ข้อมูล Information พุทธศิลป์ และประวัติศาสตร์ ชุมชน ป่าตุ้มดอน โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เรื่อง การวิจัยหลักสูตรอย่างมีส่วนร่วมของมนุษยชนสำหรับสถานศึกษา ชุมชนป่าตุ้มดอน ตำบลป่าตุ้ม อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
ข้อมูล หน้า 1เIกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน ประวัติความเป็นมาชุมชนป่าตุ้มดอน หมู่บ้านป่าตุ้มดอน หมู่ที่ 9 ตำบลป่าตุ้ม อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชุมชนชาวไทใหญ่ หรือ “คนไต” ซึ่งอพยพเคลื่อนย้ายจากถิ่นฐานเดิมในเขตรัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์ เข้ามาตั้งถิ่นฐาน ในพื้นที่อำเภอพร้าว ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในระยะแรก ชาวไทใหญ่เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณ หมู่บ้านสันขวาง หมู่ที่ 1 ตำบลน้ำแพร่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาได้ขยายมาตั้งชุมชน แห่งใหม่ บริเวณดังกล่าวมีลักษณะเป็นที่ดอน น้ำท่วมไม่ถึง และมี “ต้นตุ้ม” ขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า “บ้านป่าตุ้มดอน” ตั้งอยู่ติดกับหมู่บ้านป่าตุ้มโห้ง ซึ่งเป็นบริเวณที่ลุ่ม ผู้คนได้ดำรงชีวิต ความเป็นอยู่ มีจารีตประเพณี วัฒนธรรมในแบบของไทใหญ่ โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เรื่อง การวิจัยหลักสูตรอย่างมีส่วนร่วมของมนุษยชนสำหรับสถานศึกษา
ข้อมูล หน้า 2Iเกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน วิถีชีวิตของชุมชนป่าตุ้มดอน จากคำบอกเล่าของคนในชุมชน และหลักฐานอื่นๆ ภูมิลำเนาเดิมของคนไทใหญ่ ในหมู่บ้านป่าตุ้มดอน อพยพมาจากหลายพื้นที่ ทั้งในพื้นที่ประเทศไทย เช่น เมืองฝาง เชียงดาว เมืองปาย และในพื้นที่รัฐฉาน เช่น เมืองแสนหวี เมืองเชียงตุง เมืองหมอก ใหม่ เมืองลางเคอ เมืองนาย เหตุผลของการเคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองพร้าว มีสาเหตุสำคัญอย่างน้อย 3 ประการ 1. การแสวงหาพื้นที่ทำกินใหม่ 2. การหนีภัยศึกสงครามจากรัฐฉาน 3. การเดินทางเข้ามาค้าขาย ซึ่งในระยะหลังได้มีพี่น้องจากหมู่บ้านห้วยน้ำริน อำเภอ แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็น “กลุ่มคนเมือง” ได้เข้ามาตั้งหมู่บ้านอยู่รวมกัน สสหหภภาาพพเเมมีียยนนมมาารร์์ รัฐฉรัาฐนฉาน อำเภอพร้าว อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย แผนที่การอพยพของชาวไทใหญ่ชุมชนป่าตุ้มดอน เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 3Iเกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน เนื่องจากหมู่บ้านโดยรอบทั่วไปใน อำเภอเดียวกันเป็น “คนเมือง” จึง ทำให้ “คนไทใหญ่” ต้องพูดคำเมือง ปัจจุบันก็ยังมีกลุ่มคนไทใหญ่ที่สามารถ พูดคำไตได้อยู่จำนวนหนึ่งและยังคง ดำรงวัฒนธรรมอันดีงามของไทใหญ่ไว้ อย่าง เช่น วัดป่าตุ้มดอน ได้สร้าง ศิลปะแบบไทใหญ่ซึ่งเป็นวัดเดียวของ อำเภอพร้าว ที่มีพระวิหาร กุฎิ โรงฉัน อยู่รวมกันโดยมีพระวิหารอยู่ตรงกลาง สองข้างจะเป็นกุฏิและโรงฉัน หน้าพระ ประธานจะมี “ขะปาน” ซึ่งเป็นการ ยกพื้นที่สูงกว่าพื้นของพระวิหาร ส่วน ของหลังคาของพระวิหารก็จะเป็น ปราสาททรงไต 5 ชั้น จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย เรื่องโคกรางรกวิาจรัแยยผุหทนลธัทีก่ศกสาาูตสรอตรพอร์ยยม่พาหขงาอมวีงิสทช่วยานวาไรล่ทัวยใมหรขาญ่ชอชุภงมัมฏชนนเุพปษื่่อายตกุช้มานดรสอพำันฒหรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 4Iเกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน คนไทใหญ่ มีภาษา ศิลปะ และวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของตน มีตัวอักษร เรียกว่า“ลิ่กไต”ภาษาพูดเรียกว่า “กวามไต” คนไทใหญ่นับถือพุทธศาสนา ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม และค้าขาย ดังจะพบว่า หมู่บ้านป่าตุ้มดอน มีวัดเป็นศูนย์กลาง ของชุมชน และมีมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญ ได้แก่ พระพุทธรูปปูนปั้นศิลปะแบบเชียงแสน ผสมมัณฑะเลย์ พระปานปอง(พระดอกไม้) พระหินหน่อ เอกสารโบราณทั้งอักษรธรรม ล้านนา อักษรไทใหญ่ และอักษรพม่า พระประธานของวัดป่าตุ้มดอน จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย พระหินหน่อ เรื่องโคกรางรกวิาจรัแยยผุหทนลธัทีก่ศกสาาูตสรอตรพอร์ยยม่พาหขงาอมวีงิสทช่วยานวาไรล่ทัวยใมหรขาญ่ชอชุภงมัมฏชนนเุพปษื่่อายตกุช้มานดรสอพำันฒหรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 5เIกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน พุทธศิลป์ถิ่นไทใหญ่ วัดป่าตุ้มดอน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ รัฐฉาน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย พระปานปองทรงเครื่องจักรพรรดิ เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 6เIกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน พุทธศิลป์ถิ่นไทใหญ่ วัดป่าตุ้มดอน ตำบลทุ่งหลวงอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ คนไทใหญ่หรือ “คนไต” เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ถือพุทธศาสนาส่งผลให้ความเชื่อ ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาตลอดจนวิถีการดำเนินชีวิตมีความเกี่ยวพันกับพุทธศาสนา ทั้งประเพณีชีวิตประเพณี 12 เดือนรวมถึงความเชื่อเกี่ยวกับการสร้าง “พระพุทธรูป” ซึ่งคนไตเรียกว่า “เจ้าพารา” หรือ “พารา” และยังมีคำเรียกอื่นเช่น ยุกต่อ ยุกทูต่อ หุ่นฮ่างพาราเป็นเจ้า เป็นต้น คนไทใหญ่สร้างพระพุทธรูปเพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และ ยังเชื่อว่าอานิสงส์จะเป็นปัจจัยหนุนนำให้เจริญด้วยมนุษยสมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติ ซึ่งวัสดุที่คนไตนิยมนำมาใช้ ในการสร้างพระพุทธรูปมีหลายชนิดและนิยมออกนามพระพุทธ รูปตามชื่อวัสดุ เช่น พาราคำ(ทองคำ) พารางึน(เงิน) พารา หินหน่อ พาราแสงเขียว(พระแก้วมรกต) และ “พาราปาน ปอง” หรือพระดอกไม้ รัฐฉาน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย พระปานปองทรงเครื่องจักรพรรดิ เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 7Iเกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน พาราหินหน่อ วัดป่าตุ้มดอน พระปานปอง วัดป่าตุ้มดอน รัฐฉาน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 8เIกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน คำว่า “ปาน” หมายถึง ดอกไม้ คำว่า “ปอง” หมายถึง การนำมารวมกัน ดังนั้น “พาราปานปอง” หมายถึง พระพุทธรูปที่สร้างจากการนำดอกไม้มารวมกัน กล่าวว่าผู้ที่ สร้างพระพุทธรูปด้วยดอกไม้หรือเกสรดอกไม้ จะได้อานิสงส์มากถึง 55 กัป ซึ่งการ สร้างพระปานปองสามารถนำผงดอกไม้ผสมกับยางไม้ กาวที่ได้จากหนังสัตว์หรือวัสดุที่มี ความเหนียว จากนั้นปั้นขึ้นรูปองค์พระ เมื่อแห้งแล้วจึงลงรักปิดทอง รัฐฉาน วัดป่าตุ้มดอนมีการพบพระพุทธรูปในกลุ่มพระปานปองจำนวน 32 องค์องค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด หน้าตักกว้าง 50 เซนติเมตร ขนาดเล็กที่สุดหน้าตักกว้าง 4.9 เอซำนเภตอิเพมร้ตาวร โดยพบจารึกฐาน พระองค์หนึ่งระบุว่าสร้างเมื่อจุลศักราช 1267 (พ.ศ. 2448) วันอาทิตย์ เดือน 5จังหวแัดรเชมียงให1ม่1ประเคท่ศำไทย ปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) มีอายุ 114 ปีทำให้สันนิษฐานได้ว่าพระปานปองที่พบในวัดป่าตุ้มดอนน่าจะ มีอายุราวหนึ่งร้อยปีเป็นโบราณวัตถุที่มีคุณค่าทั้งด้านความเชื่อประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์ศิลปะ เป็นอย่างยิ่ง เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 9เIกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน เอกสารโบราณอักษรไทใหญ่ (ลิ่กไต) วัดป่าตุ้มดอน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เอกสารโบราณไทใหญ่ (ลิ่กไต) ได้มีการบันทึกเรื่องราวที่จารลงในใบลาน ทั้งหลักคำสอน และความเชื่อทางศาสนา กฎหมาย ประวัติศาสตร์ โหราศาสตร์ ไสยศาสตร์ เวชศาสตร์ ดาราศาสตร์ ภาษาศาสตร์ จริยศาสตร์ วรรณกรรม พิธีกรรม และองค์ความรู้ท้องถิ่น รัฐฉาน คัมภีร์ใบลาน วัดป่าตุ้มดอน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย ในเวลาต่อมา เมื่อมีการพัฒนาองค์ความรู้ในการผลิตเยื่อกระดาษ คือ พับสา ที่สามารถ ใช้วัสดุต่าง ๆ จุ่มหมึกแล้วเขียนลงไป จึงมีการนำมาใช้บันทึกเอกสารควบคู่กับคัมภีร์ใบลาน เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 10เIกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน พับสา นอกจากจะมีคุณค่าเพราะได้บันทึกเรื่องราวทางศาสนา หรือศาสตร์ต่าง ๆ แล้วยังมีเรื่องราวของศิลปะเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น ความงดงามของอักษรลวดลาย และภาพวาดในตัวเอกสารการประดับตกแต่งภายนอก ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีการประดิษฐ์ให้สวยงามตามความนิยมของแต่ละท้องถิ่นหรือวัสดุที่มีในท้องถิ่น รัฐฉาน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย พับสา วัดป่าตุ้มดอน เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 11เIกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน จากงานวิจัยของอาจารย์ ดร.ธรรศ ศรีรัตนบัลล์ และคณะ พบว่าเอกสารโบราณ อักษรไทใหญ่ (ลิ่กไต) ในวัดป่าตุ้มดอน ที่มีสภาพสมบูรณ์และได้จัดทำทะเบียน จำนวน 141 ฉบับ โดยจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะของเอกสาร ดังนี้ ประเภทเอกสาร ทะเบียนเอกสาร จำนวน/ ฉบับ พับสา/ พับหลั่น/ ลิ่กปั๊บ 51 ปตด-ต-2563-001-050 90 ม้วนสา/ พับหัว/ ลิ่กเก๋น 141 รวม ปตด-ต-2563-051-141 ข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสารโบราณอักษรไทใหญ่ (ลิ่กไต) 1) เอกสารที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด คือ คัมภีร์ถั่มมะทีปะนี (ธรรมทีปนี) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2406 และเอกสารที่มีอายุน้อยที่สุด คือ ซิบจ้าดเจ้ากอหลี่เมิงปั่น (พระเจ้าสิบชาติ สำนวนเจ้ากอหลี่ เมืองปั่น) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2505 2) จากเอกสารพบว่าชุมชนชาวไทใหญ่ในพื้นที่เมืองพร้าว มีความสัมพันธ์กับชุมชนไทใหญ่ อื่นๆ อาทิ เมืองฝาง เชียงดาว เมืองปาย เมืองเชียงใหม่ และหัวเมืองไทใหญ่ในรัฐฉาน อาทิ เมืองหาง เมืองลายค่า เมืองลางเคอ เมืองหมอกใหม่ 3) พบการใช้คำนำหน้าชื่อที่บ่งบอกสถานภาพของคนในสังคม ดังนี้ รัฐฉาน - คำนำหน้าชื่อที่บ่งบอกสถานภาพทางศาสนา เช่น ส่าง พะก่า จ่าก่า - คำนำหน้าชื่อที่บ่งบอกตำแหน่งทางการปกครอง เช่น ก๊าง เจ้าพญา เหง - คำนำหน้าชื่อของบุคคลที่ยังไม่มีสถานภาพทางศาสนา เช่น แอไลำอ้ะเภบออี่ทพรร้้าอวยกรจอังงหวทีัด่พเชีรยงรใหณม่ปนราะเถทึศงไทย 4) พบบทร้อยกรองที่พรรณนาถึงสภาพพื้นที่ของเมืองพร้าว ประวัติพุทธศาสนาจากลังกาประเทศที่ขยายตัวมาถึงเมืองพร้าว 5) พบว่าในพื้นที่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ มีชาวไทใหญ่จากรัฐฉาน อพยพเข้ามา ตั้งถิ่นฐานในหลายพื้นที่ และเป็นกลุ่มที่เคยมีบทบาทด้านเศรษฐกิจในเวียงเมืองพร้าว เรื่องโคกรางรกวิาจรัยยุหทแลผธันกศทสาีู่กตสาตรรอรอ์ยมพ่าหยงพามวขีิสอท่วงยชนาารล่วัวยไมทรใขาหชอญภง่ัชมฏุมนเุชพษืน่อยป่กชาาตนุ้รมสพดำัฒอหนรนับาทส้ถอางนถิ่ศนึกษา
ข้อมูล หน้า 12Iเกีn่ยfวoกัrบmปรaะtวัiตoิศnาสตร์ชุมชนป่าตุ้มดอน วิทยากรชุมชน อาจารย์สมชาย เหม่ชัยภูมิ พ่ออภัย คืนมาเมือง โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เรื่อง การวิจัยหลักสูตรอย่างมีส่วนร่วมของมนุษยชนสำหรับสถานศึกษา
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: