รายงานการดำเนินงาน สถานศึกษาปลอดภยั ประจำป� ๒๕๖๖ โรงเรยี นธรรมบวรวทิ ยา สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
คำนำ รายงานการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดภัย ประจำป� ๒๕๖๖ เล่มนี้เป�นเอกสารประกอบการตรวจประเมิน “สถานศึกษาปลอดภัย ประจำป� ๒๕๖๖” ของโรงเรียนธรรมบวรวิทยา ตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัด สกลนคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร “สถานศึกษาปลอดภัย ประจำป� ๒๕๖๖ โรงเรียนธรรมบวรวิทยา” มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นภายในสถานศึกษา รวมทั้งเป�นการสร้างต้นแบบการ ดำเนินการความปลอดภัยในสถานศึกษาตนเอง โรงเรียนธรรมบวรวิทยา ตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัด สกลนคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดำเนินงานกิจกรรมตามหลักเกณฑ์ และจัดทำเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน และเกดิ ประโยชนใ์ นภาพรวมด้านความปลอดภัยในสถานศึกษา บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ทุกประการ ในการนี้คณะกรรมการดำเนินงานขอขอบพระคุณ นายอังกูร บุญรักษา ผู้อำนวยการโรงเรียนธรรมบวร วิทยา คณะครูและบุคลากรในสถานศึกษาที่ให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือ และให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน ดว้ ยดีจงึ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี คณะทำงาน สถานศกึ ษาปลอดภยั โรงเรยี นธรรมบวรวทิ ยา
สารบญั เรอ่ื ง หน้า ข้อมูลท่ัวไป ๑ ๑. ประวัตโิ รงเรยี นธรรมบวรวทิ ยา ๑ ๒. ทำเนยี บผู้บริหาร ๑ ๓. ตราประจำโรงเรยี น ๑ ๔. ปรัชญาของโรงเรียน / วสิ ัยทศั น์ / พันธกิจ ๒ ๕. เป้าหมาย/ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ ๓ ๖. ข้อมลู อาคารสถานที่ ๓ ๗. การบริหารงาน ๔ ๘. ขอ้ มูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรยี นธรรมบวรวทิ ยา ๖ ๙. ผลงานดีเดน่ ระดบั ชาติโดยการบรหิ ารของผู้บริหารคนป�จจุบนั ๑๑ องคป์ ระกอบที่ ๑ นโยบายการรกั ษาความปลอดภัย ๑๔ ๑. สภาพบริบท/สภาพป�ญหา ๑๔ องคป์ ระกอบที่ ๒ แผนเผชิญเหตุ ๑๘ ๑. โรงเรียนธรรมบวรวทิ ยาจัดทำแผนเผชญิ เหตุตามมาตรการปอ้ งกัน ๑๘ ๒. โรงเรยี นมกี ารจัดโครงสรา้ งบรหิ ารจดั การความปลอดภัยสถานศกึ ษา ๒๐ ๓. โครงการกลุม่ บริหารท่วั ไปส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัตงิ านฝา่ ยบรหิ ารทัว่ ไป ๒๑ ๔. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๒ ๕. ภาพการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒๓ ๖. ประชุมช้ีแจงแนวปฏิบตั ขิ องแม่คา้ รา้ นค้า ในโรงเรียนธรรมบวรวทิ ยา ๒๓ องคป์ ระกอบที่ ๓ มาตรการด้านการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ ๒๔ ๑. มาตรการดา้ นการป้องกันอบุ ตั ิเหตจุ ากอาคารเรยี น ๒๔ ๒. ด้านการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตจุ ากบริเวณสถานศึกษามีการจัดเวรยามรกั ษาการณ์ทง้ั ภาคกลางวนั ๒๔ และกลางคนื ๓. ด้านการปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตุจากสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา ๒๕ ๔. ด้านการป้องกันอุบตั เิ หตุจากเครื่องมือ ๒๖ ๕. ด้านการป้องกนั อุบตั เิ หตุจากการเดินทางไป – กลับ ๒๗ ๖. ด้านการปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตุจากการพานกั เรียนไปนอกสถานที่ ๒๙
๗. ด้านการป้องกนั อบุ ตั ิเหตุจากการนำนักเรยี นไปเขา้ ร่วมกิจกรรมสำคญั ๒๙ องค์ประกอบท่ี ๔ มาตรการด้านการปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ิ ๓๐ ๑. ด้านการปอ้ งกนั อคั คภี ยั ๓๐ ๒. ดา้ นการปอ้ งกันอคั คีภัย / วาตภยั / อทุ กภยั ๓๑ ๓. ทางสถานศึกษามีการบริหารจดั การด้านความปลอดภยั ๓๒ องคป์ ระกอบที่ ๘ มาตรการดา้ นการปอ้ งกันและแกไ้ ขป�ญหาทางสังคม ๓๓ ๑. การป้องกนั ปญ� หายาเสพติด ๓๓ ๒. รายงานทะเบยี นกำลังพลยาเสพติด ๓๓ ๓. รายงาน MOE Safety Center ๓๔ ๔. ระบบดูแลและตดิ ตามการใช้สารเสพติดในสถานศกึ ษา ๓๕ ๕. ดำเนินโครงการอบรมให้ความรูเ้ ยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด ๓๖ และกิจกรรมเดนิ รณรงคต์ ่อต้านยาเสพติด ๓๘ ๖. อบรมแกนนำนักเรยี นสถานศึกษาสีขาว ๓๘ ๗. การสง่ เสริมและคมุ้ ครองสิทธแิ ละเพศสภาพในสถานศกึ ษา ๓๙ ๘. การปอ้ งกันการต้ังครรภใ์ นวยั รนุ่ ๔๑ องคป์ ระกอบที่ ๙ มาตรการความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทำงานให้ ๔๑ แกน่ กั เรียนและนักศึกษา ๔๒ ๔๓ ๑. การตรวจสุขภาพนักเรียน ๔๔ ๒. การตรวจสุขภาพโครงการฟ�นสะอาดเหงือกแข็งแรง ๔๕ ๓. กจิ กรรมฟ�นสะอาดเหงือกแข็งแรง ๔๗ ๔. การฉดี วัคซนี โควิด ๔๘ ๕. นกั เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเขา้ รบั การฉีดวัคซนี ๔๙ ๖. ภาพการรับวัคซนี HPV หรือวคั ซนี ป้องกันมะเรง็ ปากมดลูก ๕๐ ๗. มาตรการป้องกันโควดิ การเตรียมความพร้อมก่อนเป�ดภาคเรยี น ๕๑ ๘. ครปู ระจำวนั ดแู ลการคดั กรองนักเรียนก่อนเข้าโรงเรียนทกุ วนั ๕๕ ๙. นำนักเรียนร่วมบรจิ าคโลหติ ใหก้ าชาดจงั หวดั สกลนคร ๕๖ ๑๐. ครูปฏบิ ตั ิหน้าที่เยย่ี มและให้กำลังใจนกั เรยี นท่ีประสบอุบัติเหตจุ ากรถยนตท์ ่ีโรงพยาบาล ๕๗ ๑๑. กจิ กรรมพน่ หมอกควนั กำจัดยุงลาย ๑๒. ร่วมรณรงค์เยาวชนรุน่ ใหม่ห่างไกลยาเสพตดิ ๑๓. เย่ยี มบา้ นนกั เรียน
๑๔. กิจกรรม ๕ ส. ๕๘ ๖๕ องค์ประกอบที่ ๑๐ การสร้างสอื่ นวัตกรรม ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ ม ในการทำงานให้แก่นักเรียนและนักศกึ ษา ๖๕ ๑. การจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศความปลอดภัยสถานศกึ ษา
๑ ข้อมูลท่วั ไป ๑. ประวตั โิ รงเรยี นธรรมบวรวทิ ยา โรงเรียนธรรมบวรวิทยา ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๒๔ ที่บ้านคำบิด ตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร ในเนื้อที่ ๕๒ ไร่ ๓ งาน ๒๕ ตารางวา โดยความคิดริเริ่มของคณะกรรมการสภาตำบลคำบอ่ และความรว่ มมอื ร่วมใจของประชาชนในตำบลคำบอ่ ตำบลคอ้ เขียว และตำบลหนองลาด ด้านอาคารสถานที่โรงเรียนธรรมบวรวิทยาได้รบั บริจาคที่ดินเพื่อปลกู สร้างอาคารเรียนจากโรงเรียนบ้านคำ บิดโคกโพนยาง ส่วนอาคารเรียนนัน้ ทางสภาตำบลคำบ่อได้ดำเนนิ การปลูกสร้างให้โดยได้รับรปู แบบจากโรงเรียน โพนงามศึกษาอำเภออากาศอำนวย เป�นอาคารเรียนชั่วคราว ขนาด ๓ ห้องเรียน มีผู้บริจาคทั่วไปรวมเป�นเงิน ทง้ั สิน้ ๔๐,๔๕๑ บาท (สี่หมนื่ ส่รี ้อยห้าสบิ เอด็ บาทถว้ น) ๒. ทำเนยี บผ้บู รหิ าร นายคำนึง รายนาม ป� พ.ศ.ทีด่ ำรงตำแหนง่ นายทองจนั ทร์ อคั นิจ นายปริญญา พิลาวรรณ ๒๕๒๔ ถึง ๒๕๒๖ นายประมวล อนิ ทรศิษฏ์ ๒๕๒๖ ถึง ๒๕๓๖ นายชชั วาลย์ อนิ ทรศรี ๒๕๓๖ ถึง ๒๕๔๐ นายสถาพร ป้อมไชยา ๒๕๔๐ ถึง ๒๕๔๒ นายอานนท์ โชวส์ ูงเนิน ๒๕๔๒ ถึง ๒๕๔๖ นายไพบลู ย์ อนิ ทรพาณชิ ย์ ๒๕๔๖ ถึง ๒๕๕๕ นายสุบรรณ พจนา ๒๕๕๕ ถึง ๒๕๕๙ นายอังกรู นาสพัส ๒๕๕๙ ถึง ๒๕๖๒ บญุ รกั ษา ๒๕๖๒ ถึง ๒๕๖๔ ๒๕๖๔ ถึง ป�จจุบนั ๓. ตราประจำโรงเรยี นธรรมบวรวทิ ยา ตราประจำโรงเรียนธรรมบวรวทิ ยา
๒ ๔. ปรชั ญาของโรงเรียน มตตฺ า ธโี ร วิปลุ ํ สุขํ ความหมาย “นักปราชญผ์ ้มู องการณ์ไกล ยอ่ มมองเห็นประโยชนส์ ขุ ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์สขุ ส่วนตน” สีประจำโรงเรยี น เทา – ชมพู อักษรย่อ ธ.บ.ว. คติพจน์ของนกั เรียน “รกั เรียน เพียรทำดี มีวนิ ยั ” ต้นไม้ประจำโรงเรียน “ต้นสตั บรรณ” Alstania scholaris ( L.) R. Br. อตั ลักษณโ์ รงเรียน คนดี มคี วามรู้ เอกลักษณโ์ รงเรียน ยม้ิ ไหว้ ทกั ทายเปน� วสิ ยั ทศั น์โรงเรียน (VISION) “ บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล สืบสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ิ ด้วยนวัตกรรมนำสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานสากล เสรมิ สรา้ งทักษะบุคคลในยคุ Digital ” พันธกิจ (MISSION) ๑. พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสากล ผู้เรียนมีสมรรถนะ เป�นในยุคปจ� จุบนั และในอนาคต ๒. พัฒนาศกั ยภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มคี ุณภาพ โดยเนน้ การใช้นวัตกรรมในการจัดการเรียน การสอนและการพัฒนางาน ๓. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาลผนวกกบั การใชน้ วตั กรรมในการบริหารจัดการ สถานศึกษา ๔. พัฒนาอาคารสถานที่ ห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ เพื่อเป�นศูนย์การ เรยี นรู้ของนักเรียนและชมุ ชน ๕. พฒั นาระบบ ICT และสื่อเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการสอน ใหม้ ีคุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ ๖. น้อมนำแนวทางการพัฒนา สืบสานและต่อยอด โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริงานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน และศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๓ ๕. เป้าหมาย/ตัวชีว้ ัดความสำเร็จ ๑. นักเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและตามมาตรฐานสากล มีทักษะชีวิตท่ี จำเปน� ในยุคปจ� จุบันและในอนาคต ๒. นักเรียนทุกคน มีความรู้ความสามารถในการใชส้ ่ือเทคโนโลยี ทจ่ี ำเป�นต่อการพัฒนาตนเอง ๓. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทุกคน ได้รับการพัฒนาและมีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพมีนวัตกรรม ส่งเสริมในการจัดการเรียนการสอน ๔. สถานศกึ ษามรี ะบบและกระบวนการบรหิ ารจดั การที่มีคุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลและการมีสว่ น ร่วมของทกุ ภาคสว่ น ๕. สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาแหลง่ เรียนรไู้ ด้อย่างเหมาะสมสอดคล้องและสง่ เสรมิ ต่อการจัดการเรียนการสอน ๖. สถานศึกษามีการพัฒนา สืบสานและต่อยอดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ งานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียน และการจัดการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี เน้อื ทโ่ี รงเรยี นรวม ๕๒ ไร่ ๓ งาน ๒๕ ตารางวา ประกอบดว้ ยอาคารเรียนสง่ิ กอ่ สรา้ งดงั น้ี โดมอเนกประสงค์ ๑ หลงั อาคารเรยี นถาวร ๓ หลงั อาคารเรยี นกึง่ ถาวร ๑ หลัง โรงฝก� งานอตุ สาหกรรม/คหกรรม ๑ หลงั อาคารเกษตร ๑ หลงั อาคารหอประชมุ ๑ หลงั ปอ้ มยาม ๑ หลงั โรงอาหาร ๑ หลัง บา้ นพักครู ๔ หลัง บา้ นพักภารโรง ๑ หลัง ส้วมนกั เรยี น ๔ หลัง สนามฟุตบอล ๑ สนาม สนามวอลเลย์บอล ๑ สนาม สนามบาสเกตบอล ๑ สนาม สนามตะกร้อ ๑ สนาม หอถงั ประปาโรงเรยี น ๑ ถัง ถังเกบ็ นำ้ ฝน คสล. ๕ ถัง
๔ ๗. การบรหิ ารงาน รายช่ือคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ป�การศึกษา ๒๕๖๕ ๑. นายมาโนช ภษู าวิโศธน์ ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กรรมการผูแ้ ทนผ้ปู กครอง ๒. นายไพโรจน์ จนั ดา กรรมการผแู้ ทนครู กรรมการผู้แทนศษิ ย์เกา่ ๓. นางอรณุ รศั กัลยาไสย กรรมการผู้แทนองคก์ รชุมชน กรรมการผู้แทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ๔. นางประภาวี ปลงจติ กรรมการผูแ้ ทนพระภกิ ษสุ งฆ์ กรรมการผแู้ ทนพระภิกษุสงฆ์ ๕. นายนา แพงศรี กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ๖. นายสมาน วงศภ์ าคำ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๗. พระครสู ังวรธรรมวงศ์ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ ๘. พระครูสุตวงศ์ววิ ัฒน์ กรรมการและเลขานุการ ๙. ร.ต.ต.ประศาสน์ พนั ธโุ คตร ๑๐. นายบญุ เรือง ไชยพันธ์ ๑๑. นายไสว ขาวขนั ธ์ ๑๒. นายแหวนเพชร ภาวงศ์ ๑๓. นายคงเดช ภาวงศ์ ๑๔. นายสุดใจ สารสมัคร ๑๕. ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นธรรมบวรวิทยา
๕ คณะผบู้ รหิ าร นายองั กูร บญุ รักษา ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นธรรมบวรวิทยา กศ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ นายพนู ทวี ผิวบุญเรือง นางหทัย พจนา รองผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ กศ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ศษ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ โทร. ๐๙-๓๕๖๘-๐๘๐๘ โทร. ๐๙-๑๐๖๕-๐๕๓๗
๖ ๘. ขอ้ มูลครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรยี นธรรมบวรวิทยา ป�การศกึ ษา ๒๕๖๕ กลุ่มบริหารวชิ าการ ที่ ช่ือ - สกุล ตำแหนง่ หนา้ ท่ีพิเศษ หมายเลขโทรศัพท์ ๑ นางหทยั พจนา รองผอ./รองผอ.ชำนาญ รองผอู้ ำนวยการ ๐๙-๓๕๖๘-๐๘๐๘ ๒ นายธราเทพ เทบำรงุ การพเิ ศษ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ ๓ นางสาวนภาภรณ์ ขนั ละ ๔ นางอุลยั วรรณ นาโควงศ์ ครู/ครชู ำนาญการ หัวหน้ากลมุ่ บริหาร ๐๘-๐๗๔๘-๙๓๕๕ ๕ นางอริสา อรัญมาลา ๖ นางสาวงามงอน สมพินิจ วชิ าการ ๗ นางดวงจิต บุตรแดง ๘ นางสาวบศุ รากร ภเู รียนรมย์ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ - งาน DMC ๐๙-๒๔๓๙-๘๓๔๙ ๙ นางสาวธนัญญา พจนา ๑๐ นางทศั นยี ์ วงศป์ ระทมุ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ - งานหอ้ งสมุด ๐๘-๓๓๓๘-๕๙๓๓ ๑๑ นางวภิ าวดี เหมะธุลนิ ๑๒ นางสาวสิรพิ ัชร เจริญไชย ครู/ครชู ำนาญการ - งานหอ้ งสมุด ๐๘-๗๕๗๓-๗๕๐๐ ๑๓ นางสภุ าพร พันสทิ ธิ์ คร/ู ครู คศ.๑ - งานทะเบยี น ๐๘-๙๙๔๑-๒๐๔๔ ๑ นายสหสั ชยั อ่อนประทุม ครู/ครูชำนาญการ - งานหลกั สตู ร ๐๖-๔๑๙๘-๓๗๕๕ ๒ นางประภาวี ปลงจิต ๓ นายครรชติ หมะธุลนิ ครู/ครู คศ.๑ - งานวิจยั ๐๘-๒๓๙๒-๖๙๖๙ ๔ นางใจทิพย์ โคตรวิชา ๕ นางมงคล ศรีสำราญ ครู/ครู คศ.๑ - งานวดั ผล/เทยี บโอน ๐๘-๐๗๖๐-๓๘๗๗ ๖ นายวชิระ อนิ หา ๗ นางสาวนิละวัน คำผอง คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ - งานแนะแนว ๐๘-๗๙๔๕-๘๖๔๙ ๘ นายสายนั จันทะจอ้ ย ๙ นายนรสนิ ธ์ิ คำผอง ครู/ครูชำนาญการ - งานอุบัตเิ หตุ/กยศ. ๐๘-๑๐๕๗-๙๐๔๙ ครู/ครู คศ.๑ - งานวดั ผล ๐๙-๗๒๓๔-๒๖๓๙ ครอู ัตราจ้าง -งานทะเบียน ๐๘-๕๗๔๙-๙๘๔๒ กล่มุ บริหารทว่ั ไป ครู/ครูชำนาญการพิเศษ รก./รองผู้อำนวยการ ๐๘-๑๗๖๘-๓๐๙๕ กลุ่มบริหารทวั่ ไป ครู/ครูชำนาญการพเิ ศษ หวั หนา้ กลมุ่ บริหารทวั่ ไป ๐๙-๕๖๒๕-๑๕๒๔ ครู/ครชู ำนาญการพิเศษ - งานอาคารสถานที่ ๐๙-๘๑๐๑-๓๓๙๓ คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ - งานโภชนาการ ๐๙-๓๔๓๕-๒๐๐๘ ครู/ครูชำนาญการ - งานอาคารสถานที่ ๐๘-๔๗๙๗-๙๘๖๘ พนักงานธุรการ - งานธุรการ ๐๘-๐๒๑๒-๒๕๑๘ ลกู จ้างชวั่ คราว - งานแม่บา้ น ๐๘-๐๗๖๔-๐๐๖๗ ลกู จา้ งชวั่ คราว - นักการ ๐๖-๒๑๗๒-๑๔๐๕ ลกู จา้ งชั่วคราว - นกั การ ๐๙-๓๔๗๔-๖๖๓๙
๗ กลุ่มบริหารงานบคุ คล ท่ี ชือ่ - สกลุ ตำแหนง่ หนา้ ที่พิเศษ หมายเลขโทรศัพท์ ๑ นางอรุณรัศ กัลยาไสย ครู/ครูชำนาญการพเิ ศษ รก./รองผู้อำนวยการ ๐๘-๘๓๓๘-๒๘๔๘ กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล ๒ นางดารณี ฤทธิธรรม ครู/ครชู ำนาญการเิ ศษ หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารงาน ๐๘-๐๖๐๑-๔๗๔๘ บคุ คล ๓ นางดวงกมล อปุ สรรค์ ครู/ครชู ำนาญการ - งานส่งเสรมิ ฯ ๐๘-๗๒๓๒-๘๘๕๐ ๔ นางสาวรชั นกี ร วเิ ชียร คร/ู ครู คศ.๑ - งานรกั ษาวินยั ๐๙-๓๓๖๙-๗๙๓๑ ๕ นางสาวเนาวรตั น์ โคตรศรี ครผู ชู้ ่วย - งานส่งเสริมฯ ๐๙-๘๙๐๗-๓๒๖๙ กลมุ่ บริหารงบประมาณ ๑ นายพูนทวี ผิวบญุ เรอื ง รองผอ./รองผอ.ชำนาญ รองผอู้ ำนวยการ การพิเศษ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ ๐๙-๑๐๖๕-๐๕๓๗ ๒ นายไชยวรมนั รตั นะธานี คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มบริหาร งบประมาณ ๐๘-๙๘๘๘-๘๗๘๙ ๓ นางสาวรชั ดา สมนาม คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ - งานการเงิน ๐๙-๓๑๒๖-๑๘๔๖ ๔ นายณัฐวฒุ ิ เช้ือกลู คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ - งานพัสด/ุ สิง่ ก่อสร้าง ๐๘-๗๒๓๘-๘๓๖๓ ๕ ว่าท่ี ร.ต.สรุ พิน ขาวขันธ์ คร/ู ครูชำนาญการ - งานพสั ดุ ๐๙-๘๕๐๑-๙๕๒๖ ๖ นายชุมพล อรพล ครู/ครู คศ.๑ - งานแผนฯ ๐๘-๐๗๗๓-๕๗๓๘ ๗ นายรัฐกร คณุ บรุ าณ คร/ู ครู คศ.๑ - งานแผนฯ ๐๙-๐๘๕๘-๒๘๑๓ ๘ นางสาวณฐั วภิ า แพงวเิ ศษ ครผู ู้ช่วย - งานการเงิน ๐๖-๓๙๖๑-๕๔๙๔ ๙ นางสาวพรทิพย์ อักษร ครูผูช้ ่วย - งานจัดซ้ือ/จดั จ้าง ๐๙-๘๗๔๘-๓๗๕๑ กลมุ่ บริหารกจิ การนักเรียน ๑ นางนุชนภา ศรีสมสู ครู/ครชู ำนาญการพเิ ศษ รก./รองผูอ้ ำนวยการ ๐๘-๙๙๔๔-๗๒๗๙ กล่มุ บริหารกจิ การนักเรยี น ๒ นางทศั นยี ์ วงศป์ ระทุม คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ หัวหนา้ กล่มุ บริหารกิจการ ๐๘-๗๙๔๖-๘๖๔๙ นกั เรยี น ๓ นางสุมาลี เหมะธุลนิ คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ - งานอนามัย ๐๘-๖๒๒๓-๒๑๐๑ ๔ นางสุภาพร สุจรติ คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ - งานคุมประพฤติ ๐๘-๑๐๕๑-๖๒๓๕ ๕ วา่ ที่ ร.ท. พิชิตชยั เอ่ยี มพลู ครู/ครู คศ.๑ - งานประชาธิปไตย ๐๘-๗๑๑๑-๙๘๖๒ ๖ นายเจนณรงค์ ศรีจันทร์ คร/ู ครู คศ.๑ - งานระบบดูแลฯ ๐๖-๒๓๗๙-๗๖๑๔ ๗ นายนัทชัย สงค์ลำ คร/ู ครู คศ.๑ - งานป้องกันยาเสพติด ๐๙-๕๒๘๐-๗๖๔๙ ๘ นายอติ ผานะวงศ์ ครผู ชู้ ่วย - งานลกู เสือ ๐๙-๙๐๔๑-๒๓๓๓ ๙ นางสาวอรพรรณ นันจินดา ครผู ู้ช่วย - งานคุมประพฤติ ๐๖-๕๕๕๔-๔๑๙๗
๘ ขอ้ มูลครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา วทิ ยฐานะ ชาย หญิง รวม ผบู้ รหิ าร ชำนาญการพิเศษ ๒๑๓ ครู ชำนาญการพเิ ศษ (คศ.๓) ๔ ๑๑ ๑๕ ครู ชำนาญการ (คศ.๒) ๓ ๔ ๗ ครูคศ.๑ - ๒๒๔ ครผู ชู้ ว่ ย - ๔ ๖ ๑๐ รวมข้าราชการครู ๑๕ ๒๔ ๓๙ พนักงานราชการ - ๑- ๑ ลูกจ้างชั่วคราวและสนับสนนุ การสอน/ธุรการ - ๑๑๒ ลูกจ้างชว่ั คราว/นักการภารโรง - ๒- ๒ ลูกจา้ งชว่ั คราว/แมบ่ า้ น - - ๑๑ ลกู จ้างช่วั คราว/พนกั งานขับรถตู้ - -- รวมขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ๑๙ ๒๖ ๔๕ เปา้ หมายดา้ นหลกั สูตรและกระบวนการเรียนการสอน ๑. ครทู ุกคนมีแผนการจดั การเรยี นรทู้ ุกรายวชิ าท่ปี ฏบิ ตั ิการสอน ๒. ครูใช้เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหม่ๆ มาใชใ้ นการเรยี นการสอน ๓. มกี ารเรยี นการสอนที่เน้นนกั เรยี นเปน� ศูนย์กลาง ๔. นักเรยี นไดเ้ รียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ ๕. นักเรียนสำเรจ็ การศึกษามากขึน้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนมีป�ญหาน้อยลง ๖. โรงเรียนมีอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยซึ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนการสอนเพื่อยก ผลสัมฤทธขิ์ อง ผเู้ รยี น ๗. นักเรียนทีส่ ำเร็จการศกึ ษาสามารถสอบเพอ่ื ศึกษาต่อ หรอื ไปประกอบอาชีพได้ นโยบายของโรงเรียน ๑. ปรบั ปรุงพัฒนาบรเิ วณอาคารสถานทแ่ี ละวสั ดุอปุ กรณ์ ๒. พัฒนาพน้ื ท่บี ริเวณโรงเรยี นใหส้ ะอาดและร่มร่นื เหมาะตอ่ การเรียนการสอน ๓. ปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษาของนักเรียนทุกระดับชั้น มุ่งปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ๔. พัฒนาบุคคลาการของโรงเรียนให้เป�นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความ รับผิดชอบ ๕. ส่งเสริมให้โรงเรยี นเป�นแหล่งบริการชมุ ชน มีหนังสือในห้องสมุดให้เพยี งพอกับการคน้ คว้าหาความรู้ ด้วยตนเอง
๙ ๖. ส่งเสริม สนับสนุน ฝ�กอบรมนักเรียนให้ประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมอันดีงาม และเห็นคุณค่าของ วัฒนธรรมไทย ตลอดจนมกี ารอนรุ กั ษ์ ทำนบุ ำรุงฟ�นฟู พัฒนาและเผยแพรม่ รดกทางศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ๗. นำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้การเรียนการสอน มีห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ และศนู ย์สือ่ พัฒนาการเรียนการสอนให้มีคณุ ภาพ เปา้ หมายโรงเรียน เป้าหมายด้านโรงเรยี นและสถานศกึ ษา (อาคาร สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์) ๑. ดา้ นอาคารสถานที่และสงิ่ แวดลอ้ ม • ซ่อมแซมอาคารเรยี น อาคารประกอบ หอ้ งน้ำ ห้องส้วม สนามกีฬา • อาคารเรยี น อาคารประกอบ หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วม มคี วามสะอาดปราศจากขยะและส่ิงปฏกิ ูล • ปลูกและบำรงุ รกั ษาต้นไม้ ๒. ดา้ นสาธารณปู โภค • ใหบ้ ริการไฟฟา้ นำ้ ด่มื นำ้ ใช้อยา่ งพอเพยี ง ๓. งานชุมชนสมั พันธ์ • ใหบ้ รกิ ารชมุ ชนเรอ่ื งอาคารสถานทแ่ี ละยืมวสั ดคุ รภุ ณั ฑ์ ๔. งานบริการครแู ละนกั เรยี น • ให้บรกิ ารดา้ นโสตทัศนูปกรณ์ • ให้บริการดา้ นอนามัยและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น • ใหบ้ รกิ ารดา้ นโภชนาการ เป้าหมายดา้ นบคุ ลากร ๑. ส่งเสริมการจดั อบรมเพ่อื พฒั นาการปฏบิ ัตงิ านของครู ๒. สง่ เสริมความก้าวหนา้ ในวิชาชีพครู ๓. สนับสนุนการอบรมประชุมสัมมนาและศึกษาดงู าน ๔. สง่ เสริม สนบั สนุนการจดั ทำผลงานทางวิชาการ ๕. ส่งเสรมิ การจดั สวัสดกิ ารแก่ครู ๖. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ปลกู ฝ�งคณุ ธรรม ประเพณีและระเบียบวินยั แกค่ รู นักเรียน ๗. สง่ เสรมิ การรว่ มกิจกรรมศิลปวฒั นธรรม ประเพณที อ้ งถ่ินร่วมกับชมุ ชน ๘. ส่งเสรมิ ใหผ้ ูป้ กครองนกั เรยี น ชมุ ชน คณะกรรมการโรงเรยี น มีส่วนร่วมสนับสนนุ และพัฒนา การศกึ ษาของโรงเรียน ๙. พฒั นาสขุ ภาพและพลานามัยใหบ้ ุคลากรในโรงเรยี น ๑๐. พัฒนาเสริมสร้างความเปน� ประชาธิปไตย
๑๐ ระเบียบการใชส้ ถานท่ีโรงเรียนธรรมบวรวิทยา ๑. ผู้มีสิทธิ์ขอใช้หอประชุม ห้องโสตทัศนศึกษา (ห้องลีลาวดี) ได้แก่บุคลากรของโรงเรียนธรรมบวร วทิ ยา นกั เรียน หนว่ ยราชการ เอกชน ประชาชนทวั่ ไป ๒. ผทู้ ี่ขอใชห้ อประชมุ ห้องโสตทัศนศกึ ษา (หอ้ งลลี าวด)ี ตามข้อ ๑ จะตอ้ งใชเ้ พอ่ื การประชมุ การเรียนการสอน หรือจัดกิจกรรมอื่นๆ ทั้งนี้กิจกรรมที่จัดจะต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย ความสงบ เรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอันดี ๓. ผู้ที่ขอใช้หอประชมุ ห้องโสตทัศนศึกษา(ห้องลีลาวดี) ตามข้อ ๑ ต้องกรอกแบบฟอร์มขออนุญาตใชส้ ถานท่ี และ ต้องได้รับอนุญาตจากผู้อำนวยการโรงเรียนก่อนใช้ทุกครั้ง (ขอรับแบบฟอร์มได้ที่งานสารบรรณ กลุ่มบริหารงาน ทวั่ ไป) ๔. ผู้ท่ขี อใชห้ อประชุม หอ้ งโสตทัศนศึกษา (หอ้ งลลี าวดี) จะต้องจดั เตรยี มอุปกรณท์ ่ีจำเป�นสำหรับการ ประชุมมาดว้ ยตนเอง เวน้ แต่กรณีท่ีได้ประสานและร้องขอกบั เจ้าหน้าทไี่ ว้แล้ว ๕. ผ้ทู ข่ี อใชห้ อ้ งโสตทศั นศึกษา (หอ้ งลลี าวดี) ตามข้อ ๑ จะต้องไม่นำอาหารมารับประทานในห้องประชมุ ๖. ผูท้ ่ขี อใชห้ อประชุม ห้องโสตทศั นศกึ ษา (ห้องลีลาวดี) จะตอ้ งรกั ษาความสะอาดของสถานที่ทใ่ี ช้ ใน กรณที ี่ตอ้ งตดิ ปา้ ยหรอื ขอ้ ความใด ๆ ใหป้ ลดออกให้เรียบร้อย ๗. หากมีป�ญหาขัดข้องในการใช้อุปกรณ์ โปรดเรียกเจ้าหน้าที่ให้ดำเนินการแก้ไขให้ ผู้ที่ขอใช้อย่าทำ เองเพราะอาจเกิดความเสียหายแกอ่ ุปกรณ์นน้ั ๆ ได้ ข้อปฏิบตั ิของผปู้ กครอง ๑. เขา้ รว่ มการประชมุ ผู้ปกครองทุกคร้ังที่โรงเรยี นเชิญประชมุ ๒. ผู้ปกครองตอ้ งมาพบครูทุกครัง้ ท่ีทางโรงเรียนเชญิ ขอพบในเรือ่ งราชการต่างๆ ๓. ลงนามในใบลาของนักเรียนดว้ ยตนเอง ในกรณีทน่ี กั เรียนมคี วามจำเปน� ต้องลา หากมีความจำเป�นท่ี เร่งด่วนกรุณาแจ้งให้ครูทปี่ รึกษาทราบทางโทรศัพท์ ๔. หากมีความจำเป�นจะให้นักเรียนกลับบ้านก่อนเวลา โปรดแจ้งให้ทางโรงเรียนทราบล่วงหน้าเป�น ลายลกั ษณอ์ ักษรหรือผปู้ กครองมารับด้วยตนเอง ๕. ในวันหยุดหรือนอกเหนือจากเวลาเรียนไม่ควรอนุญาตให้นักเรยี นมาโรงเรียนโดยไม่มีหนังสือขออนุญาตจาก ทางโรงเรียน ๖. เมื่อนักเรียนกลับบ้านหรอื มาโรงเรยี นผิดเวลาท่คี วรจะเป�น โปรดแจ้งใหท้ างโรงเรยี นทราบ ๗. หากพบนักเรียนของโรงเรียนธรรมบวรวิทยาคนใดกระทำผิด หรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม กรุณา แจ้งใหท้ างโรงเรยี นทราบ ๑. โปรดแจ้งใหท้ างโรงเรียนทราบทุกครั้งกรณีท่ีเปลี่ยนที่อยู่หรอื เปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์ เพื่อความสะดวกในการตดิ ตอ่ ประสานงาน
๑๑ งานส่งเสริมสุขภาพอนามัยโรงเรยี น ปก� ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ระเบียบและการปฏบิ ตั กิ ารใช้หอ้ งพยาบาล ๑. นักเรียนถอดรองเท้าก่อนเขา้ หอ้ งพยาบาล ๒. บอกอาการปว่ ยแก่ผู้ดูแลห้องพยาบาล ๓. ลงชือ่ – สกุล ไวใ้ นแบบบนั ทกึ การเจบ็ ป่วย เพอ่ื เป�นสถติ ิ ๔. ผดู้ แู ลห้องพยาบาลต้องใหย้ าตามอาการเจ็บปว่ ย ๕. ถา้ นกั เรยี นนอนพักทเี่ ตียงนอน ใหว้ างกระเปา๋ ไว้ท่ีหวั เตียง ๖. เมอ่ื นอนพักอาการดขี ึน้ ให้กลับไปเรียนได้ ๗. จัดผ้าปูท่นี อน หมอน ผา้ หม่ ให้เรยี บรอ้ ย ๘. กรุณาอย่าสง่ เสยี งดงั งานประชาสัมพันธ์ งานประชาสัมพันธ์เป�นงานที่ช่วยเผยแพร่ชื่อเสียงเกียรติประวัติของโรงเรียนให้ บุคคลทั่วไปได้รับรู้โดยถือว่าทุกๆคนต่างก็มีส่วนในงานประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน ไม่ว่าจะเป�น ครู นักเรียน และนักการภารโรงท้งั นเี้ พือ่ ช่ือเสยี งท่ดี ีงามของเราชาว เทา-ชมพู หน้าท่ีและการดำเนินงาน ๑. เสนอความรู้ ข่าวสารต่างๆที่เป�นประโยชน์แก่บุคลากรในโรงเรียน โดยใช้สื่อเสียงตามสาย จดหมายข่าว วารสารและปา้ ยประกาศตา่ งๆ ๒. ใหบ้ รกิ ารตดิ ต่อสอบถามและให้ความรู้ สะดวกแก่ผูท้ ี่มาเยย่ี มชมโรงเรียนและผ้ปู กครองนักเรยี น ๓. เผยแพร่กจิ กรรมและเกียรติประวตั ิของโรงเรยี นแกบ่ ุคลากรในโรงเรียนและบคุ คลอื่น ๔. สรา้ งความศรทั ธา ความเช่อื ถอื และมีทศั นคตทิ ่ีดขี องผปู้ กครอง บคุ คลท่ัวไปให้มีต่อโรงเรยี น ๕. จดั ประชาสัมพนั ธ์ในรูปแบบต่างๆทุกคร้ังท่มี ีกจิ กรรมของโรงเรียน ๖. จัดทำจดหมายข่าวในรอบเดอื น หรอื วารสารภาคเรียนละ ๑ ฉบับ ๙. ผลงานดเี ดน่ ระดบั ชาตโิ ดยการบริหารของผบู้ ริหารคนปจ� จบุ นั ๑. นายอังกูร บุญรักษา ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน เป�นผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติในฐานะ บุคลากรดีเด่นของสภาฯ ประจำปพ� ุทธศักราช ๒๕๖๔ จากสภาผู้ปกครองและครปู ระเทศไทย ๒. โรงเรยี นธรรมบวรวิทยา การประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ออนไลน์( Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำป�งบประมาณ ๒๕๖๕ ไดร้ บั ผลการประเมนิ ระดับ AA คะแนน ๙๗.๘๐ อันดบั ที่ ๔ ผา่ น ๓. ผ่านการตรวจสอบคุณภาพและยกระดบั คุณภาพโรงเรียนดตี ้องมีทย่ี นื (ระดับ ๒ ดาว) การตดั สิน ผลงานการประกวดกิจกรรมการเรียนรู้ ภายใต้กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และคา่ นยิ มของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) ระดับเขตพืน้ ที่ ประจำป�งบประมาณ ๒๕๖๕
๑๒ ๔. นางหทยั พจนา ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรยี นธรรมบวรวิทยา ได้รับรางวลั ยอดนักการอ่าน ประเภทผ้บู รหิ าร ครู อาจารย์ ศกึ ษานเิ ทศก์ จากสมาคมห้องสมุดแห่งชาตปิ ระเทศไทย ๕. นางสาวบุษกร ออ่ นสุระทมุ นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาป�ท่ี ๓/๑ ได้รับรางวัลยอดนักการอา่ น ประเภท นกั เรยี น นักศกึ ษา จากสมาคมห้องสมดุ แหง่ ชาตปิ ระเทศไทย ๖. วงโปงลางศิลปภ์ ฮู อม โรงเรยี นธรรมบวรวิทยา ได้รบั รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับที่ ๒ การประกวดวง ดนตรีพืน้ เมอื ง ระดบั มธั ยมศกึ ษา จงั หวัดสกลนคร ประจำป� ๒๕๖๕ ๗. ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ ๑ เหรียญทอง (ระดับชาติ) รายการแข่งขัน วาดภาพด้วย โปรแกรม PAINT ประเภทบกพร่องทางด้านร่างกายไม่กำหนดช่วงชั้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ครง้ั ที่ ๗๐ ป�การศึกษา ๒๕๖๕ ๘. ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ ๒ เหรียญทอง (ระดับชาติ) รายการแข่งขัน การสร้างเกม สรา้ งสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ม.๑ - ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ระดับชาติ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ คร้ังท่ี ๗๐ ป�การศึกษา ๒๕๖๕ ๙. ไดร้ บั รางวลั เหรียญทอง (ระดบั ชาติ) รายการแข่งขัน การสรา้ งเกมสรา้ งสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ม. ๔ - ม.๖ งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ครงั้ ท่ี ๗๐ ป�การศึกษา ๒๕๖๕ ๑๐. ได้รับรางวัลเหรียญทอง (ระดับชาติ) รายการแข่งขัน การแข่งขันจิตรกรรมเทคนิคผสม MIXED MEDIA ม.๑ - ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ ๗๐ ป�การศึกษา ๒๕๖๕ ๑๑. ได้รบั รางวัลเหรียญทอง (ระดบั ชาติ) รายการแขง่ ขัน การแข่งขันวาดเสน้ DRAWING ม.๑ - ม.๓ งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ครงั้ ที่ ๗๐ ปก� ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ภาพประกอบผลงานดเี ดน่ ระดับชาติโดยการบรหิ ารของผู้บริหารสถานศึกษา
๑๓ โครงการประกวดดนตรพี นื้ เมืองวงโปงลางศิลป์ภฮู อม โรงเรียนธรรมบวรวิทยา ได้รบั รางวัลรองชนะเลศิ อันดับที่ ๒ การประกวดวงดนตรพี นื้ เมอื ง ระดับมธั ยมศึกษา จังหวดั สกลนคร ประจำป� ๒๕๖๕
๑๔ องคป์ ระกอบที่ ๑ นโยบายการรักษาความปลอดภยั ๑. สภาพบรบิ ท/สภาพปญ� หา สภาพบริบท/สภาพป�ญหา ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและ ประเทศชาติ มีวัตถุประสงคห์ ลักในการเสริมสร้างความม่ันคงในชีวิตของคนทุกชว่ งวัย จากภัยคุกคามในรูปแบบ ใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่ และภัยจากไซเบอร์ เป�นต้น แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) จึงได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง ทางการศึกษาที่เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีของโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ เป�นพลวัตท่ี ก่อให้เกิดความท้าทายในดา้ นการเปลีย่ นแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเนื่องจากการปฏิวัติดจิ ทิ ลั (Digital Revolution) ประเทศเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้ การติดกับดักประเทศที่มีรายได้ ปานกลาง ทศั นคติ ความเช่อื คา่ นิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของประชากรท่ปี รบั เปล่ียนไปตามกระแสโลกาภิ วัตน์ เป�นผลให้เกิดการเร่งแก้ไขป�ญหาทั้งยังเกิดภัยคุกคามต่อความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อ ประชาชน และประเทศชาติมีความซับซ้อนและรุนแรงมากขึ้น ซึ่งภัยในแต่ละด้านล้วนมีความสำคัญต่อการ พัฒนาประเทศกอปรกับนโยบาย Quick Win 7 วาระเร่งด่วน ข้อที่ ๑ ความปลอดภัยของผู้เรียน กระทรวงศึกษาธิการมองเห็นภยั ทีเ่ กิดแก่นกั เรียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ที่เกิดขึ้นซ้ำและส่งผลกระทบ ต่อสภาพร่างกายและจิตใจในหลายป�ที่ผ่านมา เช่น ภัยจากการคุกคามทางเพศ ภัยจากการกลั่นแกล้งรังแก (Bully) รวมถึงภยั ทเี่ กดิ จากโรคอุบัตใิ หม่ ไดแ้ ก่ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เป�นผลให้เปน� อปุ สรรคตอ่ การเรียนรู้และสวัสดภิ าพชวี ติ ของนกั เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป�น “การศึกษา ขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นพัฒนาระบบและกลไกใน การดแู ลความปลอดภยั ให้แก่ผู้เรยี น ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และสถานศกึ ษา จากภยั พบิ ตั ิและภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการมสี ขุ ภาวะที่ดี สามารถปรับตวั ต่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ สง่ เสรมิ ความปลอดภยั สร้างความมัน่ ใจให้สงั คมเพ่ือคุ้มครองความปลอดภยั แกน่ ักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการ ศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้การป้องกัน ดูแล ช่วยเหลือหรือเยียวยาและแก้ไขป�ญหา มีความเป�น เอกภาพ มขี ้อมลู สารสนเทศที่เปน� ระบบ สามารถแก้ไขปญ� หาและบรหิ ารจัดการความเสี่ยงได้อย่างยัง่ ยืนด้วยการ บรหิ ารจดั การตามมาตรการ ๓ ป ไดแ้ ก่ ปอ้ งกนั ปลกู ฝ�ง และปราบปราม ให้เกดิ ความปลอดภยั ให้มากทส่ี ุด และ ไมใ่ หเ้ กิดเหตุการณน์ ั้นซำ้ อีก เพ่ือสรา้ งความม่นั ใจและความเชื่อม่ันให้แก่นักเรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ผปู้ กครอง และประชาชนทว่ั ไปในการที่จะได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และเกิดความปลอดภัยอย่างมน่ั คงและยั่งยืน เพื่อให้แนวทางการปฏิบัติสอดคล้องและเป�นระบบ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดทำคู่มือการดำเนินงานความ ปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อเป�นแนวทางในการสร้างความปลอดภัยให้เกิดแก่นักเรียนเป�นสำคัญ เพราะความ ปลอดภยั เป�นป�จจยั ที่สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ คณุ ภาพและการเรียนรขู้ องผู้เรียน โรงเรียนธรรมบวรวิทยา ซึ่งเป�นโรงเรียนมัธยมประจำตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร ตระหนักถึงความสำคัญ ในการดำเนนิ งานทางการศึกษา ทมี่ ุง่ เน้นความปลอดภัยในสถานศึกษาตามยุทธศาสตร์ ชาติและนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น และได้
๑๕ เตรียมความพร้อมให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการเตรียมพร้อม ป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบ ต่าง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจาก ธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่และภัยจากไซเบอร์ จึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมที่สนองและขับเคลื่อนนโยบาย ดังกล่าวตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป�งบประมาณ ๒๕๖๕ ขึ้น ประกาศโรงเรียนธรรมบวรวิทยา เรอื่ ง นโยบายการรกั ษาความปลอดภัย ------------------------------------------------------------------------- เพอื่ ให้การบรหิ ารความปลอดภัยของโรงเรียนธรรมบวรวิทยา เปน� ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยมปี ระสทิ ธภิ าพ ในการให้บริการและการแก้ไขป�ญหา บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายความปลอดภัยในการเสริมสร้างความ ปลอดภัยให้แก่นักเรียน เนื่องจากโรงเรียนมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันนักเรียน ครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา ตลอดจนผูม้ าติดตอ่ ราชการปลอดภัยจากอุบัติเหตุ เหตุร้าย อุบตั ภิ ยั ภัยพิบตั ิ สง่ิ ทเ่ี ปน� อนั ตราย ทั้งต่อจิตใจ ชีวิตและทรัพย์สินของทางราชการ จึงประกาศนโยบายการรักษาความปลอดภัย โดยมีข้อปฏิบัติ ดงั นี้ ๑. ฝ่ายอำนวยการและบริหารท่วั ไป ดำเนินการ ดังนี้ ๑.๑. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ ที่อยู่ เบอร์โทรติดต่อของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน สถานีอนามัย โรงพยาบาล ตำรวจ หน่วยกู้ชีพองค์การบริหารส่วนตำบล หน่วยงาน ต้นสังกัด อำเภอ จังหวัด ศาล และที่เกี่ยวข้องเพื่อการติดต่อประสานงาน การส่งต่อได้ทันท่วงที และใหป้ รากฏ ไดช้ ัดเจนไว้ในที่ตา่ ง ๆตามความเหมาะสม ๑.๒. จดั ทำรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรยี น ๑.๓. งานอาคารสถานที่ สำรวจตรวจสอบห้องเรียนอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องปฏิบัตกิ าร ห้องพเิ ศษ หอ้ งนำ้ ห้องสว้ ม แหล่งเรียนรู้อุปกรณ์สนามเดก็ เล่น สนามกีฬา อุปกรณ์เครื่องเล่น กีฬา พัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ โดยรอบบริเวณโรงเรียนเป�นประจำทุกวัน ให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง หากพบว่า วสั ดอุ ปุ กรณต์ า่ งๆ ท่ีอาจเกิดอนั ตราย ให้แจง้ ฝ่ายบรหิ ารทราบทนั ทีและดำเนินการซ่อมแซมให้เปน� ทีเ่ รียบร้อย ๑.๔. สำรวจตรวจสอบเครื่องตัดหญ้า รถตัดหญ้า อุปกรณ์ตัดหญ้า ให้อยู่ในสภาพที่มั่นคง แข็งแรง ใบมีด ทำด้วยเหล็กเหนียว หากพบว่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ชำรุด ให้แจ้งฝ่ายบริหารทราบทันทีและ ดำเนินการซ่อมแซมให้เป�นที่เรียบร้อย กรณีการตัดหญ้าให้ใช้ความระมัดระวังไม่ประมาทเลินเล่อ ควรเลือก เวลาท่ีปลอดภัย เช่น หลังเลกิ เรยี นหรือวนั หยุดเสาร์ – อาทิตย์ เพ่ือปอ้ งกนั การเกิดอุบตั เิ หตุ
๑๖ ๑.๕. ตรวจตรา ตรวจสอบ สายไฟฟา้ ระบบไฟฟ้า เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทุกชนิด ระบบประปาท้ัง ในอาคารเรียนนอกอาคารเรียน บรเิ วณโรงเรียนเป�นประจำทกุ วนั ๑.๖. เฝ้าระวงั สำรวจ ตรวจสอบ ป้องกนั แกไ้ ข เรอื่ งมลภาวะทเ่ี ปน� พิษ ท่อี าจเกดิ ข้ึนและ เป�นอันตรายต่อสุขภาพ วตั ถทุ ่ีเป�นอนั ตราย เช่น ระเบดิ อาวธุ สารพิษ แก๊สพษิ สง่ิ แปลกปลอม เศษแก้ว เศษ ตะปู โดยติดตอ่ ประสานงานผู้นำชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ผู้ปกครองนกั เรยี น หน่วยงานท่ี เก่ียวขอ้ งเพอื่ ดำเนินการแก้ไขให้ทนั ท่วงทีและแจง้ ให้ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาทราบดว้ ย ๑.๗. หากสำรวจพบว่า อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า ระบบประปา ชำรุดเสียหาย และสุดวิสัย ทไี่ ม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้ทนั ท่วงที ใหน้ ักการภารโรงจัดทำแนวกน้ั จัดทำปา้ ยเตือนประสาน ครูเวรให้แจ้งเตือนนักเรียนให้ระมัดระวังไม่เข้าใกล้ และรีบดำเนินการแก้ไขให้แล้วเสร็จในระยะเวลาที่เร็วท่ีสดุ และแจ้งใหผ้ ูบ้ ริหารทราบ ๒. ฝา่ ยบริหารกิจการนักเรียน ดำเนินการ ดังน้ี ๒.๑. ครูเวรประจำวันดูแลนักเรียนที่มาถึงโรงเรียนในตอนเช้า คัดกรองนักเรียน ณ จุดคัด กรองมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อยา่ งเครง่ ครดั ตรวจนับ นักเรียนทั้งไป-กลับ ควบคุมการทำความสะอาดห้องเรียนเขตรับผิดชอบ กิจกรรม หน้าเสาธง ตรวจสุขภาพ ประจำวัน การรับประทานอาหาร กิจกรรมก่อนเข้าเรียนภาคบ่าย กิจกรรมก่อนปล่อยนักเรียน ปฏิบัติตนตาม มาตรการป้องกันการกลับบ้านโดยควบคุมตรวจตรา ตรวจสอบความผิดปกติของนักเรียน หากพบป�ญหาให้ ประสานงานครทู ป่ี รึกษาและผ้ปู กครอง เพ่อื ทำการแกไ้ ขและแจง้ ใหผ้ ู้บริหารสถานศกึ ษาทราบทนั ที ๒.๒. ครูที่ปรึกษาทำหน้าที่ครูแนะแนว ให้คำปรึกษา จัดทำระเบียนสะสม ระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ให้นักเรียนในชั้นเรียนที่ได้รับมอบหมาย ให้ความรักความเอาใจใส่ เอื้ออาทร พัฒนา นักเรียนให้เต็มศักยภาพ โดยการสนทนาซักถาม ควบคุม กำกับ ติดตามอยู่เสมอ หากพบความผิดปกติหรือ การเปล่ียนแปลงของนักเรียน ใหด้ ำเนนิ การให้ความชว่ ยเหลอื ทนั ทพี รอ้ มทง้ั แจ้งผู้บริหารสถานศึกษาทราบ ๒.๓. ครูเวรประจำวัน และครูที่ปรึกษา ติดตามดูแลเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติด ใหโ้ ทษ พฤตกิ รรมเสี่ยงดา้ นการพนัน อบายมขุ ตา่ ง ๆ พฤติกรรมเส่ยี งดา้ นชู้สาว พฤติกรรมเสีย่ งปญ� หาทางเพศ พฤตกิ รรม เสี่ยงการเลน่ เกมและอินเตอร์เน็ต พฤติกรรมเสย่ี งการทะเลาะวิวาท และถกู เอารดั เอาเปรียบ การ ถูกรงั แกถูกละเมิด ทางรา่ งกายและจิตใจ หากพบความผิดปกตใิ ห้ดำเนนิ การช่วยเหลือ ประสานงานผู้เก่ียวข้อง และแจง้ ให้ผ้บู ริหารทราบ ๒.๔. ครูเวรประจำวัน ตรวจสอบการประกอบอาหารกลางวัน การจำหน่ายสินค้าของร้านค้า ผคู้ า้ ทั้งในสถานศึกษาและโดยรอบสถานศกึ ษา เนน้ ย้ำใหน้ ักเรยี นได้บริโภคอาหารท่สี ะอาดปลอดภัยมีประโยชน์ และประสานงานขอความร่วมมือร้านค้า ผู้ค้า ให้จำหน่ายสินค้าที่ดีมีคุณภาพ ถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย และนโยบายของโรงเรยี น ๓. ฝ่ายบรหิ ารงานบคุ ลากร ดำเนนิ การ ดังนี้ ให้ผู้ที่ได้แต่งตั้งเป�นเจ้าหน้าที่เวรรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการตามระเบียบว่าด้วยการ รักษา ความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยเคร่งครัดหากผู้ใดได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้เดินทางไป ราชการนอกท้องที่อำเภอ หรือจังหวัด หรือได้รับอนุญาตให้ลาตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลา
๑๗ ของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ และจะต้องจัดหาเจ้าหน้าทีใ่ นโรงเรียนธรรมบวรวิทยาให้ผู้อื่น ให้ปฏิบัตหิ น้าท่ีอยู่ เวรแทนแล้วแจง้ ให้ ผู้บงั คับบญั ชาทราบหากผู้ใดที่ปว่ ยและวนั ท่ีป่วยตรงกับวันที่ที่จะปฏิบัตหิ น้าท่ีรักษาเวรรักษา ความปลอดภยั และการปว่ ยน้นั ยงั สามารถทีจ่ ะแจง้ ใหผ้ ู้บังคับบญั ชาทราบว่าตนได้ปว่ ย และไมส่ ามารถจะปฏิบัติ หน้าทเ่ี วรรักษาความปลอดภัยสถานท่รี าชการได้ ใหผ้ ู้น้ันแจ้งผบู้ งั คบั บัญชาหรอื ผ้ตู รวจเวรทราบโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ทีผ่ ู้บังคับบญั ชาหรอื ผตู้ รวจเวรจะพงึ ทราบได้เพ่ือพจิ ารณาวินจิ ฉยั สง่ั การต่อไป ๔. ครูผู้สอนและหรือครูท่ีได้รับแต่งตั้งควบคุมนักเรียนไปทำกิจกรรมทัง้ ในและนอกสถานที่ การไปทัศน ศึกษา การอยคู่ า่ ยพักแรมลกู เสอื -เนตรนารี กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์ การไปเขา้ ค่าย การไปรว่ มกิจกรรม การ ไปแข่งขัน จัดทำประวัติป้ายชื่อแสดงรายละเอียดของนักเรียน กำกับควบคุมดูแล เอาใจใส่ รักษาความ ปลอดภัยให้แก่นักเรียนอย่างเต็มความสามารถ หากเกิดอุบัติเหตุอันตรายให้ดำเนินการแก้ไขและหรือนำ นักเรียนไปเข้ารับการรักษาโดยด่วน ตลอดทั้งประสานงานให้ผู้ปกครองหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและแจ้งให้ ผู้บรหิ ารทราบทนั ที จงึ ประกาศให้ทราบโดยทัว่ กนั ประกาศ ณ วันที่ ๑ เดอื น มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (นายองั กูร บุญรักษา) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนธรรมบวรวิทยา
๑๘ องค์ประกอบท่ี ๒ แผนเผชญิ เหตุ ๑. โรงเรยี นธรรมบวรวทิ ยาจัดทำแผนเผชญิ เหตุตามมาตรการปอ้ งกัน โรงเรยี นธรรมบวรวิทยาจดั ทำแผนเผชิญเหตตุ ามมาตรการป้องกนั ตามระดับการการแพรร่ ะบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของสถานศึกษา กรณีหากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่ามีนักเรียน ครู หรือ บคุ ลากรทางการศึกษามีความเสย่ี งสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานท่ี วัสดุ อปุ กรณท์ างการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นที่ การสร้างการรับรู้ข่าวสารภายใน รวมทั้ง การคัดกรองเพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ตามที่กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ดังน้ี ระดบั การแพร่ระบาด มาตรการป้องกนั ไมม่ ีผตู้ ิดเชื้อ ไมพ่ บผูต้ ิดเช้ือยืนยัน ๑. ปฏิบตั ิตามาตรการ DMHTT ๑. เปด� เรยี น Onsite ๒. ประเมิน TST เปน� ประจำ ๒. ปฏบิ ตั ิตาม TST ไมพ่ บผู้ตดิ เชือ้ ยืนยนั ๑. ปฏบิ ตั ิตามาตรการ DMHTT ๑. เป�ดเรียน Onsite ๒. ประเมิน TST ทกุ วนั ๒. ปฏบิ ตั ิตาม TST พบผู้ตดิ เช้ือยนื ยนั ใน ๑. ปฏบิ ัตเิ ขม้ ตามมาตรการ DMHTT ๑. ปด� ห้องเรียนเม่อื พบผตู้ ิด ห้องเรยี น ๑ รายขนึ้ ไป เน้นใสห่ น้ากาก เว้นระยะห่าง เชอื้ ๓ วันเพือ่ ทำควาสะอาด ระหวา่ ง ๑ - ๒ เมตร ๒. เป�ดหอ้ งเรียนอนื่ ๆ ๒. ประเมนิ TST ทุกวนั Onsite ไดต้ ามปกติ ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ชัว่ โมง ๓. ส่มุ เฝา้ ระวงั Sentinel มผี ู้ตดิ เชื้อ กรณีใช้เครื่องปรับอาการ Surveillance ทกุ ๒ ประปราย ๔. กรณี High Risk Contact งดเรียน สปั ดาห์ Onsite และกกั ตัวทบี่ ้าน ๑๔ วัน ๔. ปฏบิ ัติเขม้ ตามมาตรการ ๕. กรณี Low Risk Contact ให้ TST Plus สังเกตอาการของตนเอง และปฏบิ ตั ิ ตามมาตรการของกระทรวง สาธารณสุข พบผ้ตู ดิ เชือ้ ยืนยนั ใน ๑. ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ DMHTT ๑. ป�ดหอ้ งเรยี นเมือ่ พบผู้ตดิ ห้องเรียน ๑ หอ้ ง เนน้ ใส่หน้ากาก เว้นระยะห่าง เชือ้ ๓ วันเพ่ือทำความ ระหว่าง ๑ - ๒ เมตร สะอาด มากกวา่ ตามอำนาจ ๒. ประเมนิ TST ทุกวัน การพจิ ารณาของกระทรวง ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ชว่ั โมง ศกึ ษาธิการ กรณใี ชเ้ คร่ืองปรบั อาการ ๒. ปฏิบัตติ ามมาตรการ TST Plus
๑๙ ระดับการแพร่ระบาด มาตรการป้องกนั มผี ตู้ ิดเชื้อเป�น กลมุ่ ก้อน ๑. ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ DMHTT ๑. พิจารณาการเปด� เรยี น มีการแพร่ เนน้ ใสห่ นา้ กาก เวน้ ระยะห่าง On site โดยเข้มตาม ระบาดใน ชุมชน ระหวา่ ง ๑ - ๒ เมตร มาตรการทุกมิติ ๒. ประเมนิ TST ทุกวนั ๒. สำหรบั พ้นื ท่รี ะบาดแบบ ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ชว่ั โมง กลุ่มก้อน พจิ ารณาป�ดโดย กรณีใชเ้ คร่ืองปรับอาการ คณะกรรมการควบคุมการ ๔. กรณี High Risk Contact งด แพรร่ ะบาดระดับพน้ื ที่ หาก เรยี น Onsite และกกั ตัวที่บ้าน มหี ลกั ฐานและความจำเปน� ๑๔ วนั กรณี Low Risk Contact ๓. สมุ่ เฝา้ ระวัง Sentinel ให้สังเกตอาการของตนเอง และ Surveillance ทุก ๒ สัปดาห์ ปฏิบัตติ ามมาตรการของกระทรวง สาธารณสุข ๑. ปฏบิ ตั ิเขม้ ตามมาตรการ DMHTT ๑. พิจารณาการเป�ดเรียน ๒. เฝา้ ระวังอาการเส่ยี งทุกวนั Self - On site โดยเขม้ ตาม Quarantine มาตรการทุกมิติ ๓. ประเมิน TST ทุกวนั ๒. สำหรบั พน้ื ทร่ี ะบาดแบบ กล่มุ ก้อน พจิ ารณาป�ดโดย คณะกรรมการควบคุมการ แพร่ระบาดระดบั พน้ื ที่ หาก มหี ลกั ฐานและความจำเป�น ๓. สมุ่ เฝ้าระวัง Sentinel Surveillance ทุก ๒ สปั ดาห์
๒๐ ๒. โรงเรยี นมกี ารจัดโครงสร้างบรหิ ารจดั การความปลอดภัยสถานศึกษา โรงเรียนมีการจัดโครงสร้างบริหารจัดการความปลอดภัยสถานศึกษา โรงเรียนจัดระบบโครงสร้างใน การบริหารจัดการความปลอดภัยสถานศึกษา มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ และมีการประสานความรว่ มมอื ของ คณะกรรมการภาคเี ครอื ข่าย คณะกรรมการสถานศึกษา สมาคมศษิ ยเ์ ก่า และหนว่ ยงานต้นสังกดั
๒๑ ๓. โครงการกล่มุ บรหิ ารท่วั ไป สง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการปฏบิ ตั ิงานฝ่ายบรหิ ารท่วั ไป - คำส่ังปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอาคาร
๒๒ ๔. รายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
๒๓ ๕. ภาพการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๖. ประชุมชี้แจงแนวปฏบิ ตั ขิ องแมค่ า้ ร้านค้า ในโรงเรียนธรรมบวรวิทยา
๒๔ องค์ประกอบท่ี ๓ มาตรการดา้ นการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ ๑. ดา้ นการปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตจุ ากอาคารเรยี น มีระบบป้องกนั และรักษาความปลอดภัยใหก้ บั นักเรยี น มกี ารจัดอาคารสถานที่ทส่ี ะดวกและปลอดภยั ใน โรงเรยี นอย่างทว่ั ถึง ๒. ดา้ นการปอ้ งกนั อุบัติเหตุจากบริเวณสถานศึกษามีการจัดเวรยามรกั ษาการณ์ท้ังภาคกลางวันและภาคกลางคนื
๒๕ คำส่ังแตง่ ตั้งครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติหน้าทเี่ วรรกั ษาการณภ์ าคกลางวัน ภาคกลางคนื ๓. ดา้ นการป้องกันอบุ ัติเหตุจากสภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา อำนวยความสะดวก สนบั สนุนการ ปฏบิ ัติงานของทกุ กลุ่มงานและสนบั สนุนผู้เรียนอยูเ่ สมอ มโี ครงการซ่อมแซม ปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ี ใหน้ า่ อยู่ นา่ ดู นา่ เรียนอย่เู สมอ
๒๖ โครงการสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการปฏบิ ัติงานฝ่ายบริหารทัว่ ไป ๔. ดา้ นการป้องกันอบุ ัติเหตุจากเครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้ อุปกรณ์ตา่ งๆ และในการจดั การเรียน การสอน โดยการ หมัน่ ตรวจเชค็ ซ่อมแซมอปุ กรณ์ เครือ่ งใชต้ ่างๆ อยเู่ สมอ
๒๗ ๕. ด้านการป้องกนั อบุ ัติเหตุจากการเดินทางไป - กลับ ระหว่างบา้ นถึงสถานศกึ ษา โรงเรยี นได้จดั ให้มีการ บริหารจัดการ ดา้ นความปลอดภยั บนทอ้ งถนน และการใช้ยานพาหนะอย่างปลอดภยั รณรงค์การป้องกัน อบุ ตั เิ หตุ โดยได้รบั ความรว่ มมือจากเจา้ หนา้ ทต่ี ำรวจจราจร และ นศท. จิตอาสา
๒๘ จัดโครงอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการส่งเสรมิ พัฒนางานจราจร และประชุมรถรบั -ส่ง เพือ่ สร้างความเขา้ ใจและความปลอดภัยให้กบั นกั เรียน
๒๙ ๖. ด้านการปอ้ งกนั อุบัตเิ หตุจากการพานักเรียนไปนอกสถานท่ี หากมกี ารนำนักเรียนไปตา่ งจงั หวดั โรงเรยี น จะมแี ผนดแู ลความปลอดภัยในการเดนิ ทางและปฏิบตั ิกจิ กรรมทุกคร้ัง และขออนุญาตผู้ปกครองทกุ คร้งั และ ปฏิบตั ิตามคู่มือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ๗. ดา้ นการปอ้ งกนั อุบตั เิ หตุจากการนำนักเรียนไปเข้าร่วมกจิ กรรมสำคญั ในการนำนักเรียนเข้ารว่ มกจิ กรรม สำคญั ตา่ งๆ มีการแจ้งครูทปี่ รึกษาและครปู ระจำวิชาทกุ ครั้ง และปฏิบตั ิตามคู่มือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
๓๐ องค์ประกอบท่ี ๔ มาตรการดา้ นการป้องกนั ภัยพิบตั ิ ๑. ดา้ นการป้องกนั อัคคภี ยั ทางสถานศึกษามีการบริหารจัดการด้านความปลอดภยั มีการตรวจสอบอปุ กรณ์ อัคคีภัย อย่างสมำ่ เสมอ จดั ตั้งเครอื่ งดบั เพลงิ และอปุ กร์การดบั เพลิงอย่างเพยี งพอ และบำรงุ รักษาให้พร้อมท่จี ะ ทำงานได้ทันที
๓๑ ๒. ดา้ นการปอ้ งกนั อัคคีภยั / วาตภยั / อุทกภัย ทางสถานศึกษามีการบริหารจดั การด้านความปลอดภยั มีการ ตดิ ตงั้ กลอ้ งวงจรป�ด จัดเวรรกั ษาการณ์ และสามารถดอู อนไลน์ได้ตลอดเวลาเม่อื เกิดเหตุการณ์ข้ึน
๓๒ ๓.ทางสถานศึกษามกี ารบรหิ ารจัดการดา้ นความปลอดภัย มีการจัดเวรยาม อยา่ งเคร่งครัด ในเวลากลางคนื เพอ่ื ระวงั ภัยรว่ มกัน ตลอดจนปลกู จติ สำนึกในความเปน� เจา้ ของทรพั ย์สินทางราชการ
๓๓ องค์ประกอบที่ ๘ มาตรการด้านการปอ้ งกันและแกไ้ ขป�ญหาทางสังคม มาตรการดา้ นการป้องกันและแกไ้ ขปญ� หายาเสพตดิ ๑.การป้องกันปญ� หายาเสพติด มีการจดั กิจกรรม โครงการอบรมให้ความรตู้ ่อต้านยาเสพติด ๒. รายงานทะเบยี นกำลังพลยาเสพตดิ
๓๔ ๓. รายงาน MOE Safety Center
๓๕ ๔. ระบบดูแลและตดิ ตามการใชส้ ารเสพติดในสถานศกึ ษา โรงเรยี นธรรมบวรวิทยา สพม.สกลนคร Care And Trace Addiction in School System (CATAS System)
๓๖ ๕. ดำเนนิ โครงการอบรมให้ความรู้ เยาวชนรุ่นใหม่ หา่ งไกลยาเสพติด และกจิ กรรมเดนิ รณรงค์ตอ่ ต้านยา เสพติด
๓๗
๓๘ ๖. อบรมแกนนำนกั เรยี นสถานศึกษาสีขาว ๗. การสง่ เสริมและคุ้มครองสทิ ธแิ ละเพศสภาพในสถานศึกษา
๓๙ หากมีกจิ กรรมของโรงเรียนหรอื ชมุ ชน โรงเรยี นจะสง่ เสรมิ ความเสมอภาคระหว่างเพศ ส่งเสรมิ ความ เท่าเทียมระหวา่ งเพศ ส่งเสรมิ การแสดงออกดา้ นความสามารถพิเศษ ดา้ นดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ ๘. การปอ้ งกันการตัง้ ครรภ์ในวัยรนุ่ โรงเรียนได้ดำเนนิ กจิ กรรมโครงการวัยเรยี นวยั ใส รักอย่างไรไมใ่ หเ้ สยี่ ง โดยมีวิทยาการนักวิชาการ สาธารณสุขจากโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลบ้านคำบิด ต.คำบอ่ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร มาให้ความรู้
๔๐
๔๑ องคป์ ระกอบที่ ๙ มาตรการความปลอดภยั อาชวี อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานให้ แก่นักเรียนและนกั ศึกษา ๑. การตรวจสขุ ภาพนักเรียน การตรวจสุขภาพนักเรยี นเปน� ประจำทุกป� มกี ารวัดความสงู ชั่งนำ้ หนกั วดั แรงบีบมอื วัดความอ่อนตัว วัดความดัน ตรวจสายตา ตรวจการได้ยนิ ตรวจชอ่ งปาก
๔๒ ๒. การตรวจสขุ ภาพโครงการฟน� สะอาด เหงอื กแข็งแรง การตรวจสุขภาพโครงการฟ�นสะอาด เหงือกแขง็ แรง โดยมเี จา้ หนา้ ที่โรงพยาบาลวารชิ ภูมมิ าอบรมให้ ความรู้แกน่ ักเรยี น พรอ้ มตรวจสขุ ภาพฟ�น
๔๓ ๓. กิจกรรมฟ�นสะอาดเหงอื กแขง็ แรง
๔๔ ๔. การฉดี วคั ซนี โควิด
Search