OKR Objectives and Key Results เป็นระบบบรหิ ารจดั การ ที่เนน้ เร่อื ง การตง้ั เป้าหมายและการติดตามผลในสิ่งที่สาคญั โดยสรา้ งจากแรงจูงใจภายใน หรือ การตงั้ เป้าหมายของแตล่ ะบุคคลในหน่วยงาน ใหม้ ีเป้าหมายทส่ี อดคล้องกนั ทงั้ หน่วยงาน
Objectives วัตถุประสงค์หลัก เป็นการบอกจุดม่งุ หมายของหน่วยงาน Key Results ผลลพั ธ์หลัก เปน็ วธิ กี ารทาใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมายทห่ี นว่ ยงานตง้ั ไว้ โดยกาหนดค่าความสาเร็จทที่ าใหจ้ ุดมงุ่ หมายนน้ั บรรลผุ ล
จะทาให้บคุ ลากรในหนว่ ยงาน ทราบวธิ ีการปฏบิ ตั ิงาน ให้บรรลจุ ุดมงุ่ หมายของหนว่ ยงานในทิศทางเดยี วกนั และทาใหห้ น่วยงานกา้ วไปข้างหน้าอยา่ งรวดเรว็
การสร้างวตั ถุประสงค์ (Objectives) ของหน่วยงาน 1. ผอู้ านวยการ เปน็ ผตู้ ง้ั วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 2. หัวหน้างานฝา่ ยตา่ ง ๆ เป็นผ้สู ร้างวตั ถปุ ระสงค์ของฝา่ ย ใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของผอู้ านวยการ 3. บุคลากรแต่ละคน ในฝา่ ยต่าง ๆ สรา้ งวัตถปุ ระสงคข์ องตนเอง ใหส้ อดคล้องกับวัตถุประสงค์ของฝ่ายท่ีตนเองสังกดั อยู่
ตวั อย่าง การสรา้ งวตั ถุประสงคใ์ หส้ อดคลอ้ งกันท้งั องคก์ ร ผบู้ รหิ าร วตั ถุประสงค์ : เพ่ิมกาไร ฝ่ายการตลาด ฝา่ ยการผลติ วัตถปุ ระสงค์ : เพม่ิ รายได้ วัตถุประสงค์ : ลดคา่ ใชจ้ า่ ย ฝา่ ยขาย ฝา่ ยสนับสนุนการขาย ฝ่ายซ่อมบารุง วัตถุประสงค์ : วตั ถุประสงค์ : จัดทาเวบ็ ไซต์ วตั ถปุ ระสงค์ : ทาใหเ้ ครือ่ งจกั ร เพม่ิ จานวนลกู คา้ สนับสนุนการขาย ทางานไดอ้ ยา่ งสมา่ เสมอ
แนวทางการจดั ทาวตั ถุประสงค์ของหน่วยงาน 1. วัตถุประสงค์ตอ้ งสอดคลอ้ งกนั ทง้ั หน่วยงาน มคี วามชดั เจนและสัมพนั ธก์ นั 2. ควรมจี านวนวตั ถปุ ระสงคป์ ระมาณ 3–5 ข้อเท่าน้ัน 3. วตั ถุประสงคจ์ ะวดั ผลเชิงคุณภาพ และหลีกเลีย่ งสิ่งที่ทาเปน็ ประจาอยูแ่ ลว้ 4. วัตถุประสงค์ตอ้ งมคี วามท้าทาย และสามารถปฏิบัตไิ ดจ้ ริง 5. ตั้งเป้าหมายความสาเร็จของวัตถุประสงค์อยู่ที่ 70-80%
การสร้างผลลัพธ์หลัก (Key Results) ของหน่วยงาน 1. ผลลัพธ์หลกั เปน็ การวัดผลของวัตถปุ ระสงคแ์ ต่ละข้อที่สร้างขึ้นมา เพ่ือให้ทราบถงึ ความสาเร็จ 2. ผลลพั ธ์หลกั จะวัดผลในเชงิ ปรมิ าณ ท่มี กี ารกาหนดค่าเปา้ หมายอยา่ งชัดเจน 3. มีกรอบระยะเวลาทีช่ ดั เจน สาหรับการบรรลุผลสาเรจ็ ของวัตถปุ ระสงค์และผลลัพธห์ ลัก 4. ผลลัพธ์หลกั ไม่ควรเกนิ 5 ข้อ ต่อ 1 วัตถุประสงค์ 5. ต้งั เปา้ หมายความสาเรจ็ ของผลลัพธห์ ลักอยู่ทีป่ ระมาณ 70-80%
ตวั อย่าง การสร้างผลลัพธห์ ลักให้สอดคลอ้ งกันทง้ั องค์กร ผู้บรหิ าร วัตถปุ ระสงค์ : เพ่มิ กาไร ผลลพั ธ์หลกั : ผลกาไรเพมิ่ ข้ึน 10% ฝา่ ยการตลาด ฝ่ายการผลิต วตั ถุประสงค์ : เพมิ่ รายได้ วตั ถปุ ระสงค์ : ลดคา่ ใชจ้ ่าย ผลลัพธห์ ลัก : รายได้เพิม่ ขน้ึ 20% ผลลพั ธห์ ลกั : ค่าใชจ้ า่ ยลดลงไมน่ ้อยกว่า 20% ฝา่ ยขาย ฝา่ ยสนบั สนุนการขาย ฝ่ายซอ่ มบารุง วัตถปุ ระสงค์ : เพิ่มจานวนลกู คา้ วัตถปุ ระสงค์ : จัดทาเวบ็ ไซต์สนบั สนุนการขาย วัตถุประสงค์ : ทาใหเ้ คร่ืองจกั รทางานไดอ้ ยา่ งสมา่ เสมอ ผลลพั ธห์ ลกั : ผลลพั ธ์หลกั : ผลลพั ธห์ ลัก : จานวนลูกค้าใหม่เพิม่ ขน้ึ 30% จานวนผเู้ ขา้ ชมเว็บไซตไ์ มน่ อ้ ยกว่า 100 คน/วัน รอ้ ยละของการหยุดทางานของเครอ่ื งจักรหนอ่ ยกวา่ 5%
แนวทางการนา OKR ไปใช้ 1. อธิบายและทาความเข้าใจเกย่ี วกบั แนวคิด OKR 2. ออกแบบ OKR ไดส้ อดคลอ้ งเช่อื มโยงกนั 3. ส่ือสารให้ทกุ คนเข้าใจวธิ ีการใช้ OKR กอ่ นเรม่ิ นาไปปฏิบตั งิ าน 4. มองเหน็ และวเิ คราะห์ OKR ของคนอน่ื ได้ เพ่ือออกแบบ OKR ของตนเอง ให้สอดคลอ้ งสัมพันธก์ นั ท้งั หนว่ ยงาน 5. นา OKR มาใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน
แนวทางการเริ่มจดั ทา OKR ในหน่วยงาน 1. ระดมสมองในหน่วยงานเพอื่ กาหนด OKR ของหนว่ ยงาน 2. ประสานงานกล่มุ ต่าง ๆ เพ่ือสรา้ ง OKR ของกลุ่ม 3. หัวหน้าและบุคลากรภายในกลมุ่ สร้าง OKR ของแตล่ ะบุคคล 4. เสนอและกาหนด OKR ของบคุ ลากรในหนว่ ยงาน 5. ทุกคนทางานรว่ มกันตาม OKR โดยมีการทบทวนเปน็ ประจา เชน่ ทุกไตรมาส ทกุ คร่ึงปี หรอื ทุกปี
ปญั หาทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในการใช้แนวคดิ OKR 1. บุคลากรในหนว่ ยงานไม่เขา้ ใจแนวคดิ OKR จงึ เกิดแรงตอ่ ต้านหรอื ไมใ่ ห้ความสนใจ 2. ตัง้ เปา้ หมายไมท่ า้ ทาย 3. กาหนดวตั ถุประสงคใ์ นลกั ษณะทเี่ ป็นงานประจา 4. วตั ถุประสงค์ไม่สอดคล้องสัมพนั ธก์ นั ท้ังหนว่ ยงาน 5. ผลลพั ธห์ ลัก มากหรือนอ้ ยเกนิ ไป และไม่สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์
OKR ตา่ งจาก KPI อย่างไร? OKR KPI บคุ ลากรในหนว่ ยงานสร้างตวั วัดผลเอง หน่วยงานสร้างตัววัดผลใหอ้ าจจะไมต่ รงกบั งาน จงึ น่าจะได้ตัววดั ผลทตี่ รงกบั งาน ตวั วัดผลนน้ั สอดคล้องกบั ทิศทางของหน่วยงาน ตัววดั ผลอาจจะไม่สอดคลอ้ งกับทิศทางขององคก์ ร (ในบางกรณ)ี ไมต่ ้องตอ่ รองเร่อื งคา่ เป้าหมาย มีการตอ่ รองคา่ เป้าหมาย บคุ ลากรในหนว่ ยงานเกิดความคดิ สรา้ งสรรคใ์ หม่ ๆ บุคลากรจะเนน้ เฉพาะส่ิงทถี่ ูกวดั หรือประเมินใน KPI หรอื สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ใหก้ บั หนว่ ยงาน โอกาสเกิดความคดิ สร้างสรรค์หรอื สร้างนวตั กรรมใหม่ ๆ เปน็ ไปไดย้ าก เกดิ ความรว่ มมือกันในหน่วยงาน การทางานเป็นลกั ษณะของ Silo หรือแบบแยกส่วน ไม่คอ่ ยเกิดความรว่ มมือกนั ในหน่วยงาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: