Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาพย์พระไชยสุริยา (1)

กาพย์พระไชยสุริยา (1)

Published by Meedee Meedee, 2020-08-26 05:10:30

Description: กาพย์พระไชยสุริยา (1)

Search

Read the Text Version

กาพย์เร่ืองพระไชยสุริยาเป็ นหนังสือแบบเรียนทมี่ คี ุณค่าและน่าสนใจ เน่ืองจากเนื้อเร่ืองเป็ นนิทาน ช่วยตอบสนองธรรมชาตขิ องเด็ก นับเป็ นกศุ โลบายอย่างหน่ึงทท่ี าให้บรรยากาศในการเรียนสนุกสนาน นอกจากนี้ กาพย์พระไชยสุริยายงั มีความไพเราะ คาทใี่ ช้เป็ นคาไทย ง่ายๆ มสี ัมผสั คล้องจอง เหมาะสาหรับการท่องจาและยงั ได้เรียนรู้ เกยี่ วกบั มาตราตวั สะกดและลกั ษณะของการแต่งคาประพนั ธ์ประเภท กาพย์ ท้งั ยงั ได้ข้อคดิ คตธิ รรมจากเนื้อเรื่องอกี ด้วย

ความเป็ นมา กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา มเี นื้อหาเป็ นนิทานขนาดส้ัน มคี วามยาวเพยี ง ๑ เล่มสมุดไทย สุนทรภู่ได้แต่งขนึ้ ขณะจาพรรษาทจี่ งั หวดั เพชรบุรี ราว พ.ศ. ๒๓๖๘ กรืออาจแต่งขนึ้ เม่ือคร้ังบวชอยู่ทวี่ ดั เทพธิดา ราม ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๘๒ - ๒๓๘๕

สุนทรภู่แต่งกาพย์พระไชยสุริยาขนึ้ เพื่อใช้เป็ นแบบ สอนอ่านและเขยี นสะกดคาในมาตราต่างๆ โดยผูกให้เป็ น เรื่องราว เพ่ือให้เดก็ มคี วาม สนุกสนานเพลดิ เพลนิ ไปกบั การอ่าน และการเล่าเรียนศึกษา

ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกรู ) คร้ังเป็ นหลวงสารประเสริฐ เม่ือแต่ง หนังสือมูลบทบรรพกจิ สาหรับใช้เป็ น แบบเรียนหนังสือไทยในโรงเรียนหลวง คง เห็นว่ากาพย์เร่ืองพระไชยสุริยาเป็ นบทกวที ไี่ พเราะ ท้งั อ่าน เข้าใจง่าย จงึ ได้นามารวมไว้ในหนังสือมูลบทบรรพกจิ

ลกั ษณะคาประพนั ธ์ กาพย์พระไชยสุริยา แต่งด้วยคาประพนั ธ์ประเภทกาพย์ ได้แก่ • กาพย์ยานี ๑๑ • กาพย์ฉบัง ๑๖ • กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘



ตวั อย่าง กาพย์ยานี ๑๑ ขุนนางต่างลุกวงิ่ ท่านผู้หญงิ วงิ่ ยดุ หลงั พลั วนั ดนั ตงึ ตงั พล้งั พลดั ตกหกคะเมน วงิ่ อตุ ลดุ ฉุดมือเณร พระสงฆ์ลงจากกฏุ ์ิ ลงโคลนเลนเผ่นผาดโผน หลวงชีหนีหลวงเณร



ตัวอย่าง กาพย์ฉบงั ๑๖ กลางไพรไก่ขนั บรรเลง ฟังเสียงเพยี งเพลง ซอเจ้งจาเรียงเวยี งวงั ยูงทองร้องกะโต้งโห่งดงั เพยี งฆ้องกลองระฆงั แตรสังข์กงั สดาลขานเสียง



ตัวอย่าง กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ วนั น้ันจนั ทร มดี ารากร เป็ นบริวาร เห็นสิ้นดนิ ฟ้า ในป่ าท่าธาร มาลคี ลบ่ี าน ใบก้านอรชร เยน็ ฉ่านา้ ฟ้า ชื่นชะผกา วายุพาขจร สารพนั จันทร์อนิ ร่ืนกลน่ิ เกสร แตนต่อคลอร่อน ว้าว่อนเวยี นระวนั

เร่ืองย่อ กาพย์พระไชยสุริยา เริ่มต้นด้วยบทไหว้ครูโดยใช้คาใน มาตราแม่ ก กา จากน้ันเป็ นเนื้อความ แต่งเรียงตาม มาตราตวั สะกด คือ แม่ ก กา แม่ กน แม่ กก แม่ กง แม่ กด แม่ กบ แม่ กม แม่ เกย เม่ือจะขนึ้ มาตราใดกจ็ ะบอกไว้อย่างชัดเจน

ต่อมาเป็ นเนื้อเร่ือง กล่าวถงึ พระไชยสุริยาครองเมืองสาวตั ถี มมี เหสีพระนามว่า สุมาลี พระไชยสุริยาทรงปกครอง บ้านเมืองด้วยความผาสุก แต่ต่อมาบรรดาข้าราชการประพฤตติ น ไม่ดี ไม่อยู่ในศีลธรรม ทาให้เกดิ อาเพศ นา้ ป่ าไหลท่วมบ้านเมือง พระไชยสุริยาจึงทรงพานางสุมาลลี งเรือสาเภา เรือถูกพายุ อบั ปาง

พระไชยสุริยาและมเหสีขนึ้ ฝ่ังได้ กเ็ ดนิ ทางรอนแรมกลางป่ า ได้รับความทุกข์ ต่อมาพบพระอนิ ทร์มาสอนธรรมะ พระไชยสุริยา และพระมเหสีจงึ เสดจ็ ออกผนวชบาเพญ็ พรตตลอดพระชนม์ชีพ



คุณค่าด้านเนื้อหา ๑. ให้ความรู้ตามจุดประสงค์ของผู้แต่ง คือ ใช้เป็ นสื่อในการสอนมาตรา ตวั สะกด ผู้ทใ่ี ช้กาพย์พระไชยสุริยาเป็ น แบบเรียนจะสามารถอ่านและเขยี นภาษาไทยได้ อย่างถูกต้องและสามารถใช้ทบทวนความรู้ ทางการใช้ภาษาได้

๒. สะท้อนสภาพสังคมไทย สุนทรภู่เกดิ หลงั การสร้างกรุงรัตนโกสินทร์เพยี ง ๓ ปี ได้ รับรู้เหตุการณ์ตอนเสียกรุงจากผู้ใหญ่ทเี่ คยพบสภาพท้งั ก่อนเสียกรุง ขณะเสียกรุง การกอบก้บู ้านเมืองและสร้างบ้านแปลงเมือง จงึ สอดแทรกสภาพสังคมไทยก่อนเสียกรุง โดยสร้างตวั ละครในเรื่อง ว่าข้าราชบริพาร เสนาบดไี ม่ใส่ใจบ้านเมือง ฉ้อราษฎร์บังหลวง คดโกง ไม่ยุตธิ รรม หมกหมุ่นอยู่กบั ความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ มัวเมาในกาม เหมือนสภาพคนไทยก่อนเสียกรุง ดงั นี้

อยู่มาหมู่ข้าเฝ้า กห็ าเยาวนารี ทห่ี น้าตาดดี ี ทามโหรีทเ่ี คหา เข้าแต่หอล่อกามา คา่ เช้าเฝ้าสีซอ โลโภพาให้บ้าใจ หาได้ให้ภริยา เหไปเข้าภาษาไสย ฉ้ อแต่ไพร่ ใส่ ข่ือคา ไม่จาคาพระเจ้า ถือดมี ีข้าไท

นอกจากนีใ้ นการตดั สินคดคี วามต่างๆ ตุลาการกไ็ ม่มีความ ยตุ ธิ รรม ใครตดิ สินบนกพ็ ลกิ คดจี ากทแี่ พ้ให้ชนะ คบชั่วได้ดี คนดถี ูกกดขข่ี ่มเหง ซึ่งสภาพสังคมไทยก่อนเสียกรุงศรีอยธุ ยา แตกคงเป็ นเช่นนี้ จนสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชทรงทน ไม่ได้และคงทรงเห็นสุดกาลงั ทจี่ ะรักษากรุงไว้ได้ จงึ ต้องหา สมัครพรรคพวกหนีไปต้งั หลกั ทจี่ นั ทบุรี สภาพบ้านเมืองของกรุงสาวตั ถจี ะล่มจมเป็ น ดงั นี้

คดที ม่ี คี ู่ คือไก่หมูเจ้าสุภา ใครเอาข้าวปลามา ให้สุภากว็ ่าดี ไม่ถือพระประเวณี ทแ่ี พ้แก้ชนะ ไล่ด่าตมี อี าญา ขฉี้ ้อกไ็ ด้ดี ว่าโง่เง่าเต่าปูปลา ว่าใบ้บ้าสาระยา ทซ่ี ื่อถือพระเจ้า ผู้เฒ่าเหล่าเมธา

๓. แสดงความคดิ ความเช่ือ และค่านิยมของคนในสังคม • ความเช่ือเรื่องไสยสาสตร์ กาพย์เรื่องพระไชยสุริยาแสดงให้เห็นความเช่ือของผ้คู นใน สมยั น้ันว่านับถือไสบศาสตร์มากกว่าหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา จนมคี วามประพฤตใิ นทางท่ีผดิ ไม่จาคาพระเจ้า เหไปเข้าภาษาไสย ถือดมี ีข้าไท ฉ้อแต่ไพร่ใส่ข่ือคา

• แสดงค่านิยมของครอบครัว คู่สามีภรรยายามตกทุกข์ได้ยากต้องไม่ทอดทงิ้ กนั ภรรยา ต้องให้ความเคารพและปรนนิบัตสิ ามีท้งั ยามทุกข์และยามสุข เช่น ส่ วนสุ มาลี วนั ทาสามี เทวอี ยู่งาน เฝ้าอยู่ดูแล เหมือนแต่ก่อนกาล ให้พระภูบาล สาราญวญิ ญาณ์

• แสดงความเคารพในสิ่งท่คี วรเคารพ การแสดงความเคารพในพระรัตนตรัย พ่อแม่ ครูบาอาจารย์ และส่ิงศักด์สิ ิทธ์ิ สะธุสะจะขอไหว้ พระศรีไตรสรณา พ่อแม่แลครูบา เทวดาในราศี

• ให้ข้อคดิ คตธิ รรม สาหรับนาไปใช้ในการดาเนินชีวติ - ข้าราชการทดี่ ตี ้องไม่คดโกง ฉ้อราษฎร์บงั หลวง กดขข่ี ่มเหงประชาชน - บ้านเมืองจะเกดิ ภัยพบิ ตั ถิ ้าสังคมเกดิ กาลกณิ ี ๔ ประการ คือ ผู้คนเห็นผดิ เป็ นชอบ ลกู ศิษย์คดิ ล้างครู ลูกไม่กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผู้คนในสังคมเบยี ดเบียนกนั สังคมไม่มคี วามสุขและเกดิ ความเดือดร้อนไปทุกหย่อมหญ้า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๑. การใช้คาง่าย ๆ บรรยายใหเ้ ห็นภาพชดั เจน เช่น การเริ่มตน้ เรื่องดว้ ยเน้ือความส้ันๆ วา่ มีเมืองๆ หน่ึง มีพระราชาและมเหสี รวมท้งั ขา้ ราชการและประชาชนซ่ึงทามาหาเลี่ยงชีพและมี ความเป็นอยอู่ ยา่ งอุดมสมบูรณ์ นอกจากน้ียงั มีพอ่ คา้ เดินทางมาคา้ ขายจากต่างแดน ทุกคนในเมืองลว้ นอยรู่ ่วมกนั อยา่ งเป็นสุข ข้าเฝ้าเหล่าเสนา มกี ริ ิยาอะฌาสัย พ่อค้ามาแต่ไกล ได้อาศัยในพารา ไพร่ฟ้าประชาชี ชาวบุรีกป็ รีดา ทาไร่นาข้าวไถนา ได้ข้าวปลาแลสาลี

๒. ใช้ถ้อยคาให้เกดิ จินตนาการ เช่น การพรรณนาบรรยากาศและธรรมชาติแวดลอ้ มท่ีมีความสวยงามใน ยามค่าคืน ทาใหน้ ึกถึงภาพของดวงจนั ทร์ที่ลอยเด่นอยบู่ นทอ้ งฟ้าที่ปลอด โปร่งและเตม็ ไปดว้ ยดวงดาวจานวนมาก ธรรมชาติมีแต่ความสดชื่นและ ชุ่มช้ืน มีสายลมอ่อนๆ พดั กล่ินหอมของเกสรดอกไมก้ ระจายไปทว่ั วนั น้ันจันทร มีดารากร เป็ นบริวาร เห็นสิ้นดนิ ฟ้า ในป่ าท่าธาร มาลคี ลบี่ าน ใบก้านอรชร เยน็ ฉ่านา้ ฟ้า ช่ืนชะผกา วายุพาขจรสารพนั จันทร์อนิ รื่นกลน่ิ เกสร แตนต่อคลอร่อน ว้าว่อนเวยี นระวัน

๓. ใช้โวหารนาฏการ คือ เห็นกริ ิยาอาการท่ีทาต่อเนื่อง เห็นกวางย่างเยือ้ งชาเลืองเดนิ เหมือนอย่างนางเชิญ พระแสงสาอางข้างเคยี ง ............................................... ................................. ลงิ ค่างครางโครกครอก ฝูงจงิ้ จอกออกเห่าหอน ชะนีวเิ วกวอน นกหกร่อนนอนรังเรียง ลกู นกยกปี กป้อง อ้าปากร้องซ้องแซ่เสียง แม่นกปกปี กเคยี ง เลยี้ งลกู อ่อนป้อนอาหาร

๔. การใช้ความเปรียบว่าส่ิงหนึ่งเหมือนกบั ส่ิงหนึ่ง หรือ อปุ มา คือ การเปรียบเทยี บส่ิงหนึ่งเหมือนกบั อกี ส่ิงหนึ่ง ทาให้เข้ใจได้ชัดเจน เช่น กลางไพรไก่ขนั บรรเลง ฟังเสียงเพยี งเพลง ซอเจ้งจาเรียงเวยี งวงั ยูงทองร้องกะโต้งโห่งดงั เพยี งฆ้องกลองระฆงั แตรสังข์กงั สดาลขานเสียง

๕. การเลยี นเสียงธรรมชาติ คือ การนาเสียงทไี่ ด้ยนิ มาบรรยายซ่ึงจะทาให้เกดิ มโนภาพเหมือนได้ ยนิ เสียงน้ันจริง ๆ เช่น เสียง “กะโต้งโห่ง” ของนกยูงทดี่ งั กงั วานคล้ายเสียง ของเครื่องดนตรีไทยหลายชนิดผสมกนั หรือเสียง “ป๋ องเป๋ ง” ของนก ค้อนทอง ท่ีมีความไพเราะจับใจคล้ายเสียงเพลง เป็ นต้น ยูงทองร้องกะโต้งโห่งดงั เพยี งฆ้องกลองระฆงั แตรสังข์กงั สดาลขานเสียง ............................ ......................................... เพลนิ ฟังวงั เวง ค้อนทองเสียงร้องป๋ องเป๋ ง อเี ก้งเริงร้องลองเชิง

๖. การเล่นเสียง คือ การมีเสียงสัมผสั ในทุกวรรค ท้งั สัมผสั สระและสัมผสั อกั ษร เช่น ท้งั กนปนกนั ขึน้ กงจงจาสาคญั ราพนั ม่งิ ไม้ในดง ไกรกร่างยางยูงสูงระหง ตะลงิ ปลงิ ปริงประยงค์ คนั ทรงส่งกลนิ่ ฝิ่ นฝาง มะม่วงพลวงพลองช้องนาง หล่นเกลื่อนเถื่อนทาง กนิ พลางเดินพลางหว่างเนิน

๗. ใช้ลลี า จงั หวะในการอ่านได้สนุกและเกดิ อารมณ์ ตามเนื้อเรื่อง เช่น กาพย์ยานีใช้จังหวะการอ่าน ๒ / ๓ / ๓ เป็ นจงั หวะประกอบเสียง หนักเบาและสัมผสั ในของแต่ละวรรคทาให้เด็ก ๆ สนุกกบั บทเรียน เช่น

แสดงอารมณ์ขนั ของสุนทรภู่ เช่น การทส่ี ุนทรภู่บรรยายภาพความ ชุลมุนวุ่นวายของผู้คนท้งั หญงิ และชาย พระสงฆ์และสามเณรทต่ี กใจและ ต่างหนีเอาตวั รอดอย่างไม่คดิ ชีวติ เมื่อเกดิ เหตุแผ่นดนิ ไหว ขุนนาง / ต่างลกุ วงิ่ ท่านผู้หญงิ / วงิ่ ยุดหลงั พลั วนั / ดนั ตึงตงั พล้งั พลดั ตก / หกคะเมน พระสงฆ์ / ลงจากกฏุ ์ิ วง่ิ อตุ ลุด / ฉุดมือเณร หลวงชี / หนีหลวงเณร ลงโคลนเลน / เผ่นผาดโผน พวกวัด / พลดั เข้าบ้าน ล้านต่อล้าน / ซาดเซโดน ต้นไม้ / ไกวเอนโอน ลงิ ค่างโจน / โผนหกหัน

ให้อารมณ์แช่มช่ืนเบิกบาน เช่นการบรรยายสภาพของธรรมชาติทม่ี แี ต่ ความเงียบสงบ ไม่มีความสับสนวุ่นวาย สัตว์ป่ าท้งั หลายต่างใช้ชีวติ อยู่ ร่วมกนั อย่างมีความสุข เป็ นอสิ ระและปราศจากความกงั วลใจใด ๆ เห็นกวางย่างเยื้องชาเลืองเดนิ เหมือนอย่างนางเชิญ พระแสงสาอางข้างเคยี ง เขาสู งฝูงหงส์ ลงเรียง เริงร้องซ้องเสียง สาเนียงน่าฟังวงั เวง กลางไพรไก่ขนั บรรเลง ฟังเสียงเพยี งเพลง ซอเจ้งจาเรียงเวยี งวงั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook