปเอเชียอกี คร้ังหนึ่ง ศาสนาอสิ ลาม เกิดกอ นศาสนาครสิ ตป ระมาณ 600 ป เปน ศาสนาท่สี าํ คัญของเอเชียตะวันตกเฉียงใต ปจจบุ ันศาสนาน้ีไดเ ผยแผไปทางภาคเหนอื ของอินเดีย ดินแดนทางตอนเหนือของอาวเบงกอล คาบสมุทร มลายู และประเทศอินโดนีเซีย เอเชยี ใตเปนแหลงกาํ เนิดศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู มคี วามเช่อื มาจากศาสนา- พราหมณ ซึง่ เปนศาสนาเกาแกของโลก เมอ่ื ประมาณ 5,000 ป และเปนแนวทางการดาํ เนินชวี ิตของชาวอินเดีย จนกระทั่งถึงปจจุบันนี้ สวนพุทธศาสนาเกิดกอนศาสนาคริสต 500 ป และถึงแมจ ะเกิดในอินเดียแต ชาวอินเดยี นบั ถอื พระพุทธศาสนานอ ย แตม ีผูน บั ถือกันมากในทเิ บต ศรีลังกา พมา ไทย ลาว และกัมพูชา เอเชยี ตะวันออกเปนแหลงกําเนิดของลทั ธิขงจอื้ เตา และชินโต ตอมา เมอื่ พระพทุ ธศาสนาไดเผยแผ เขาสูจนี ปรากฏวาหลักธรรมของศาสนาพุทธสามารถผสมผสานกับคําสอนของขงจ้ือไดด ี สว นในญ่ีปุนนับถือ พุทธศาสนาแบบชินโต
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157