Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนบูรณาการขับเคลื่อนแผนปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ 66-70

แผนบูรณาการขับเคลื่อนแผนปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ 66-70

Description: แผนบูรณาการขับเคลื่อนแผนปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ 66-70

Search

Read the Text Version

สารบญั หนา้ ๑ บทท่ี ๑ บทนำ ๑๒ ๑.๑ หลกั การและเหตุผล ๑๓ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์ของแผน ๑๓ ๑๔ บทที่ ๒ การบรู ณาการขับเคลอื่ นแผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนแ์ ห่งชาติ ๑๕ ๑๖ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๗ ๒๔ หลกั การบรหิ ารงานคุณภาพ (Plan Do Check Act: PDCA) ๒๕ ๒๕ ๒.๑ การวางแผน (Plan) ๒๗ ๓๒ - ระบบการวางแผนร่วมระดบั ยทุ ธศาสตร์ ๓๓ ๓๕ - ระบบวางแผนการปฏบิ ตั กิ ารรว่ ม ๓๗ ๓๘ - ระบบวางแผนพฒั นาขีดความสามารถร่วม ๓๙ ๔๐ - ระบบงบประมาณ ๔๐ - การจดั ทำและเสนอแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ ๕ ปี และรายปีของส่วนราชการ ๔๒ ๒.๒ การปฏบิ ัติ (Do) ๔๓ - กลไกบริหารจดั การ ๔๔ - กลไกการขบั เคล่ือน - กลไกสรา้ งการรับรู้ - การรายงานผลการดำเนนิ การโครงการ ๒.๓ การติดตาม และประเมนิ ผล (Check) - แนวทางของการติดตาม และประเมินผลการดำเนนิ งาน ๒.๔ การทบทวน ปรบั ปรุง และพัฒนากระบวนการดำเนินงาน (Act) - แนวทางการทบทวน ปรบั ปรงุ และพัฒนากระบวนการดำเนนิ งาน บทที่ ๓ การแบ่งมอบหนว่ ยงานรับผิดชอบและแหล่งข้อมลู ๓.๑ แนวทางการดำเนนิ การที่ ๑ การฝกึ ศึกษาทางทหาร และการพัฒนาแผนทางทหาร ๓.๒ แนวทางการดำเนนิ การที่ ๒ การเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถ ดา้ นการปฏิบัติการรว่ ม การพัฒนาระบบการควบคมุ บังคับบัญชา และการปฏบิ ัติการท่ีใช้เครอื ข่ายเปน็ ศนู ย์กลาง (NCO) ๓.๓ แนวทางการดำเนนิ การที่ ๓ การเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถด้านการป้องกันประเทศของเหลา่ ทัพ ๓.๔ แนวทางการดำเนินการท่ี ๔ ระบบงานมวลชนเพ่ือการปอ้ งกันประเทศ ๓.๕ แนวทางการดำเนินการที่ ๕ แนวทางการปฏิบตั ภิ ารกิจป้องกนั ประเทศ ๓.๖ แนวทางการดำเนนิ การท่ี ๖ การสรา้ งความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กรอบงาน ความม่นั คงชายแดน ๓.๗ แนวทางการดำเนนิ การท่ี ๗ การปฏบิ ตั ภิ ารกิจรักษาสันตภิ าพ และการชว่ ยเหลือด้านมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ

บทท่ี ๑ บทนำ ๑. หลักการและเหตุผล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๖๕ บัญญัติให้มี การจดั ทำยทุ ธศาสตร์ชาติ เพ่อื เปน็ เป้าหมายการพัฒนาประเทศอยา่ งยง่ั ยืนตามหลักธรรมาภบิ าล และใช้เป็นกรอบ ในการจดั ทำแผนต่างๆ ใหส้ อดคล้องและบูรณาการกัน เพือ่ ใหเ้ กดิ เปน็ พลงั ผลักดันรว่ มกนั ไปสเู่ ปา้ หมายการพัฒนา ประเทศอย่างยั่งยืน ตอ่ มาจึงได้มีการปรับเปล่ียนกระบวนการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ นโยบาย แผนแม่บท และ แผนระดับชาติ เพื่อให้สอดรับกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ โดยคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐ มีมตเิ ห็นชอบการกำหนดแผนเป็น ๓ ระดบั มยี ทุ ธศาสตร์ชาติเป็นแผนระดบั ท่ี ๑ ซึ่งการแปลงยุทธศาสตร์ชาติไปสู่ การปฏิบัติจะดำเนินการผ่านการถ่ายระดับเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ชาติสู่แผนระดับที่ ๒ และแผนระดับที่ ๓ เพอื่ ให้เกดิ การดำเนินการต่างๆ ทม่ี ีความสอดคลอ้ งและเปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นแผนระดับที่ ๑ กำหนดขึ้นเพื่อเป็นเป้าหมายการพัฒนา ประเทศอย่างยั่งยืน โดยกำหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” และเปา้ หมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” ซ่ึ งมุ่งเน้น การสร้างสมดุลระหวา่ งการพัฒนาความมั่นคง เศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม โดยการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน ในรูปแบบ “ประชารฐั ” ซึ่งยุทธศาสตรช์ าติประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านความมั่นคง ๒) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ๓) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๔) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๕) ยุทธศาสตร์ชาติ ดา้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทเ่ี ป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และ ๖) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในหกด้านของยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งกำหนดขึ้นภายใต้ กรอบแนวคิด “ความมั่นคงแบบองค์รวม” โดยมีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชน มีความสุข” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรยี บร้อยในทุกระดับ มคี วามพรอ้ มสามารถรับมือกบั ภยั คุกคามและภัยพบิ ัติได้ทกุ รูปแบบ ควบคู่กับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงทีม่ ีอยู่ในปัจจุบันและที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยใช้กลไก การจัดการความม่ันคงแบบองค์รวม รวมถึงการเสริมสร้างความร่วมมอื ประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศท่วั โลก บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลสำเร็จอย่างเป็น รูปธรรม และเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านต่างๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทาง และเป้าหมายทก่ี ำหนดไว้ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงได้กำหนดจุดหมายปลายทางในภาพรวมที่เป็นรูปธรรมชัดเจนในระยะ ๒๐ ปี ได้แก่ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข” โดยมีเป้าหมายสำคัญ ประกอบด้วย (๑) ประชาชนอยู่ดี กินดี แผนบรู ณาการขับเคล่อื นแผนปฏิบัตกิ ารด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑

และมีความสุข (๒) บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ (๓) กองทัพหน่วยงานด้านความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปญั หาความมนั่ คง (๔) ประเทศไทยมีบทบาท ด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคมระหว่างประเทศ และ (๕) การบริหารจัดการ ความมนั่ คงมผี ลสำเร็จทีเ่ ป็นรปู ธรรมอย่างมีประสทิ ธิภาพ นอกจากนี้ การบรรลุเป้าหมายการดำเนินงานท่ีสำคัญของยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมั่นคง ได้จัดแบ่งออกเปน็ ๔ ห้วงการพัฒนา ห้วงละ ๕ ปี คือ ๑) ในช่วง พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ มุ่งดำเนินการ “ปรับสภาพแวดล้อม พร้อมแก้ไขปัญหา” ให้ปัญหาต่างๆ ที่อาจกระทบต่อความมั่นคงลดระดับลงอย่างมีนัยสำคัญ ๒) ในช่วง พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐ มุ่งดำเนินการให้ “ปัญหาเก่าหมดไป ปัญหาใหม่ไม่เกิด” เพื่อเอื้อต่อการบริหารประเทศ มากยิ่งขึ้น ๓) ในช่วง พ.ศ. ๒๕๗๑ – ๒๕๗๕ มุ่งดำเนินการ “ประเทศชาติพัฒนา ประชาชนร่วมผลักดัน” เพอื่ นำไปส่เู ป้าหมายสุดทา้ ย และ ๔) ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๗๕ – ๒๕๘๐ มงุ่ ดำเนนิ การ “ประเทศชาตมิ นั่ คง ประชาชน มีความสขุ ” อันเป็นเป้าหมายสำคัญของยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านความม่นั คง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง ดำเนินการโดยการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติจะดำเนินการ ผ่านแผนระดับที่ ๒ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคงโดยที่ผ่านมา ได้มีการมอบหมายหน่วยงานขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ เรื่อง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ ซึ่งได้กำหนดหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนแผน แมบ่ ทฯ ประเดน็ ความม่นั คง ดงั นี้ ๑) หน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนประเดน็ แผนแมบ่ ทฯ ประเด็นความมน่ั คง (จ.๑) คือ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ๒) หน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนเป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บท (จ.๒) คือ สำนกั งานสภาความม่ันคงแห่งชาติ และ ๓) หนว่ ยงานเจา้ ภาพขบั เคล่อื นเป้าหมายระดับของแผนยอ่ ย (จ.๓) แผนยอ่ ย เปา้ หมายแผนย่อย หน่วยงานเจ้าภาพขับเคล่อื น เป้าหมายระดับแผนยอ่ ย การรกั ษาความสงบ ประชาชนมคี วามมั่นคง ปลอดภยั ในชวี ิตและ (จ.๓) ภายในประเทศ ทรัพยส์ ินเพ่ิมข้ึน สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ คนไทยมคี วามจงรักภักดี ซ่ือสัตย์ พรอ้ มธำรง กระทรวงกลาโหม รกั ษาไว้ซ่ึงสถาบนั หลักของชาติ สถาบนั ศาสนาเป็นที่เคารพ ยึดเหน่ียวจิตใจของคน ไทยสงู ขน้ึ การเมืองมเี สถยี รภาพ และธรรมาภิบาลสูงขนึ้ สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ปัญหาความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน (เช่น สำนักงานสภาความมั่นคง ปัญหายาเสพติด ความมั่นคงทางไซเบอร์ แห่งชาติ แผนบรู ณาการขบั เคลื่อนแผนปฏิบัติการดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒

หนว่ ยงานเจา้ ภาพขบั เคลือ่ น แผนยอ่ ย เปา้ หมายแผนย่อย เปา้ หมายระดับแผนย่อย (จ.๓) การป้องกันและแก้ไข การคา้ มนุษย์ ฯลฯ) ได้รับการแก้ไขจนไม่ส่งผล ปญั หาที่มผี ลกระทบต่อ กระทบต่อการบริหารและพฒั นาประเทศ ความมน่ั คง ภาคใต้มคี วามสงบสขุ รม่ เย็นมากข้ึน กองอำนวยการรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร การพัฒนาศกั ยภาพของ หน่วยงานด้านการข่าว และประชาคมข่าวกรอง สำนกั ขา่ วกรองแหง่ ชาติ ประเทศให้พร้อมเผชญิ ทำงานอย่างมีประสิทธภิ าพเพ่ิมข้ึน ภัยคุกคามที่กระทบต่อ และแผนเตรยี มพร้อมแห่งชาติมีความทันสมัย ความม่ันคงของชาติ และปฏิบัตไิ ด้จรงิ กองทัพและหนว่ ยงานด้านความมัน่ คง กระทรวงกลาโหม มีความพร้อมสงู ข้นึ ท่ีจะเผชญิ ภยั คกุ คาม ทุกรปู แบบทุกมิติและทุกระดับความรนุ แรง การบูรณาการความรว่ มมือ ประเทศไทยมคี วามมั่นคง และสามารถรบั มือ สำนักงานสภาความมั่นคง ดา้ นความม่นั คงกบั อาเซียน กบั ความท้าทายจากภายนอกไดท้ กุ รูปแบบ แหง่ ชาติ และนานาชาติรวมทั้งองค์กร สูงขนึ้ ภาครัฐและมใิ ช่ภาครัฐ ประเทศไทยมีบทบาท เพมิ่ ข้ึนในการกำหนด กระทรวงการต่างประเทศ ทิศทางและส่งเสรมิ เสถยี รภาพของภมู ิภาค เอเชีย รวมทงั้ เปน็ ประเทศแนวหนา้ ในภมู ภิ าค อาเซียน การพฒั นากลไกการ กลไกบรหิ ารจดั การความมน่ั คง สำนกั งานสภาความมั่นคง บรหิ ารจดั การความมั่นคง มีประสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ แห่งชาติ แบบองค์รวม แผนระดับที่ ๒ ที่เกี่ยวข้องยังรวมถึงนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ แผนการปฏิรูป ประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ และแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติอนั เป็นผลมาจาก สถานการณ์โควิด - ๑๙ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางดำเนินการที่มีความสำคัญในการนำไปสู่ การจัดทำแผนระดับที่ ๓ ประกอบด้วย ๑) แผนปฏิบตั ิการด้าน ... ซึ่งเป็นแผนปฏิบัติที่เป็นแผนพัฒนาเชิงประเด็น (Issue-Based) และ ๒) แผนปฏิบัติราชการรายปี และ ๕ ปี โดยมีการระบุการดำเนินงาน/โครงการท่ีมี แผนบูรณาการขบั เคล่ือนแผนปฏบิ ตั ิการด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓

ความชัดเจนตามภารกิจของหน่วยงาน ซึ่งสนับสนุนการดำเนินงานของแผนระดับที่ ๒ และยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคงใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงในระยะที่ผ่านมา ยังมีข้อจำกัดอันเกิดจากการรับรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทฯ ประเด็นความมั่นคง การบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ความไม่ชัดเจนของเป้าหมายตัวชี้วัดระดับแผนย่อย การถ่ายทอดเป้าหมายตัวชี้วัดสู่การจัดทำ แผนระดับ ๓ ตลอดจนการจัดทำแผนงานและโครงการขาดความสอดคล้องตามหลักการความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (Causal Relationship : XYZ) รวมถึงข้อจำกัดด้านการติดตามประเมินผลการดำเนินงานอันเกิดจากความพร้อม ของข้อมูลที่จำเป็น ซึ่งส่งผลต่อการบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ในภาพรวม จึงได้มีการจัดทำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๘๐) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) ประเด็น (๐๑) ความมั่นคง เป็นกลไกที่สำคัญเพื่อนำไปสู่จุดหมายปลายทางในภาพรวมที่เป็นรูปธรรมชัดเจนตามท่ี ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมั่นคงกำหนด โดยใช้แนวคิด “ความมั่นคงแบบองค์รวม” ซึ่งได้ขยายขอบเขตความมั่นคง ของชาติให้ครอบคลุมเกี่ยวข้องกับมิติต่างๆ ในทุกองคาพยพ โดยจะเน้นการดำเนินการให้ “ปัญหาเก่าหมดไป ปัญหาใหม่ไม่เกิด” เอื้อต่อการบริหารประเทศมากยิ่งขึ้น รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานด้านความมั่นคง บูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ และพัฒนาปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการ และขับเคลื่อนงานด้านความมั่นคงของประเทศ ให้เอื้ออำนวยต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่นๆ ในการท่จี ะขบั เคล่ือนไปได้ตามทิศทางและเป้าหมายทก่ี ำหนด แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๘๐) (ฉบับแก้ไขเพมิ่ เตมิ ) ประเด็น (๐๑) ความม่นั คง กำหนดแผนยอ่ ยไว้ ๕ แผนย่อย ดังนี้ ๑. การรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อสร้างความสงบให้เกิดขึ้นในประเทศชาติบ้านเมือง เอื้อต่อ การบริหารและพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายที่กำหนด สังคมมีความเข้มแข็งสามัคคีปรองดอง ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข โดยมีแนวคิดในการดำเนินการที่สำคัญ คือ การสร้างความมั่นคงปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน สร้างความรักความสามัคคี ความสำนึกจงรักภักดี และความภาคภูมิใจในชาติ ให้เกิดขึ้นกับ ประชาชนทุกหมู่เหล่า ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขที่มีเสถียรภาพและธรรมาภิบาล เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน ตลอดถึง การพัฒนาปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ แผนย่อยด้านนี้จะรองรับ ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติด้านความมั่นคง ๔ ประเดน็ ได้แก่ (๑) การพฒั นาและเสรมิ สร้างคนในทุกภาคส่วน ให้มคี วามเขม้ แข็ง มคี วามพร้อมตระหนักในเร่ืองความมั่นคง และมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหา (๒) การพัฒนาและ เสริมสร้างความจงรกั ภักดตี ่อสถาบนั หลกั ของชาติ (๓) การพัฒนาและเสรมิ สร้างการเมืองในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขทม่ี ีเสถียรภาพและมธี รรมาภิบาล เห็นแกป่ ระโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่า ประโยชน์ส่วนตน และ (๔) การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุของประเด็นปัญหา ความมั่นคงที่สำคัญ สำหรับแนวทางการพัฒนาที่สำคัญ รวมทั้งสิ้น ๔ แนวทาง ประกอบด้วย (๑) การเสริมสร้าง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และความม่ันคงของมนุษย์ (๒) การเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ แผนบรู ณาการขับเคลอ่ื นแผนปฏิบัตกิ ารด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๔

ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๓) การพัฒนาการเมือง และ (๔) การสรา้ งความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ ๒. การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความม่ันคง เพื่อเร่งรัดดำเนินการแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคง ท่มี ีอยู่ในปจั จุบันอย่างจริงจัง ให้หมดไปในทส่ี ดุ พร้อมทัง้ พฒั นากลไกเฝ้าระวัง แจ้งเตือน ปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหา ด้านความมั่นคง ที่อาจจะเกิดขึ้นใหม่อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งอาณาเขตและเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชาติ ความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อยของประชาชน และการพัฒนาประเทศ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย โดยมีแนวคิดในการดำเนินการที่สำคัญ คือ การวิเคราะห์และระบุสาเหตุที่แท้จริง ของปัญหาในแต่ละเรื่องให้ชัดเจน วางแผนบูรณาการในการแก้ไขปัญหาตามลำดับความเร่งด่วนของปัญหา มีการติดตามตรวจสอบที่เป็นรูปธรรม ตลอดจนพัฒนากลไกในการเฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหา ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและอาจจะเกิดขึ้นใหม่ ให้ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ แผนย่อยด้านนี้จะรองรับประเด็น ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ๔ ประเด็น ได้แก่ (๑) การแก้ไขปัญหาความมั่นคงในปัจจุบัน (๒) การติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่อาจอุบัติขึ้นใหม่ (๓) การสร้างความปลอดภัยและความสันติสุขอย่างถาวรในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (๔) การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งทางบกและทางทะเล โดยมีแนวทางการพัฒนาที่สำคัญ รวมทั้งสิ้น ๑๖ แนวทาง ประกอบด้วย (๑) การป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด (๒) การป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์ (๓) การป้องกันและแก้ไขปัญหา การคา้ มนุษย์ (๔) การบรหิ ารจัดการผู้หลบหนีเข้าเมือง (๕) การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการก่อการร้าย (๖) การป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย (๗) การป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ (๘) การเฝ้าระวังและป้องกันประเด็น ทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง (๙) การป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (๑๐) การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (๑๑) การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติพื้นที่ชายแดน (๑๒) การรักษาความม่ันคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (๑๓) การพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคงและช่วยเหลือ ประชาชน (๑๔) การพิทักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๑๕) แผนตาบล มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และ (๑๖) การแก้ไขปัญหาความมนั่ คงเฉพาะกรณี ๓. การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ เพื่อยกระดับ ขีดความสามารถของกองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคงทั้งระบบของประเทศให้มีความพร้อมในการป้องกัน และรักษาอธิปไตยของประเทศ สามารถติดตาม แจ้งเตอื น ปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหา และรับมือกับภัยคุกคาม รวมท้ังปัญหา ทอ่ี าจกระทบต่อความมั่นคงในทุกมิติ ทุกรปู แบบ และทุกระดับความรุนแรง ตลอดถึงสามารถพทิ ักษร์ ักษาไว้ซ่ึงสถาบัน พระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งอาณาเขตและเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิและ ผลประโยชน์ของชาติ ความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อยของประชาชน และการพัฒนาประเทศ ได้ตาม ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอย่างมีประสิทธิภาพตามบทบาทหน้าที่ที่กำหนด โดยมีแนวคิดในการ ดำเนินการที่สำคัญ คือ พัฒนาระบบงานด้านการข่าวกรองให้มีประสิทธิภาพ สามารถติดตาม แจ้งเตือน ระงับยับยั้ง ป้องกันปัญหาและภัยคุกคามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนจะเกิดเหตุการณ์หรือเหตุการณ์จะลุกลามต่อไป ในขณะเดียวกัน จะต้องมีแผนในการพัฒนาศักยภาพกองทัพ และหน่วยงานด้านความมั่นคง ทั้งคน เครื่องมือ/ แผนบรู ณาการขบั เคล่อื นแผนปฏบิ ัตกิ ารด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๕

ยุทโธปกรณ์ แผนปฏิบัติการ ตลอดจนการฝึกและระบบการบริหารจัดการ ให้มีความพร้อมอย่างเพียงพอ และเป็นรูปธรรม ในการเผชิญกับภัยคุกคามต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เช่น ภัยจากการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ตลอดจนสาธารณภัยและภัยพิบัตติ ่างๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งจัดทาแนวทางในการบริหารจัดการ และ/หรือ แผนปฏิบัติการในการเผชิญกับภัยคุกคามแต่ละมิติให้เป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ แผนย่อยด้านนี้จะรองรับ ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ๓ ประเด็น ได้แก่ (๑) การพัฒนาระบบงานข่าวกรองแห่งชาติแบบบูรณาการ อย่างมีประสิทธิภาพ (๒) การพัฒนาและผนึกพลังอำนาจแห่งชาติ กองทัพและหน่วยงานความมั่นคง รวมท้ังภาครัฐ และภาคประชาชน ให้พร้อมป้องกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ และเผชิญกับภัยคุกคามได้ทุกมิติทุกรูปแบบ และทกุ ระดับ และ (๓) การพัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคามให้มีประสิทธภิ าพ โดยมี แนวทางการพัฒนาที่สำคัญ รวมทั้งสิ้น ๕ แนวทาง ประกอบด้วย (๑) การพัฒนาระบบงานข่าวกรองแบบบูรณาการ (๒) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ (๓) การพัฒนาศักยภาพของประเทศด้านความมั่นคง (๔) การปกป้อง อธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ และ (๕) การเสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือทางการทหารกับประเทศ เพื่อนบา้ น มิตรประเทศ และองค์การนานาชาติ ๔. การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมทั้งองค์กรภาครัฐและมิใช่ ภาครัฐ เพื่อสร้างความสงบ สันติสุข ความมั่นคงและความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศชาติ ภูมิภาค และโลก อยา่ งย่งั ยืน ตลอดถึงให้สามารถรว่ มกันป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจเกดิ ขนึ้ ดว้ ยแนวทางสันติวธิ ีอย่างย่ังยืน โดยมี แนวคิดในการดำเนินการที่สำคัญ คือ อาศัยการสร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดีในทุกระดับและทุกด้านกับนานาประเทศ ส่งเสรมิ ความเปน็ ปึกแผน่ ของประชาคมอาเซียน พรอ้ มยึดมน่ั ในหลกั ความเป็นแกนกลางของอาเซยี นอย่างต่อเนื่อง และจริงจัง รวมไปถึงการเสริมสร้างความร่วมมือกับทุกประเทศให้การดำเนินการต่างๆ เป็นไปตามหลักกฎหมาย และหลกั การสากล บนพนื้ ฐานของความสมั พันธ์ทดี่ รี ะหว่างประเทศ ทงั้ นี้ แผนยอ่ ยดา้ นนี้จะรองรบั ประเด็นภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ๒ ประเด็น ได้แก่ (๑) การเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่าง ประเทศ และ (๒) การเสริมสร้างและธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค สำหรับแนวทางการพัฒนา ที่สำคัญ รวมทั้งสิ้น ๓ แนวทาง ประกอบด้วย (๑) การเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่าง ประเทศ (๒) การเสริมสร้างและธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และ (๓) การร่วมมือทางการ พฒั นากับประเทศเพอื่ นบา้ นภมู ิภาค โลก รวมถึงองค์กรภาครฐั และท่ีมใิ ช่ภาครัฐ ๕. การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้มีกลไกในการแก้ไข ปัญหา ตลอดจนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงที่เป็นรูปธรรม โดยมีแนวคิดในการดำเนินการ ที่สำคัญคือการปรับโครงสร้าง บทบาท อำนาจหน้าที่ และระบบการบริหารจัดการของสำนักงานสภาความมั่นคง แหง่ ชาติ กองอำนวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) และศูนยอ์ ำนวยการรักษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล (ศรชล.) ให้มปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน ทงั้ นี้ แผนย่อยด้านนจ้ี ะรองรบั ประเดน็ ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง ๓ ประเด็น ได้แก่ (๑) การพัฒนากลไกให้พร้อมสาหรับการติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแกไ้ ขปญั หาความมน่ั คงแบบองค์รวมอย่างเป็นรูปธรรม (๒) การบริหารจดั การความม่นั คงให้เอื้ออำนวยต่อการ พฒั นาประเทศในมติ ิอื่นๆ และ (๓) การพัฒนากลไกและองค์กรขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมั่นคง สำหรับ แผนบูรณาการขบั เคลอื่ นแผนปฏบิ ตั กิ ารด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๖

แนวทางการพัฒนาที่สำคัญ รวมทั้งสิ้น ๓ แนวทาง ประกอบด้วย (๑) การบูรณาการกลไกการบริหารจัดการ ความมนั่ คง (๒) การบรู ณาการขอ้ มลู ด้านความมัน่ คง และ (๓) การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นความม่ันคง สำหรับแผนย่อย การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ ได้กำหนดเป้าหมายให้หน่วยงานด้านการข่าวและประชาคมข่าวกรองทางานอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น กองทัพ และหน่วยงานดา้ นความมั่นคงมีความพร้อมสูงขึ้นทีจ่ ะเผชิญภัยคุกคามทุกรูปแบบทุกมติ ิและทุกระดับความรุนแรง จึงต้องพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ เป็นการยกระดับ ขีดความสามารถของกองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคงทั้งระบบของประเทศ ให้มีความพร้อมในการป้องกัน และรกั ษาอธปิ ไตยของประเทศ ตลอดถึงการพทิ กั ษร์ ักษาไวซ้ ่ึงสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ เอกราช อธิปไตย บรู ณภาพ แห่งอาณาเขตและเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชาติความมั่นคงของรัฐ และ ความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน รวมถงึ การพัฒนาประเทศ ตามที่บญั ญัติไวใ้ นรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย รวมทั้งสามารถติดตาม แจ้งเตือน ป้องกัน แก้ไขปัญหา และรับมือกับภัยคุกคาม ตลอดจนปัญหาที่มีผลกระทบต่อ ความมั่นคงในทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้อย่างบูรณาการ และมปี ระสิทธิภาพตามบทบาทหน้าที่ท่ีกำหนด โดยมีกระทรวงกลาโหม เป็นเจ้าภาพการดำเนินการในภาพรวม แผนย่อยดา้ นนี้เปน็ เสมือนแผนเตรยี มการ/พัฒนาขดี ความสามารถของหน่วยงานดา้ นความม่นั คงให้พร้อม ที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงในมิติต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงนับว่ามีความสำคัญเป็น อย่างยิ่ง เพราะหากไม่ได้รับการพัฒนาตามแผนและแนวทางที่กำหนดแล้ว ก็จะทำให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาด้าน ความมั่นคงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเทศชาติก็จะตกอยู่ในความเสี่ยงและเกิดอันตรายได้ โดยมี รายละเอียด การดำเนินการของแต่ละแนวทางการพัฒนา เป้าหมายและตัวชี้วัด ของทั้ง ๕ แนวทางการพัฒนา ดังต่อไปนี้ รหัส เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ดั ปี ๒๕๖๖ - ค่าเปา้ หมาย ปี ๒๕๗๖ - เปา้ หมาย หนว่ ยงานด้านการข่าว ประสทิ ธิภาพของ ๒๕๗๐ ปี ๒๕๗๑ - ๒๕๘๐ ๐๑๐๓๐๑ และประชาคมขา่ วกรอง หนว่ ยงานดา้ นการข่าว ทำงานอยา่ งมี และประชาคม ไม่นอ้ ยกว่า ๒๕๗๕ ไม่นอ้ ยกวา่ ๐๑๐๓๐๒ ประสิทธภิ าพเพม่ิ ข้นึ ขา่ วกรอง ๙๐ ไมน่ อ้ ยกว่า ๙๕ (คะแนน ภายในปี กองทัพและ ๒๕๗๐/๒๕๗๕/๒๕๘๐) ไม่เกนิ ๙๐ ไม่เกนิ หน่วยงาน ดชั นีความแข็งแกร่ง ๒๕ ๑๕ ด้านความมน่ั คง ทางกำลงั ทหาร ไม่เกนิ มีความพรอ้ มสูงขึ้น (อันดับของโลก ภายในปี ๒๐ ท่ีจะเผชิญภยั คกุ คาม ๒๕๗๐/๒๕๗๕/๒๕๘๐) ทุกรปู แบบ ทกุ มติ ิ และทุกระดับความ รนุ แรง แผนบูรณาการขับเคล่อื นแผนปฏบิ ตั ิการด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๗

กำหนดแนวทางการพัฒนา ๕ แนวทางการพฒั นา ๑. พัฒนาระบบงานข่าวกรองแบบบูรณาการ เพื่อเสริมสร้าง พัฒนา และบูรณาการขีดความสามารถ ของระบบงานข่าวกรอง หน่วยงานข่าวกรอง และประชาคมข่าวกรองในประเทศให้ทันสมัยทันสถานการณ์ ท้ังดา้ นศักยภาพของบุคลากร ยทุ โธปกรณ์ เทคโนโลยี และระบบข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถครอบคลุมการใช้งานได้อย่าง ครบถ้วนและต่อเนื่อง มีการบูรณาการข้อมูลและนาผลผลิตด้านข่าวกรองไปใช้ในการบริหารจัดการปัญหา และความมั่นคงของชาติในทุกมิติและทุกด้าน รวมทั้งให้มีการเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคประชาชนในรูปแบบ ประชารัฐและประชาคมข่าวกรองต่างประเทศ อย่างแน่นแฟ้น โดยมีแนวทางการดำเนินการที่สำคัญ ได้แก่ (๑) การดำเนินการข่าวกรองอย่างมีประสิทธิภาพ (๒) การเสริมสร้างความร่วมมืออย่างเป็นเอกภาพในประชาคม ข่าวกรอง และพัฒนาเครือข่ายด้านข้อมูลข่าวสารกับภาคเอกชนและภาคประชาชน (๓) การพัฒนาขีดความสามารถ ของระบบงานข่าวกรอง (๔) เสริมสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานข่าวกรอง และ (๕) พัฒนาเครื่องมือ การประเมินสถานการณ์ในระดับยุทธศาสตร์ ๒. พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาปรับปรุงนโยบาย แนวทาง ระบบ กลไก การบริหารจัดการ ตลอดถึงแผนการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจน มีประสิทธิภาพครอบคลุม และพร้อมรองรับภัย ทุกประเภททั้งในปัจจุบันและอนาคต ผลักดันให้ทุกภาคส่วนมีการฝึกร่วมกันในทุกขั้นตอนอย่างต่อเนื่องจริงจัง จนสามารถปฏิบัติได้จริง เสริมสร้างความร่วมมือกันอย่างบรูณาการของทุกภาคส่วน ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ให้มีประสิทธิภาพชัดเจนเป็นรูปธรรม ยกระดับการแบ่งปันข้อมูลทรัพยากร การพัฒนาเทคโนโลยี และการฝึกอบรม ให้ทกุ สว่ นรูจ้ กั และเข้าใจข้ันตอนการปฏบิ ัตติ ่างๆ อยา่ งแท้จริง สามารถสนับสนุนการบริหารจัดการได้ทุกรูปแบบ ต้ังแต่ ในระดับชาติไปจนถึงระดับท้องถิ่น ตลอดถึงพัฒนาปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแนวทางการดำเนินการที่สำคัญ ได้แก่ (๑) การพัฒนาศักยภาพระบบ การเตรียมพร้อมแห่งชาติให้พร้อมเผชิญกับภาวะไม่ปกติและจัดการความเส่ียงอย่างบรู ณาการ มุ่งเน้นให้หน่วยงานได้มี การพัฒนา ทบทวน และปรบั ปรุงนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน แนวทางปฏิบัติ ให้พร้อมเผชิญกับภาวะไม่ปกติ การพัฒนา และเชื่อมโยงระบบการแจ้งเตือนและเฝ้าระวัง ระบบการสื่อสาร การมีเลขหมายฉุกเฉินเลขหมายเดียวทั่วประเทศ การจัดการข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การพัฒนาทีมปฏิบัติการเฉพาะกิจ การบูรณาการ การทำงานระหว่างพลเรือนและทหาร การจัดการเรียนการสอนและหลักสูตรให้ความรู้ ตลอดจนการส่งเสริมและ สนับสนุนการฝึกอบรมและการฝึกซ้อมในการทดสอบแผน แนวทางปฏิบัติ โดยเฉพาะการจัดฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ ระดับชาติ (๒) การเสริมสร้างความเชื่อมั่น ภูมิคุ้มกัน และศักยภาพของทุกภาคส่วน ให้มีความตระหนักและ ความเข้มแข็งรว่ มกันในลักษณะประชารฐั โดยสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มของภาคประชาชนและเอกชน การพฒั นาเครือข่าย ความร่วมมือและกลไกการประสานงาน การเสริมสร้างการตระหนักรู้และจิตสำนึกด้านความมั่นคง การกระจายข้อมูล ข่าวสารด้านการเตรียมพร้อมที่หลากหลายให้ประชาชนได้รับทราบ อาทิ แผนที่พื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่หลบภัย และ แผนอพยพ และส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติของชุมชน เพื่อสนับสนุนในการบริหารจัดการและฟื้นฟูชุมชนจาก ภัยพิบัติ (๓) การเสริมสร้างความร่วมมือการเตรียมพร้อมรับมือภัยคุกคามกับต่างประเทศโดยส่งเสริมและสนับสนุน ความร่วมมือ เพื่อพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมกับต่างประเทศ ภายใต้กลไกความร่วมมือระดับทวิภาคีและพหุภาคี โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน ประชาคมอาเซียน และกลุ่มภูมิภาคอื่น เสริมสร้างความร่วมมือ การแลกเปลี่ยน แผนบูรณาการขับเคล่อื นแผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๘

องค์ความรู้และประสบการณ์ผ่านการฝึกซ้อมร่วม และการมีแผนอพยพคนไทยในต่างประเทศกรณีเกิดวิกฤตการณ์ ที่ส่งผลกระทบกับคนไทยในต่างประเทศ และ (๔) การบริหารจัดการยุทธศาสตร์มีการบูรณาการและผนึกกำลัง ในลักษณะหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ โดยการบูรณาการการทำงานทุกภาคส่วนสนับสนุนการบริหารจัดการวิกฤตการณ์ การผนึกกำลังร่วมกันเป็นภาคีเครือข่ายในลักษณะหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ การเชื่อมโยงการทางานกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนท่ีเกี่ยวข้อง ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหท้ ุกภาคส่วนได้มีการกำหนดแผนหรือแนวทางดำเนินการแผนบริหารธรุ กิจ ตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจนมกี ารบูรณาการแผนในทุกระดับต้ังแต่ท้องถิ่นจนถึงสว่ นกลาง ๓. พัฒนาศักยภาพของประเทศด้านความมั่นคง มุ่งจัดทำแผนพัฒนาและผนึกกำลังทรัพยากร รวมถึง ขีดความสามารถทั้งปวงของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่มี ประสิทธภิ าพเป็นรปู ธรรม ชัดเจน สอดคลอ้ งกับการบริหารราชการยุคใหม่ท่ีมุ่งเน้นความคล่องตวั พรอ้ มให้มีการพัฒนา ระบบทหารกองประจำการอาสาสมัครอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไป สามารถรับมือ กับภัยคุกคามได้ทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง โดยมีแนวทางการดำเนินการที่สำคัญ ได้แก่ (๑) การเตรียมกำลังและใช้กำลังเพื่อการป้องปราม แก้ไข และยุติความขัดแย้งด้วยการปฏิบัติการร่วมเป็นหลัก (๒) พัฒนาปฏิบัติการไซเบอร์เพื่อความมั่นคง และพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ เพื่อการใช้งานดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียม ถ่ายภาพด้านความมั่นคง และการสังเกตการณ์ทางอวกาศ ด้วยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ (๓) พฒั นาระบบข่าวกรองเพ่ือการแจ้งเตือนภัยคุกคามทางทหาร โดยจัดให้มีระบบฐานข้อมูลข่าวกรองร่วม ด้วยความร่วมมืออย่างเป็นเอกภาพในประชาคมข่าวกรอง หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานข่าวกรองต่างประเทศ และ พัฒนาระบบข่าวกรองทางยุทธศาสตร์ในทั้งในระดับนโยบาย ระดับอำนวยการข่าว และระดับปฏิบัติการข่าว (๔) ส่งเสรมิ การวจิ ัยพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยปี ้องกันประเทศ มาตรฐานทางทหาร กิจการอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศและการพลังงานทหาร เพื่อสร้างหลักประกันให้แก่กองทัพบนพื้นฐานการพึ่งพาตนเอง โดยบูรณาการ ขีดความสามารถของทุกภาคส่วน มุ่งเน้นการสนับสนุนให้ภาคเอกชนสามารถทำการผลิตเพื่อใช้ในราชการและเพื่อการ พาณิชย์ในเชิงอุตสาหกรรมโดยการร่วมทุน (๕) พัฒนาระบบกาลังสำรอง ระบบทหารกองประจาการอาสาสมัคร และ ระบบการระดมสรรพกำลังอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งไปสู่การบรรจุทดแทนกำลังประจำการบางตำแหน่งในยามปกติ โดยมี ระบบการตอบแทนที่เหมาะสม และสามารถรองรับการขยายกาลังในยามสงครามสำหรับการปฏิบัติการทางทหาร ทุกด้านที่มีความขัดแย้ง (๖) พัฒนาเสริมสร้างกำลังประชาชน ทหารกองหนุน ทหารนอกประจำการ ทหารผ่านศึก ทุกประเภท เพื่อมุ่งไปสู่การออมกำลังและชดเชยอำนาจกำลังรบของกองทัพที่มีอยู่อย่างจำกัดในยามสงคราม รวมท้ัง การแจ้งเตือนด้านการข่าวด้วยการเสริมสร้างจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมป้องกันประเทศ รวมทั้งจัดทำฐานข้อมูล อย่างเป็นระบบ (๗) พัฒนาการผนึกกำลังและทรัพยากรจากทุกภาคส่วน เพื่อเตรียมพร้อมช่วยเหลือและบรรเทา ผลกระทบจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ (๘) พัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือทางทหารกับประเทศ เพอ่ื นบ้าน ประเทศสมาชิก อาเซียนมิตรประเทศ ประเทศมหาอำนาจ และองค์การระหว่างประเทศ และ (๙) ในยามสงบ ใช้กำลังกองทัพในการพฒั นาประเทศและช่วยเหลือประชาชน (ตามทีก่ ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ) ๔. ปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ มุ่งปกป้อง รักษา และแก้ไขปัญหาที่กระทบต่อความมั่นคงและ ผลประโยชน์ของชาติทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ โดยครอบคลุมทั้งการเฝ้าระวังป้องกัน แก้ ไข การใช้ การอนุรักษ์ และการแสวงหาผลประโยชน์ อยา่ งสอดคล้องกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติตามท่ีกำหนด โดยมีแนวคิด แผนบรู ณาการขับเคลอื่ นแผนปฏบิ ัติการดา้ นการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๙

ในการดำเนินการที่สำคัญ ได้แก่ (๑) การจัดการกับภัยคุกคามด้านความมั่นคงทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ด้วยแนวคิดเชิงป้องกันและป้องปราม (๒) การเฝ้าระวังและตรวจการณ์ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ในทุกมิติ อย่างมีประสิทธิภาพ (๓) การแก้ไขปัญหาเขตแดนทางบกทางทะเล และทางอากาศกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างสันติวิธี (๔) การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างกองทัพของไทยกับกองทัพของประเทศเพื่อนบ้าน มิตรประเทศ และมหาอำนาจ (๕) การแสวงหาและใช้ประโยชน์จากความร่วมมือระหว่างประเทศในการรับมือกับภัยคุกคาม ความมั่นคงอย่างมีประสิทธิภาพ (๖) การบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องกับกฎหมาย และพันธกรณี ระหว่างประเทศ และ (๗) การรณรงค์ให้ความรู้ การศึกษา และการประชาสัมพันธ์กับประชาชน และผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมในการปกป้องและรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ๕. เสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือทางการทหารกับประเทศเพื่อนบ้าน มิตรประเทศ และองค์กร นานาชาติ มุ่งเน้นการดำเนินการเสริมสร้างบทบาทของไทยในเวทีระหว่างประเทศ พัฒนาความร่วมมือต่างๆ ในทุกรูปแบบกับประเทศเพื่อนบ้าน มิตรประเทศ และมหาอำนาจ ให้มีการบูรณาการการปฏิบัติร่วมกันกับหน่วยงาน ต่างๆ ของต่างประเทศ ตลอดถึงองค์การนานาชาติ อย่างเป็นมิตรและเหมาะสม บนพื้นฐานของการดำรงเกียรติยศ และศักดิ์ศรีของประเทศ รวมทั้งให้สอดคล้องกับหลักการและพันธกรณีต่างๆ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ โดยมี แนวคิดในการดำเนินการที่สำคัญ ได้แก่ (๑) การส่งเสริมความสัมพันธ์ ความเข้าใจ ความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศ ผ่านทางความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ (๒) การสรา้ งความสัมพันธ์และความร่วมมือที่ดีและย่ังยืน กับประเทศมหาอำนาจ (๓) การแสวงหาและใช้ประโยชน์จากบทบาทและความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการปกป้อง อธิปไตยและรักษาผลประโยชน์ของชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และ (๔) การสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงในมิติ ตา่ งๆ เพอ่ื แลกเปล่ียนองค์ความรู้และประสบการณ์ ตลอดถงึ กระชับความสัมพันธ์ที่ดตี ่อกนั แผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์แห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ยึดถือ ตามแนวทางการพัฒนาของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคง แผนย่อยการป้องกันและแก้ไข ปญั หาทีม่ ผี ลกระทบต่อความม่นั คงส่วนท่ี ๒ การปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ นโยบายและแผนระดับชาติ ว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) และแนวความคิดทางยุทธศาสตร์ของกระทรวงกลาโหม ๓ แนวความคิด ไดแ้ ก่ การสร้างความรว่ มมือดา้ นความมนั่ คง การผนึกกำลงั ป้องกนั ประเทศ และการป้องกันเชิงรุก ซึ่งจะสามารถตอบสนองเป้าหมายของแผนย่อยการพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อ ความมั่นคงของชาติ ซึ่งระบุไว้ว่า “กองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคงมีความพร้อมสูงขึ้นที่จะเผชิญภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ ทุกมิติ และทุกระดับความรุนแรง” กำหนดตัวชี้วดั คือ ดัชนีความแข็งแกร่งทางกำลงั ทหาร (Military Strength) และมีค่าเป้าหมาย ประเทศไทยมีอันดับไม่ต่ำกว่าอันดับที่ ๒๕ ของโลก ซึ่งการขับเคลื่อนตามแผนย่อย ๓ ทำให้เกิด ความพร้อมในการมุ่งปกป้อง รักษา และแก้ไขปัญหาที่กระทบต่อความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ โดยครอบคลุมทั้งการเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไข การใช้ การอนุรักษ์ และการแสวงหา ผลประโยชน์อย่างสอดคล้องกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติตามท่ีกำหนด สง่ ผลให้ไม่มีการใช้กําลังในสงครามขอบเขต จํากัด (Limited war) การทำสงครามในท้องถิ่นแห่งใดแห่งหนึ่ง (Local war) ตลอดจนไม่มีการปะทะขนาดเล็กหรือ การขู่ว่าจะใช้กำลังตลอดแนวชายแดนในห้วงปี ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ เป็นเกราะป้องกันให้การบริหารและการพัฒนาประเทศ แผนบูรณาการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๐

ดำเนนิ ไปอย่างราบรื่น ประชาชนในพื้นท่ีตามแนวชายแดนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ินเพิ่มข้ึน มีคุณภาพชีวิต มีรายได้ดีขึ้น ทั้งการคมนาคมสัญจร และการประกอบอาชีพต่างๆ เนื่องจากมีการป้องกันและรักษาความปลอดภัย เพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน ทำมาค้าขายได้สะดวกขึ้น และมีรายได้จากการดำเนินโครงการ ที่ภาครัฐเข้าไปส่งเสริมสนับสนุน ทำให้เกิดอาชีพ เกิดรายได้ แบ่งออกเป็น ๗ แนวทางการดำเนินการ และกิจกรรม ท้ังสิ้น จำนวน ๒๒ กจิ กรรม ดงั น้ี ๑. แนวทางการดำเนินการท่ี ๑ การฝกึ ศึกษาทางทหาร และการพฒั นาแผนทางทหาร ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ไดแ้ ก่ ๑) การเสริมสร้างทักษะความรู้สำหรับการปฏิบัติการทางทหาร ๒) การพัฒนาสมรรถนะกำลังพลและหน่วยให้ครบถ้วน ตามวัตถุประสงค์การฝึก และ ๓) การปรับปรุงและพัฒนาแผน คำสั่ง หลักนิยม กฎ ระเบียบปฏิบัติประจำ และประมาณการ ข่าวกรอง ครอบคลมุ ทกุ มติ แิ ละทกุ ระดบั ความรุนแรง ๒. แนวทางการดำเนินการที่ ๒ การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการร่วม การพัฒนาระบบการควบคุม บังคับบัญชา และการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ประกอบด้วย ๔ กิจกรรม ได้แก่ ๑) การพัฒนา และปรับปรุงระบบควบคุมบังคบั บญั ชา และการประสานสอดคลอ้ งกับเหล่าทัพ และกลไกความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันประเทศ ๒) การบูรณาการระบบงานข่าวกรองเชื่อมตอ่ แลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างเหล่าทัพและ ประชาคมข่าวกรอง ๓) การปรับปรงุ ระบบสง่ กำลังบำรงุ และการบรหิ ารทรพั ยากรรว่ มกนั และ ๔) การพฒั นาและปรบั ปรงุ ระบบส่อื สาร เทคโนโลยีสารสนเทศ และไซเบอรเ์ พ่ือการป้องกนั ประเทศ ๓. แนวทางการดำเนินการที่ ๓ การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการป้องกันประเทศของเหล่าทัพ ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ได้แก่ ๑) การพัฒนาขีดความสามารถและการรักษาระดับความพร้อมด้านยุทโธปกรณ์และระบบปฏิบัติการ ทางทหาร ๒) การพัฒนาขดี ความสามารถในการจดั หาและส่งกำลังบำรุง รวมถงึ การแสวงประโยชนท์ างทหารจากภาคสว่ น ต่างๆ ๓) การพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานทางคมนาคมรองรับการส่งกำลังบำรงุ ในอนาคตเมอ่ื เกดิ สถานการณ์ ๔. แนวทางการดำเนินการที่ ๔ ระบบงานมวลชนเพื่อการป้องกันประเทศ ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ได้แก่ ๑) การจัด ระบบฐานข้อมูลเครือข่ายภาคประชาชนสนับสนุนการป้องกันประเทศ ๒) การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการจัด ระเบียบพื้นที่ชายแดน และการรักษาความสงบภายในท้องถิ่น ๓) การประชาสัมพันธ์สร้างแรงสนับสนุนกองทัพเพื่อการ ปอ้ งกันประเทศ ๕. แนวทางการดำเนินการที่ ๕ แนวทางการปฏิบัติภารกิจป้องกันประเทศ ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ได้แก่ ๑) การเฝ้าระวงั และตรวจการณ์ทุกมิติ (ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ) อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒) การรักษาความมั่นคง และแกไ้ ขปัญหาสถานการณต์ ามแนวชายแดน และ ๓) การปฏิบัติการเฉพาะกิจทางบก ทางเรอื และตามลำนำ้ ๖. แนวทางการดำเนินการที่ ๖ การสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กรอบงานความมั่นคงชายแดน ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ได้แก่ ๑) การปฏิบัติงานของกลไกการพัฒนาความร่วมมือรักษาความสงบเรียบร้อยบริเวณ แนวชายแดนและการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ๒) การจัดกิจกรรมความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กรอบงาน ความมั่นคงชายแดน และ ๓) การทบทวนและปรับปรุงประเด็นความขัดแย้งต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างครอบคลุม และครบถ้วน ๗. แนวทางการดำเนินการที่ ๗ การปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพและการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ประกอบด้วย ๓ กจิ กรรม ไดแ้ ก่ ๑) การเตรยี มความพร้อมในการสนับสนนุ การปฏบิ ัติการเพื่อสนั ติภาพและการช่วยเหลือ แผนบูรณาการขับเคล่ือนแผนปฏิบัตกิ ารด้านการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๑

ด้านมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ ๒) การแสดงบทบาทของกองทัพไทยในการดำเนินงานด้านการปฏบิ ัติการเพื่อสันตภิ าพ และการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมระหว่างประเทศของสหประชาชาติ ภาคีความร่วมมือระดับภูมิภาค และมิตรประเทศ และ ๓) การดำรงบทบาทของกองทพั ไทยในการขับเคลื่อนการปฏบิ ัตกิ ารเพ่ือสันติภาพและการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ระหวา่ งประเทศของอาเซยี น เพื่อให้การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์แห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กระทรวงกลาโหมโดยกองบัญชาการกองทัพไทยในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบแนวทาง การพัฒนา การปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ แผนย่อยการพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญ ภัยคุกคามที่กระทบตอ่ ความมัน่ คงของชาติ จึงได้จัดทำแผนบูรณาการขับเคลื่อนแผนปฏิบัตกิ ารด้านการปกปอ้ งอธิปไตย และผลประโยชน์แห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ในลักษณะแผนการบริหารจัดการ เพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ แนวทางการดำเนินการ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำไปอำนวยการขับเคลื่อน ให้สามารถสะท้อนเป้าหมายและ ตัวชี้วดั ของแผนยอ่ ยการพฒั นาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภยั คุกคามท่ีกระทบต่อความมัน่ คงของชาติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อันจะส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคง และ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คงอย่างเป็นรปู ธรรม ๒. วัตถปุ ระสงค์ของแผน ๒.๑ เพ่อื เสริมสรา้ งความเข้าใจสาระสำคญั ในการขับเคลือ่ นแผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชน์ ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒.๒ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแนวทางการบูรณาการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตย และผลประโยชนแ์ หง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) โดยยึดหลกั การบริหารงานคุณภาพ (Plan Do Check Act: PDCA) ๒.๓ เพื่อกำหนดแนวทางการประสานและบูรณาการการดำเนินงานระหว่างกลไกบริหารจัดการ กลไกขับเคลื่อน และกลไกอื่นๆ ที่เกยี่ วข้อง แผนบรู ณาการขับเคลื่อนแผนปฏิบตั ิการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๒

บทท่ี ๒ การบูรณาการขบั เคลื่อนแผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชน์แห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์แห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ไปสู่การบรรลุเป้าหมายของแผนย่อย การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความม่ันคง ของชาติ ซึ่งกำหนดไว้ว่า “กองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคง มีความพร้อมสูงขึ้นที่จะเผชิญภัยคุกคาม ทุกรูปแบบ ทุกมิติ และทุกระดับความรุนแรง” จะต้องดำเนินการควบคู่กับแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาศักยภาพ ของประเทศดา้ นความมนั่ คง (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เพ่ือใหง้ านด้านเตรียมกำลังและใช้กำลังของกองทพั ตลอดจน การดำเนินงานรว่ มกับภาคส่วนอนื่ ๆ ท่ีใหก้ ารสนบั สนุนการปฏบิ ตั ภิ ารกิจของกองทัพเป็นไปด้วยความประสาน สอดคล้อง ดงั ทจี่ ะได้อธบิ ายต่อไป โดยการขับเคล่ือนการบูรณาการดงั กล่าว ยดึ หลักการบรหิ ารงานคณุ ภาพ (Plan Do Check Act: PDCA) เพื่อให้เกิดกระบวนการทำงาน “ตั้งเป้า ปฏิบัติ ตรวจสอบ ปรับปรุง” โดยครอบคลุมการ ดำเนินงาน ๔ ขั้นตอนที่มีความเชื่อมโยงกัน ประกอบด้วย ๑) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ( Plan) ๒) การปฏิบัติ (Do) ๓) การติดตาม และประเมินผล (Check) และ ๔) การทบทวน ปรับปรุง และพัฒนา กระบวนการดำเนนิ งาน (Act) ประกอบด้วย ๑. การวางแผน (Plan) กระบวนการวางแผน เป็นการบรหิ ารจดั การเพ่ือใช้ทรัพยากรอยา่ งเป็นระบบ ใหส้ ามารถตอบสนอวัตถุประสงค์ ได้มีประสิทธิภาพสูงสุด ในระดับกระทรวงกลาโหมจะมีความเชื่อมโยงจากนโยบายระดับยุทธศาสตร์ของ กระทรวงกลาโหมและนโยบายด้านความมั่นคงของรัฐบาลโดยรวม มีองค์ประกอบที่สัมพันธ์กัน ๔ ส่วน ประกอบดว้ ย ๑) ระบบการวางแผนร่วมระดบั ยุทธศาสตร์ (Joint Strategic Planning System) ๒) ระบบวางแผนการปฏบิ ตั ิการร่วม (Joint Operations Planning System) ๓) ระบบวางแผนพัฒนาขดี ความสามารถ (Joint Capability Development Planning System) ๔) ระบบงบประมาณ (Budgeting System) แผนบูรณาการขบั เคลอื่ นแผนปฏบิ ัตกิ ารด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๓

ทงั้ น้ี เม่ือพจิ ารณาทีค่ วามสมั พันธ์ของแตล่ ะส่วนที่เกย่ี วข้องกนั การดำเนนิ การของระบบจะมีผลทีไ่ ด้รบั ๔ เรอ่ื งเกดิ ขน้ึ ระหวา่ งกัน ประกอบด้วย ๑) แนวทางการวางแผนการปฏิบัตกิ าร (Operations Planning Guidance) ๒) แนวทางการวางแผนการพฒั นาขีดความสามารถ (Capability Development Planning Guidance) ๓) แผนงานการปฏิบัติการ (Operations Program) ๔) แผนงานการพฒั นา (Development Program) กระบวนการเหล่านี้มีลกั ษณะของการทำงานเปน็ ระบบโดยมโี ครงสรา้ งของระบบท่ีประกอบดว้ ย ข้อมลู นำเขา้ (Input) กระบวนการ (Process) และผลทีไ่ ด้รับ (Output) ๑.๑ ระบบการวางแผนรว่ มระดับยุทธศาสตร์ (Joint Strategic Planning System) มีข้อมูลนำเข้า (Input) ที่อ้างอิงจากกรอบอำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบที่กำหนดไว้ในกฎหมาย และนโยบายต่างๆ จากหน่วยเหนือ ประกอบด้วย รัฐธรรมนูญ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พระราชบัญญัติ จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ แผนผนึกกำลัง และทรัพยากรเพื่อการป้องกันประเทศ แผนระดมสรรพกำลังกระทรวงกลาโหม แผนบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พระราชบัญญัติ วิธกี ารงบประมาณ เปน็ ต้น ทั้งน้ี เมอื่ นำมาเปรยี บเทยี บแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นความมน่ั คง ในการมงุ่ ไปสู่เปา้ หมาย ของแผนย่อย การพฒั นาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามท่ีกระทบต่อความมน่ั คงของชาติ ในส่วนท่ี กระทรวงกลาโหมรับผิดชอบโดยตรง จะมุ่งไปสู่แนวทางการพัฒนาภายใต้แผนย่อยฯ ดังกล่าว ได้แก่ แนวทาง การพัฒนาศักยภาพของประเทศดา้ นความมนั่ คง และแนวทางการพัฒนาปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชน์ของชาติ ซึ่งเป็นการเตรียมกำลังและใช้กำลังของกองทพั ควบคู่ไปกับการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง โดยประเมนิ สถานการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต วิเคราะห์สภาวะแวดล้อม ปัจจัยภายในและภายนอก พิจารณา แผนบรู ณาการขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๔

วัตถุประสงค์แห่งชาติ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ แล้วนำมาจัดทำเป็นแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาศักยภาพ ของประเทศดา้ นความม่นั คง และแผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ ในระบบนี้จะได้ผลที่ได้รับ (Output) เป็นแนวทางการวางแผนการปฏิบัติการร่วม (Operations Planning Guidance) และแนวทางการวางแผนพัฒนาขีดความสามารถ (Capability Development Planning Guidance) ซึ่งทั้ง ๒ สิ่งนี้จะกลายเป็นข้อมูลนำเข้า (Input) ของระบบที่ต่อเนื่อง ๒ ระบบ คือ ระบบวางแผน การปฏบิ ัติการรว่ ม และระบบวางแผนพฒั นาขดี ความสามารถรว่ ม ตามลำดบั ๑.๒ ระบบวางแผนการปฏิบตั ิการรว่ ม (Joint Operations Planning System) มีข้อมูลนำเข้า (Input) เป็นแนวทางการวางแผนการปฏิบัติการจากระบบวางแผนร่วมระดับยุทธศาสตร์ ซึ่งจะกำหนดรายละเอียดขีดความสามารถที่เตรียมไว้สำหรบั การวางแผนปฏิบัติการทางทหารแต่ละภารกิจ โดยควรแยก เป็นการปฏิบัติการรบและการปฏิบัตกิ ารทางทหารท่ีมิใช่สงคราม ซึ่งสามารถใช้กำลังชุดเดียวกนั ได้ การกำหนดให้ชัดเจน จะทำใหผ้ วู้ างแผนสามารถเลือกใช้ขดี ความสามารถได้อย่างเหมาะสม ส่วนกระบวนการ (Process) นั้นจะเป็นการจัดทำแผนการใช้กำลัง โดยใช้การวางแผนประณีตและการวางแผน ในสภาวะวิกฤติ ซึ่งกองบัญชาการกองทัพไทยได้จัดทำแผนปฏิบัติการทางทหารไว้สำหรับบางภารกิจ เช่น แผนป้องกัน ประเทศ แผนป้องกันภัยทางอากาศของกองทัพไทย แผนบรรเทาสาธารณภัย แผนการระวังป้องกันที่ตั้ง แผนปฏิบัติการ ทางทหารอ่ืนๆ เป็นตน้ ซึ่งแผนทจ่ี ัดเตรียมไวน้ ้สี ามารถนำมาพจิ ารณาใช้ได้เมื่อเกิดสภาวะวกิ ฤติขน้ึ สำหรับผลที่ได้รับ (Output) จากระบบการวางแผนการปฏิบัติการร่วมน้ี จะถูกปรบั เป็นแผนงานการปฏิบตั กิ าร (Operations Program) ซ่งึ จะกลายเป็นข้อมลู นำเขา้ (Input) ของระบบงบประมาณต่อไป แผนบรู ณาการขบั เคลอ่ื นแผนปฏิบัติการด้านการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๕

๑.๓ ระบบวางแผนพัฒนาขดี ความสามารถร่วม (Joint Capability Development Planning System) ระบบนี้รับแนวทางการวางแผนพัฒนาขีดความสามารถเป็นข้อมูลนำเข้า (Input) จัดทำเป็นแผนการเตรยี มกำลงั เช่น แผนเสริมสร้างกำลังกองทัพ แผนความตอ้ งการยทุ โธปกรณห์ ลักของกองทพั ไทย แนวทาง (Roadmap) การบูรณาการ ระบบควบคุมบังคับบัญชากองทัพไทย รวมถึงแผนอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งแผนงานเหล่านี้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การเตรียมพร้อมแห่งชาติ แผนแม่บทการปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงกลาโหม และแผนพัฒนาขีดความสามารถ กระทรวงกลาโหม ผลที่ได้รับ (Output) เป็นแผนการพัฒนา (Development Program) ซึ่งจะกลายเป็นข้อมูลนำเข้า (Input) สำหรับระบบงบประมาณต่อไป แผนบรู ณาการขับเคล่ือนแผนปฏิบัตกิ ารด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๖

๑.๔ ระบบงบประมาณ (Budgeting System) ระบบนี้รับเอาแผนการปฏิบัติ (Operations Program) และแผนการพัฒนา (Development Program) เป็นข้อมูลนำเข้า (Input) ในการพิจารณาจัดสรรและบริหารงบประมาณ อย่างไรก็ดี เนื่องจากกองทัพไทยใช้การบริหาร งบประมาณแบบแยกการ ดังนั้นการกำหนดแผนงบประมาณจึงขึ้นอยู่กับแนวทางการดำเนินการของกองบัญชาการ กองทพั ไทยและเหล่าทพั ดว้ ย การที่กฎหมายได้กำหนดให้กองบัญชาการกองทัพไทยและเหล่าทัพเป็นนิติบุคคล แต่ละส่วนมีงบประมาณ ของตนเอง จึงทำให้แต่ละส่วนกำหนดทิศทางการพัฒนาของตน อย่างไรก็ตามได้มีการบูรณาการระหว่างกองบัญชาการ กองทัพไทยและเหลา่ ทัพในบางเรือ่ ง เช่น แผนแนวทาง (Roadmap) การบูรณาการระบบควบคุมบังคับบญั ชากองทัพไทย เป็นต้น สิ่งที่ต้องพิจารณาในเรื่องงบประมาณนั้น ปัจจุบันทุกส่วนราชการใช้ระบบการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ ซึ่งได้กำหนดใน มาตรา ๑๖ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ โดยจัดทำเป็นแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี และประจำปี ซึ่งต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรที แี่ ถลงตอ่ รัฐสภา และแผนอ่นื ที่เก่ยี วขอ้ ง แผนบูรณาการขับเคลื่อนแผนปฏบิ ัติการดา้ นการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๗

ดงั น้นั แผนเหล่านจ้ี ะตอ้ งมคี วามสอดคล้องกบั ระบบการวางแผนที่กลา่ วมาแลว้ ด้วย เพ่ือใหม้ ัน่ ใจวา่ การวางแผน ทางทหารไดร้ บั การจดั สรรทรพั ยากรรองรับ นำไปสูก่ ารปฏิบตั ิอยา่ งเปน็ รปู ธรรม จากทไี่ ด้กล่าวมาข้างตน้ ในขั้นของการวางแผนนนั้ สงิ่ ท่สี ำคัญทส่ี ดุ ได้แก่ การแปลงยุทธศาสตรช์ าติไปสูก่ ารปฏบิ ัติ ได้แก่ การนำภารกิจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ การพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพ ปรับไปสู่รูปแบบของแผนงาน/ โครงการ/งบประมาณ แลว้ นำไปบรรจใุ นแผนปฏิบตั ิราชการ แผนบรู ณาการขับเคลือ่ นแผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๘

โดยหากนำไปเปรียบเทียบในรูปแบบของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ จะกำหนดให้โครงการซึ่งถูกบรรจุใน แผนปฏิบตั ิราชการ เปน็ โครงการ X ซง่ึ เป็นการดำเนินการทีส่ อดคล้องตามหลักความสัมพนั ธเ์ ชงิ เหตแุ ละผล (Causal Relationship : XYZ) ดงั น้ี แผนบูรณาการขับเคลื่อนแผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๑๙

ดังนั้น การจัดทำโครงการประกอบแผนปฏิบัติราชการ จึงเป็นสิ่งที่สำคัญซึ่งหน่วยงานของรัฐจะต้องมีความเข้าใจ ให้มากยิง่ ขนึ้ เนื่องจากโครงการที่เมือ่ ดำเนินการแลว้ จะส่งผลต่อการบรรลผุ ลลพั ธ์ตามเป้าหมายของแผนแมบ่ ทย่อย (Y1) และบรรลผุ ลลัพธ์ตามเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติได้ตามทีก่ ำหนดไวใ้ นแต่ละห้วง ๕ ปี ในการจัดทำโครงการประกอบแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ สามารถใช้แนวทางของสำนักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งได้กำหนดไว้เพื่อใช้ในการจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อขับเคลื่อน การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงมองว่าเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) เป็นเป้าหมายในระดับที่ย่อยที่สุด ตามหลกั การ XYZ ดงั น้นั หากเปา้ หมายแผนแม่บทยอ่ ย (Y1) สามารถบรรลุผลได้ตามทก่ี ำหนด กจ็ ะสง่ ผลใหท้ ั้งเป้าหมาย ระดับประเด็น (Y2) และเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ (Z) สามารถบรรลุผลได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำห่วงโซ่ คุณค่าของประเทศไทย (Final Value chain Thailand :FVCT) เพื่อใช้พิจารณาองค์ประกอบและปัจจัยภายใต้ ห่วงโซ่คุณค่าฯ ที่ต้องดำเนินการในการปิดช่องว่างเชิงนโยบายและยกระดับการพัฒนาของแต่ละเป้าหมาย แผนแม่บทย่อย (Y1) เพือ่ นำไปสู่การบรรลุผลสัมฤทธติ์ ามเป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม แผนบรู ณาการขบั เคล่ือนแผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๐

ทั้งนี้ ในการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารด้านการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) กองบญั ชาการ การกองทัพไทย ได้จัดทำตารางพิจารณาความสอดคล้องกับองค์ประกอบและปัจจัยของห่วงโซ่คุณค่า ของประเทศไทย เป้าหมาย กองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคง มีความพร้อมสูงขึ้นที่จะเผชิญภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทุกมิติ และทุกระดับความรุนแรง ซึ่งส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสามารถใช้เป็นข้อมูลที่สำคัญในการจัดทำโครงการ ประกอบแผนปฏิบัติราชการ เพื่อใช้ในการอ้างอิงว่าแผนงาน/โครงการ/งบประมาณนั้นๆ มีความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติไดอ้ ย่างไร แผนบรู ณาการขับเคลือ่ นแผนปฏบิ ัติการดา้ นการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๑

แผนบูรณาการขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๒

ตารางพิจารณาความสอดคลอ้ งกบั องค์ประกอบและปจั จัยของหว่ งโซ่คณุ ค่า (Final Value Chain Thailand) VALUE CHAIN แนวทางดำเนนิ การและกจิ กรรมของแผนปฏบิ ตั ิการ ด้านการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชน์ของชาติ เปา้ หมาย : กองทัพและหน่วยงานด้านความมน่ั คง (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) มีความพร้อมสูงข้ึนท่ีจะเผชญิ ภยั คุกคามทุกรปู แบบ ทุกมติ ิ และทุกระดบั ความรุนแรง องคป์ ระกอบ ปจั จัย ๑. การฝึกศึกษาทางทหาร และการพฒั นาแผนทางทหาร กจิ กรรม:การเสริมสร้างทักษะความรสู้ ำหรับการปฏบิ ัติการทางทหาร V02 F0201 F0203 กจิ กรรม: การพฒั นาสมรรถนะกำลังพลและหนว่ ยใหค้ รบถ้วนตามวตั ถุประสงคก์ ารฝกึ V02 F0201 F0203 กิจกรรม:การปรับปรงุ และพัฒนาแผน คำสง่ั หลักนยิ ม กฎ ระเบียบปฏิบตั ปิ ระจำ และประมาณการขา่ วกรอง ครอบคลุมทกุ มติ แิ ละทุกระดับความรนุ แรง V02 F0202 ๒. การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการร่วม การพัฒนาระบบการควบคุมบังคับบัญชา และ การปฏิบตั กิ ารทใี่ ช้เครือขา่ ยเปน็ ศนู ย์กลาง (NCO) กิจกรรม :การพัฒนาและปรับปรุงระบบควบคุมบังคับบัญชา และการประสานสอดคล้องกับเหล่าทัพ และกลไก V02 F0202 ความรว่ มมือกับหนว่ ยงานอ่ืนๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการปอ้ งกันประเทศ กิจกรรม :การบูรณาการระบบงานข่าวกรองเชอ่ื มตอ่ แลกเปลี่ยนขอ้ มูลระหว่างเหล่าทพั และประชาคมขา่ วกรอง V02 F0202 กิจกรรม :การปรบั ปรุงระบบสง่ กำลงั บำรุงและการบรหิ ารทรัพยากรร่วมกัน V02 F0202 กิจกรรม :การพัฒนาและปรบั ปรงุ ระบบสือ่ สาร เทคโนโลยสี ารสนเทศ และไซเบอร์เพ่ือการปอ้ งกันประเทศ V03 F0301 F0302 ๓. การเสรมิ สร้างขดี ความสามารถด้านการปอ้ งกนั ประเทศของเหลา่ ทัพ กจิ กรรม:การพัฒนาขีดความสามารถและการรกั ษาระดับความพร้อม V02 F0202 ดา้ นยทุ โธปกรณ์และระบบปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร กิจกรรม :การพัฒนาขดี ความสามารถในการจดั หาและสง่ กำลงั บำรุง รวมถึงการแสวงประโยชนท์ างทหารจากภาคส่วนต่างๆ V02 F0202 กิจกรรม :การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางคมนาคมรองรบั การสง่ กำลังบำรงุ ในอนาคตเม่ือเกิดสถานการณ์ ๔. ระบบงานมวลชนเพื่อการป้องกันประเทศ กจิ กรรม:การจดั ระบบฐานขอ้ มูลเครือข่ายภาคประชาชนสนับสนุนการป้องกนั ประเทศ V02 F0203 กิจกรรม:การพฒั นาเครือขา่ ยภาคประชาชนในการจดั ระเบยี บพนื้ ทช่ี ายแดน และการรกั ษาความสงบภายในท้องถ่นิ V02 F0203 กจิ กรรม:การประชาสัมพันธ์สร้างแรงสนับสนนุ กองทพั เพ่ือการป้องกันประเทศ V02 F0202 ๕. แนวทางการใชก้ ำลังในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ปอ้ งกันประเทศ กจิ กรรม:การเฝา้ ระวังและตรวจการณท์ ุกมิตอิ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ กจิ กรรม:การรกั ษาความมนั่ คงและแก้ไขปญั หาสถานการณ์ตามแนวชายแดน V02 F0202 กิจกรรม:การปฏิบัตกิ ารดว้ ยกำลงั เฉพาะกิจทางบก ทางเรอื และตามลำน้ำ V02 F0202 ๖ การสรา้ งความรว่ มมือกับประเทศเพ่อื นบ้านภายใต้กรอบงานความม่ันคงชายแดน กจิ กรรม:การปฏบิ ตั ิงานของกลไกการพฒั นาความร่วมมอื รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยบริเวณแนวชายแดนและการแก้ไข V01 F0101 ปัญหาร่วมกนั กจิ กรรม:การจัดกิจกรรมความรว่ มมือกับประเทศเพ่ือนบ้านภายใตก้ รอบงานความมัน่ คงชายแดน V01 F0101 กิจกรรม:การทบทวนและปรบั ปรงุ ประเดน็ ความขดั แย้งต่างๆ เพ่ือแก้ไขปญั หาได้อย่างครอบคลุมและครบถ้วน V01 F0101 ๗ การปฏบิ ตั ภิ ารกิจรกั ษาสันตภิ าพและการชว่ ยเหลอื ด้านมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ กิจกรรม:การเตรยี มความพร้อมในการสนบั สนุนการปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือสันติภาพและการชว่ ยเหลอื ด้านมนษุ ยธรรมระหวา่ ง V01 F0102 ประเทศ กิจกรรม:การแสดงบทบาทของกองทพั ไทยในการดำเนินงานด้านการปฏิบัตกิ าร V01 F0102 เพือ่ สันติภาพและการชว่ ยเหลือด้านมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ ของสหประชาชาติ ภาคคี วามรว่ มมอื ระดับภูมภิ าค และมิตรประเทศ กิจกรรม:การดำรงบทบาทของกองทัพไทยในการขบั เคลื่อนการปฏิบตั กิ าร V01 F0102 เพอ่ื สันติภาพและการช่วยเหลือดา้ นมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศของอาเซียน โดยสรุป ในขั้นการวางแผน (Plan) ให้ส่วนราชการท่ีเก่ยี วขอ้ งดำเนนิ การดังน้ี ๑) นำโครงการสำคัญในแตล่ ะกิจกรรมภายใต้แผนปฏบิ ัติการด้านการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชน์ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) บรรจุเป็นโครงการประกอบแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ ๕ ปี และรายปี ๒) จัดทำโครงการเพ่ิมเติมโดยใช้กระบวนการวางแผนที่ได้กล่าวไว้ ซึ่งมีผลลัพธ์ ได้แก่ แผนงานการปฏบิ ัติการ และแผนงานการพัฒนา ควบคู่กับแนวทางการจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์ชาติ บรรจุในแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี และรายปี และเสนอกองบัญชาการกองทัพไทยเพื่อใช้ ในการทบทวนและปรับปรุงแผนปฏบิ ัติการดา้ นการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓) กองบัญชาการกองทัพไทยนำเข้าแผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ดำเนินการทบทวนและปรับปรุง แผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ตามข้อเสนอจากส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง และนำเข้าระบบ eMENSCR แผนบูรณาการขบั เคล่ือนแผนปฏิบตั ิการดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๓

๔) ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องนำเข้าแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี และรายปี ในระบบติดตามและประเมินผล แห่งชาติ (eMENSCR) การจัดทำและเสนอแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ ๕ ปี และรายปีของส่วนราชการ ๑) การจัดทำและเสนอแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี ให้จัดทำแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี ให้สอดคล้อง กับแผนระดับที่ ๑ แผนระดับที่ ๒ แผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติฯ และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และประกาศใช้ตามขั้นตอนของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ และ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยไม่ต้องเสนอให้ สศช. กลั่นกรองและไม่ต้องเสนอ ครม. กอ่ นการประกาศใช้ และเมื่อแผนฯ ประกาศใช้แล้ว ให้นำเข้าแผนฯ ในระบบ eMENSCR ๒) การจัดทำแผนปฏิบัติราชการรายปี ให้ส่วนราชการดำเนินการปรับปรุง/จัดทำแผนฯ ให้สอดคล้องกับ แผนระดับที่ ๑ แผนระดับที่ ๒ แผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติฯ และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบก่อนการประกาศใช้ตามขั้นตอนของ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบริหารกจิ การบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อดำเนินการตามแผนฯ และขั้นตอนของระบบงบประมาณต่อไป และเมื่อแผนฯ ประกาศใช้แล้ว ให้ส่วนราชการนำเข้าแผนฯ ในระบบ eMENSCR ภายในไม่เกนิ ไตรมาสแรกของปีงบประมาณ แผนบูรณาการขบั เคลือ่ นแผนปฏบิ ตั ิการด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๔

๒. การปฏิบตั ิ (Do) ประกอบด้วย กลไกบรหิ ารจดั การ กลไกการขับเคลื่อน กลไกสร้างการรบั รู้ และการรายงานผลการดำเนนิ การโครงการ ๒.๑ กลไกบรหิ ารจัดการ ๑) ระดับชาติ ได้แก่ คณะกรรมการบูรณาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม คำสั่งสภาความมั่นคงแห่งชาติที่ ๖/๒๕๖๓ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการบูรณาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๓ โดยมี รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน มีหน้าที่และอำนาจในการพิจารณา และกำหนดแนวทางการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมั่นคงใหบ้ ูรณาการกับยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่นๆ และกำหนด แนวทางการจัดทำแผนระดับที่ ๓ ให้รองรับแผนระดับที่ ๒ ได้แก่ แผนแม่บทฯ ประเด็นความมั่นคง แผนการปฏิรูป ประเทศ นโยบายและแผนระดับชาติฯ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมถึงพิจารณาแนวทางการพัฒนา เป้าหมายและตัวชี้วัด และรายงานผลต่อสภาความมั่นคงแห่งชาติ คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง และคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ๒) ระดับนโยบาย มีอำนาจหน้าที่ในการกำกับและติดตามการดำเนินการในภาพรวมของแผนปฏิบัติการด้าน การปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ประกอบด้วย แผนบรู ณาการขบั เคล่อื นแผนปฏบิ ัติการด้านการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๕

๒.๑) สภากลาโหม เป็นคณะผู้บริหารของกระทรวงกลาโหมโดยมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็น ประธานสภากลาโหม ซ่งึ ตามมาตรา ๔๓ ของพระราชบญั ญัตจิ ดั ระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๕๑ ระบุไว้ว่า ในการดำเนินการของรฐั มนตรวี าการกระทรวงกลาโหมในเรอ่ื งดงั ตอไปน้ี ตองเปนไปตามมตขิ องสภากลาโหม (๑) นโยบายการทหาร (๒) นโยบายการระดมสรรพกําลงั เพ่ือการทหาร (๓) นโยบายการปกครองและการบังคบั บัญชาภายในกระทรวงกลาโหม (๔) การพจิ ารณางบประมาณการทหาร และการแบงสรรงบประมาณของกระทรวงกลาโหม (๕) การพจิ ารณารางกฎหมายทเี่ กยี่ วกบั การทหาร (๖) เร่ืองท่ีกฎหมายหรอื รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมกำหนดใหเสนอสภากลาโหม ทัง้ นี้ มตขิ องสภากลาโหมน้ัน ให้ส่วนราชการต่างๆ ในกระทรวงกลาโหมถอื ปฏิบตั ิ ๒.๒) คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง กระทรวงกลาโหม (ป.ย.ป.กห.) เป็นศูนย์บัญชาการในการขับเคลื่อน และประสานงานกับสำนักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกับส่วนราชการและหน่วยงาน ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง รวมท้งั ประเมินผล ประสาน เรง่ รัด ตดิ ตามความกา้ วหน้าในการดำเนนิ การ ๒.๓) คณะกรรมการขับเคล่ือนแผนย่อยดา้ นการพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคาม ที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ ซึ่งมี ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน มีอำนาจหน้าที่ในการอำนวยการ ประสานงาน สั่งการ ปฏิบัติการ และกำกับดูแลการจัดทำและขับเคลื่อนแผนระดับที่ ๓ ในความรับผิดชอบให้บรรลุ เป้าหมายท่ีกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมั่นคง โดยดำเนินการควบคู่กับการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการ พัฒนาศักยภาพของประเทศด้านความมั่นคง (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) โดยเฉพาะการเป็นกลไกกลางเพื่อกำหนดกรอบ และประสานการจัดทำแผนปฏิบัติการ แผนปฏิบัติราชการ ๕ ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี และแผนงบประมาณ ของหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง ซง่ึ จะต้องสอดคล้องกับการดำเนนิ การในภาพรวมของกระทรวงกลาโหม ๒) ระดับหน่วย ให้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการ ทหารอากาศ ผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ รวมถึงหัวหน้าส่วนราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่มีฐานะเป็น นิติบุคคล เป็นผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการของหน่วย และอำนวยการ และกำกับดูแล การดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ เพอื่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายของแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ แผนบรู ณาการขบั เคลือ่ นแผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๖

๓) เพื่อให้การดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ มีการบูรณาการร่วมกันอย่างมีเอกภาพ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม อาจแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน ขึ้นเพื่อดำเนินการขับเคลื่อน การดำเนนิ การอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ๒.๒ กลไกการขับเคล่อื น ประกอบด้วย ๑) เจ้าภาพขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนา ได้แก่ หน่วยงานรับผิดชอบจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการปกป้อง อธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) มหี นา้ ที่ ๑.๑) เปน็ ศนู ย์กลางการขบั เคลือ่ นแผนปฏิบัตกิ ารฯ ๑.๒) อำนวยการ ประสานงาน ติดตาม เร่งรัด กำกับดูแล และให้คำปรึกษาการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ในภาพรวม ๑.๓) พจิ ารณากล่ันกรอง จัดลำดับความสำคัญ และคัดเลอื กแผนงาน/โครงการของสว่ นราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ๑.๔) ทบทวนและปรับปรุงแผนปฏิบัติการฯ เมื่อสถานการณ์ด้านความมั่นคงเปลี่ยนแปลง หรือมีการ ปรบั ปรุงแผนระดับท่ี ๑ และ ๒ ทีเ่ กยี่ วข้อง ๑.๕) ประเมินผล และกำกับดูแลการดำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายและตัวชี้วัดรวมของแผนปฏิบัติการฯ รวมท้งั ปรบั ปรุงใหท้ นั สมัย เหมาะสม และสอดคล้องกบั เป้าหมายและตัวชว้ี ดั ของแผนย่อยของแผนแม่บทฯ (Y1) ๑.๖) รวบรวม และจัดทำข้อมูลรายงานความคืบหน้า ตามแบบฟอร์ม N1 ส่งให้เจ้าภาพขับเคลื่อน แผนย่อยท่ี ๓ (สป.) ภายใน ๓๐ วัน หลงั ส้ินแต่ละไตรมาส ๑.๗) จัดทำรายงานผลการดำเนินการเป็นลายลักษณ์อักษร วงรอบ ๖ เดือน (มี.ค. และ ก.ย.) และรายปี เสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนย่อยด้านการพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบ ต่อความมัน่ คงของชาติ แผนบูรณาการขับเคล่ือนแผนปฏิบตั กิ ารด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๗

๒) หนว่ ยรบั ผิดชอบแนวทางการดำเนินการมหี นา้ ที่ ๒.๑) เป็นศนู ยก์ ลางขับเคลอ่ื นแนวทางการดำเนินการตามแผนปฏบิ ัติการฯ ในส่วนทีร่ ับผดิ ชอบ ๒.๒) ประสานงานหน่วยรับผิดชอบกิจกรรม เพอ่ื บูรณาการการดำเนนิ การตามขั้นตอนของระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ได้แก่ การนำเข้าข้อมูลโครงการ และการรายงานความก้าวหน้าในภาพรวม ของแนวทางการดำเนนิ การตามแผนปฏบิ ัติการฯ ในส่วนทร่ี ับผดิ ชอบ ๒.๓) ประเมินผล และกำกับดูแลเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับแนวทางการดำเนินการ รวมทั้งปรับปรุง ให้ทนั สมัย เหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายและตัวช้ีวดั ของแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ๒.๔) รวบรวม และจัดทำข้อมูลรายงานความคืบหน้า ตามแบบฟอร์ม N1 ส่งให้เจ้าภาพขับเคลื่อน แนวทางการพัฒนา (ยก.ทหาร) ภายใน ๒๕ วนั หลังสนิ้ แต่ละไตรมาส ๒.๕) จัดทำรายงานผลการดำเนินการเป็นลายลักษณ์อักษร วงรอบ ๖ เดือน (มี.ค. และ ก.ย.) และรายปี เสนอเจ้าภาพขบั เคลือ่ นแนวทางการพัฒนา ๒.๖) เชิญผแู้ ทนสว่ นราชการท่ีเกีย่ วขอ้ ง เข้าร่วมประชุมหรือให้ข้อมลู ได้ตามความเหมาะสม ๒.๗) ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ตามทเ่ี จา้ ภาพขบั เคลอื่ นแนวทางการพฒั นามอบหมาย ๓) หนว่ ยรับผิดชอบกจิ กรรม/ส่วนราชการเจ้าของโครงการ ๓.๑) ประสานงานส่วนราชการเจ้าของโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนกิจกรรม เพื่อบูรณาการ การดำเนินการตามขั้นตอนของระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ได้แก่ การนำเข้าข้อมูลโครงการ และการรายงานความกา้ วหนา้ ในภาพรวมของกจิ กรรมตามแผนปฏบิ ัติการฯ ในสว่ นทร่ี ับผิดชอบ ๓.๒) ประเมินผล และกำกับดูแลตัวชี้วัดระดับกิจกรรม รวมทั้งปรับปรุงให้ทันสมัย เหมาะสม และสอดคล้องกับเป้าหมายและตัวช้วี ดั ของแนวทางการดำเนนิ การของแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ๓.๓) รวบรวม และจัดทำข้อมูลรายงานความคืบหน้า ตามแบบฟอร์ม N1 ส่งให้หน่วยรับผิดชอบหลัก ในการขับเคลื่อนระดับแนวทางการดำเนินการ ภายใน ๒๐ วัน หลังสิ้นแต่ละไตรมาส และกำกับดูแลการรายงาน ในระบบ eMENSCR ของส่วนราชการเจา้ ของโครงการ ภายใน ๓๐ วัน หลงั สน้ิ ไตรมาส ๓.๔) จัดทำรายงานผลการดำเนินการเป็นลายลักษณ์อักษร วงรอบ ๖ เดือน (มี.ค. และ ก.ย.) และรายปี เสนอหน่วยรบั ผดิ ชอบหลักในการขบั เคลื่อนระดับแนวทางการดำเนินการ ๓.๕) เชิญผู้แทนสว่ นราชการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เข้ารว่ มประชุมหรือใหข้ ้อมลู ได้ตามความเหมาะสม ๓.๖) ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ตามที่เจ้าภาพขบั เคล่ือนแนวทางการพฒั นามอบหมาย แผนบรู ณาการขับเคลอ่ื นแผนปฏบิ ัติการด้านการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๘

เจา้ ภาพขบั เคลอื่ นแนวทางการพัฒนา : ยก.ทหาร หน่วยรับผดิ ชอบ หน่วยรับผิดชอบ แนวทางการดำเนินการ แนวทางการดำเนินการ กิจกรรม สปท. แนวทางการดำเนนิ การที่ ๑ การฝึกศกึ ษาทางทหาร และ กพ.ทหาร ยก.ทหาร การพฒั นาแผนทางทหาร ยก.ทหาร ยก.ทหาร การเสริมสร้างทักษะความรสู้ ำหรับการปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร การพัฒนาสมรรถนะกำลงั พลและหน่วยให้ครบถว้ นตาม ยก.ทหาร ยก.ทหาร วตั ถุประสงค์การฝึก กร.ทหาร ขว.ทหาร การปรับปรงุ และพัฒนาแผน คำส่งั หลักนยิ ม กฎ ระเบยี บ ยก.ทหาร กบ.ทหาร ปฏบิ ตั ปิ ระจำ และประมาณการขา่ วกรอง ครอบคลุมทุกมิติ สส.ทหาร และทกุ ระดับความรุนแรง แนวทางการดำเนินการท่ี ๒ การเสริมสร้างขีดความสามารถ ยก.ทหาร ดา้ นการปฏบิ ตั ิการร่วม การพัฒนาระบบการควบคุมบังคับ กบ.ทหาร บญั ชา และการปฏิบัตกิ ารท่ใี ชเ้ ครือข่ายเปน็ ศนู ย์กลาง(NCO) นทพ. การพัฒนาและปรับปรงุ ระบบควบคมุ บังคับบัญชา และ การประสานสอดคลอ้ งกบั เหลา่ ทัพ และกลไกความรว่ มมือกับ กร.ทหาร หนว่ ยงานอ่ืนๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกับการปอ้ งกนั ประเทศ ชด.ทหาร การบรู ณาการระบบงานขา่ วกรองเชอ่ื มต่อแลกเปลีย่ นข้อมูล กร.ทหาร ระหว่างเหล่าทัพและประชาคมขา่ วกรอง การปรบั ปรุงระบบส่งกำลังบำรงุ และการบริหารทรพั ยากร ยก.ทหาร ร่วมกนั การพฒั นาและปรบั ปรงุ ระบบสอื่ สาร เทคโนโลยสี ารสนเทศ และไซเบอรเ์ พ่อื การป้องกันประเทศ แนวทางการดำเนนิ การท่ี ๓ การเสริมสร้างขดี ความสามารถ ดา้ นการปอ้ งกนั ประเทศของเหล่าทพั การพัฒนาขีดความสามารถและการรกั ษาระดับความพร้อม ดา้ นยทุ โธปกรณ์และระบบปฏบิ ตั ิการทางทหาร การพัฒนาขดี ความสามารถในการจัดหาและสง่ กำลงั บำรุง รวมถงึ การแสวงประโยชน์ทางทหารจากภาคสว่ นตา่ งๆ การพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานทางคมนาคมรองรับการสง่ กำลัง บำรุงในอนาคตเม่ือเกิดสถานการณ์ แนวทางการดำเนนิ การท่ี ๔ ระบบงานมวลชน เพอ่ื การปอ้ งกนั ประเทศ การจัดระบบฐานข้อมลู เครือข่ายภาคประชาชนสนบั สนุน การป้องกันประเทศ การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการจัดระเบียบพ้นื ที่ ชายแดน และการรักษาความสงบภายในท้องถน่ิ การประชาสัมพนั ธส์ ร้างแรงสนับสนุนกองทัพเพ่ือการป้องกัน ประเทศ แนวทางการดำเนนิ การที่ ๕ แนวทางการปฏบิ ตั ิภารกจิ ป้องกนั ประเทศ การเฝา้ ระวงั และตรวจการณ์ทกุ มิติ (ทางบก ทางทะเล และ ทางอากาศ) อยา่ งมีประสิทธิภาพ แผนบูรณาการขบั เคลอื่ นแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๒๙

แนวทางการดำเนนิ การ หน่วยรับผิดชอบ หน่วยรับผดิ ชอบ การรักษาความมนั่ คงและแก้ไขปญั หาสถานการณ์ แนวทางการดำเนนิ การ กจิ กรรม ตามแนวชายแดน ยก.ทหาร การปฏบิ ัตกิ ารเฉพาะกจิ ทางบก ทางเรือ และตามลำน้ำ ยก.ทหาร ยก.ทร. แนวทางการดำเนินการที่ ๖ การสร้างความร่วมมือกับประเทศ ชด.ทหาร เพ่ือนบา้ นภายใต้กรอบงานความมั่นคงชายแดน ยก.ทหาร ขว.ทหาร การปฏิบตั งิ านของกลไกการพัฒนาความร่วมมือรักษา ชด.ทหาร ความสงบเรยี บร้อยบรเิ วณแนวชายแดนทางบกและการแก้ไข ปัญหารว่ มกนั ยก.ทหาร การจัดกจิ กรรมความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้ ยก.ทหาร กรอบงานความมัน่ คงชายแดนทางบก การทบทวนและปรบั ปรงุ ประเดน็ ความขัดแย้งต่างๆ เพื่อแก้ไข ยก.ทหาร ปญั หาได้อยา่ งครอบคลุมและครบถ้วน แนวทางการดำเนนิ การที่ ๗ การปฏบิ ตั ภิ ารกิจรักษาสนั ตภิ าพ และการช่วยเหลือดา้ นมนุษยธรรมระหว่างประเทศ การเตรียมความพร้อมในการสนบั สนนุ การปฏิบตั ิการเพื่อ สันตภิ าพและการชว่ ยเหลือดา้ นมนุษยธรรมระหว่างประเทศ การแสดงบทบาทของกองทพั ไทยในการดำเนนิ งานด้านการ ปฏิบตั กิ ารเพ่ือสันติภาพและการช่วยเหลือดา้ นมนุษยธรรม ระหว่างประเทศของสหประชาชาติ ภาคคี วามร่วมมือระดบั ภมู ภิ าค และมิตรประเทศ การดำรงบทบาทของกองทัพไทยในการขบั เคลื่อนการ ปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือสนั ติภาพและการช่วยเหลือด้านมนษุ ยธรรม ระหวา่ งประเทศของอาเซียน แผนบูรณาการขับเคลือ่ นแผนปฏบิ ตั กิ ารด้านการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๐

แผ่นภาพแสดงหนว่ ยงานรับผดิ ชอบแต่ละระดบั สอดคลอ้ งกบั แผนระดบั ที่ ๑ ๒ และ ๓ ๔) กระบวนการถา่ ยทอดเป้าหมาย ตัวชวี้ ดั ดำเนินการบนหลักคิดแบบ Objectives and Key Results (OKR) โดยมุ่งเน้นวัตถุประสงค์หลัก (Objectives) ซึ่งเป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/เป้าหมายที่จะไปให้ถึงและมีผลลัพธ์หลัก (Key Results) คือ วิธีการ ทำให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งเป้าหมายไว้ โดยกำหนดค่าความสำเร็จที่ทำให้จุดมุ่งหมายนั้นบรรลุผล โดยมีขั้นตอน การดำเนนิ การ ดังน้ี ๔.๑) การนิยามเป้าหมาย โดยนำเป้าหมายที่กำหนดไว้มาจัดทำรายละเอียดนิยาม โดยเฉพาะ เป้าหมายที่มีความเป็นนามธรรมสูง ส่งผลให้การถ่ายทอดเป้าหมายไปสู่การปฏิบัติเป็นไปได้ยาก ซึ่งการกำหนด นิยามของเป้าหมายควรกำหนดให้มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรมในลักษณะผลลัพธ์สุดท้าย (Outcome) ที่ต้องการให้เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อนเพื่อให้การถ่ายทอดเป้าหมายสู่การปฏิบัติมีแนวทางที่ชัดเจนและปฏิบัติ ได้จริง โดยเจ้าภาพขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนา และหน่วยรับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อนระดับแนวทาง การดำเนนิ การร่วมกนั กำหนดนยิ ามของเป้าหมาย ๔.๒) การกำหนดค่าเป้าหมาย กำหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จรายปี โดยอา้ งอิงข้อมูลจากฐานเดิม (Baseline ปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) เพื่อให้สามารถมีฐานคิดค่าเป้าหมายได้ชัดเจน โดยอาจคำนึงถึงวิธีการวัดค่า เปา้ หมายตวั ชวี้ ดั ๔.๓) การกำหนดองค์ประกอบชี้วัดความสำเร็จของเป้าหมาย องค์ประกอบฯ หมายถึง ปัจจัยการชี้วัด ความสำเร็จ (Key Success Factors) ที่กำหนดไว้ผ่านการนิยามเป้าหมาย ซึ่งเมื่อหน่วยงานได้จัดทำ รายละเอียดนิยามของเป้าหมายให้มีความชัดเจนแล้ว จำเป็นต้องกำหนดองค์ประกอบชี้วัดความสำเร็จ ของเป้าหมายว่าในการขับเคล่ือนงานจำเปน็ ต้องดำเนินการให้เกิดสง่ิ ใดบ้างเพ่ือบ่งชี้วา่ เป้าหมายนั้น สามารถบรรลุ ผลสมั ฤทธิ์ตามนิยามเป้าหมายท่ไี ด้กำหนดไวใ้ นภาพรวมได้ แผนบรู ณาการขับเคล่อื นแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๑

๔.๔) การกำหนดปัจจัยการชี้วัดความสำเร็จขององค์ประกอบ ปัจจัยฯ หมายถึง สิ่งบ่งชี้ว่า การดำเนินการตามองค์ประกอบฯ สามารถบรรลุเป้าหมายได้ โดยกำหนดในลักษณะปัจจัยย่อยของแต่ละ องค์ประกอบฯ ว่าในการดำเนินการให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ในแต่ละองค์ประกอบฯ จำเป็นต้องประกอบด้วยปัจจัยฯ ใดบา้ ง ซง่ึ อาจเป็นในลักษณะปจั จยั เชิงปริมาณทม่ี ีฐานข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ทน่ี ำมาวดั ผลได้จรงิ ๒.๓ กลไกสร้างการรบั รู้ เนื่องจากยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นเรื่องใหม่สำหรับกองทัพไทย และประเทศไทย โดยรวม ที่ผา่ นมาประเทศไทยไม่เคยมยี ุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปีมากอ่ น การเชื่อมโยงสอดคล้องของแผนทั้ง ๓ ระดับ จึงเป็นเรื่องใหม่สำหรับหัวหน้าส่วนราชการและกำลังพลที่ปฏิบัติงานด้านการวางแผน ที่จะดำเนินงานให้บรรลุ เป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ชาติ และเชื่อมโยงกับภารกิจของกระทรวงกลาโหมทั้งส่วนกลาง และระดับพื้นที่ การสร้างการรับรู้ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติสำหรับหน่วยงานส่วนกลางและพื้นที่ อยู่ภายใต้ทฤษฎีสรา้ งการรับรู้ และ ทฤษฎีการสือ่ สาร มปี ระเด็นสำคัญสร้างการรบั รเู้ กี่ยวกบั ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนในทุกระดบั ดังแผนภาพ การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการวางแผน การพัฒนาหัวหน้าส่วนราชการ และกำลังพลให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนและพัฒนา ตนเองที่ยืดหยุน่ พร้อมปรับปรุงการปฏิบตั ิงานให้ทนั กบั การเปล่ียนแปลง รวมถึงสามารถนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ในการพัฒนาเพื่อเร่งเสริมสร้างศักยภาพและประสิทธิภาพการทำงานด้านการวางแผน ทั้งนี้ ส่วนราชการสามารถ เพิ่มความสามารถการปฏิบัติงานของหัวหน้าส่วนราชการ และกำลังพลตามบทบาท ภาระงาน และหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้สำเร็จลุล่วงอย่างมีคุณภาพ มีความถูกต้องได้มาตรฐาน รวดเร็ว ทันเวลา คุ้มค่า และเกิดประโยชน์ สงู สุด โดยเฉพาะสถานการณ์ทท่ี า้ ทายและมีการเปล่ยี นแปลง ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยดี ิจิทลั รวมถึงการรบั มือ กบั ความปกติใหม่ หรือฐานวถิ ีชวี ิตใหม่ (The New Normal) หลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ ซึ่งจะทำให้หน่วยงานประสบความสำเร็จในการขับเคลื่อนแผนระดับ Z Y และ X มีขั้นตอน ดังแผนภาพ แผนบรู ณาการขับเคลอ่ื นแผนปฏิบตั ิการดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๒

๒.๔ การรายงานผลการดำเนินการโครงการ กำหนดให้รายงานผลการดำเนินโครงการสำคัญประกอบแผนปฏิบัติการฯ ที่ไม่มีชั้นความลับผ่าน ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and Country Reform - eMENSCR) และรายงานต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนย่อยฯ สำหรับการ รายงานผลการดำเนนิ โครงการสำคญั ท่มี ชี ัน้ ความลับใหร้ ายงานตอ่ คณะกรรมการขับเคลื่อนแผนยอ่ ยฯ โดยตรง ทั้งนี้ เพื่อให้การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ภายใต้กรอบแนวทางข้างต้นสามารถดำเนินการได้อย่าง มีประสิทธิภาพ กลไกการขับเคลื่อน ทั้งเจ้าภาพขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนา หน่วยรับผิดชอบแนวทางการ ดำเนินการและหน่วยรับผิดชอบกิจกรรม/ส่วนราชการเจ้าของโครงการ ต้องทำงานอย่างประสานสอดคล้อง และสง่ เสรมิ การบูรณาการและประสานงานในการนำแผนปฏบิ ัติการฯ ไปสู่การปฏบิ ัตอิ ย่างเปน็ รูปธรรม รวมทั้ง ส่วนราชการเจ้าของโครงการ มีการกำหนดแผนงานหรือโครงการสำคัญรองรับ เพื่อสนับสนุนและประสาน แผนบูรณาการขับเคลอ่ื นแผนปฏบิ ัติการด้านการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๓

การบูรณาการการดำเนินงานให้เกิดความเชื่อมโยงและสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนการติดตาม ผลการดำเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบ ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) เป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่คณะรัฐมนตรี เห็นชอบให้เป็นเครื่องมือหลักใช้ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของทุกหน่วยงานของรัฐ ผ่านแผนงาน โครงการ หรือการดำเนินการต่างๆ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติและ แผนปฏริ ปู ประเทศ โดยเปน็ ระบบข้อมลู ขนาดใหญ่ที่เช่อื มโยงข้อมูลจากสว่ นราชการต่างๆ ไดอ้ ยา่ งบรู ณาการ สำหรับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องจะต้องนำเข้าข้อมูลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ และรายงาน ผลการดำเนนิ งานทกุ โครงการ/การดำเนินงาน/กิจกรรม ตามระเบียบการติดตามและประเมินแห่งชาติ เพอื่ สะท้อน ผลผลิตและผลลพั ธ์ของการดำเนินงานที่สง่ ผลตอ่ การบรรลุเป้าหมายของแผนระดับตา่ งๆ ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ กำหนดช่องทางระบบการดำเนินงาน M1 – M7 นำเข้าข้อมูลของ ทุกโครงการ/การดำเนินงาน พร้อมทง้ั ส่งอนุมัตขิ ้อมูล (M7) ในระบบ eMENSCR ภายในเวลาที่กำหนด จำแนกดงั นี้ M1 ความเช่อื มโยงกบั แผนในระดับตา่ งๆ M2 ขอ้ มูลทัว่ ไป M3 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ M4 แนวทางการดำเนนิ การ M5 งบประมาณ M6 ผลการดำเนินงาน ปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอ M7 การอนมุ ตั ิตามลำดบั การบังคับบญั ชา แผนบรู ณาการขับเคลอื่ นแผนปฏิบตั ิการด้านการปกป้องอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๔

การดำเนินงานมีขน้ั ตอนดำเนินงาน ดงั นี้ ๑) นำเข้าข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการตามระบบติดตามและประเมินผลฯ โดยเชื่อมโยงฐานข้อมูล เข้ากับระบบ M1 – M5 ภายในไตรมาสที่ ๑ ของปีงบประมาณ หากเป็นโครงการที่เริ่มตน้ ในไตรมาสอื่น ให้นำเขา้ ข้อมลู ภายใน ๓๐ วนั หลังสิน้ ไตรมาส ๒) รายงานผลการดำเนนิ การ เปน็ รายไตรมาส เขา้ ในระบบฯ ใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายใน ๓๐ วนั หลงั สน้ิ ไตรมาส - ไตรมาสท่ี ๑ ระบบเปิดระหวา่ งวันท่ี ๑ - ๓๐ มกราคม - ไตรมาสที่ ๒ ระบบเปิดระหวา่ งวนั ท่ี ๑ - ๓๐ เมษายน - ไตรมาสท่ี ๓ ระบบเปดิ ระหวา่ งวนั ที่ ๑ - ๓๐ กรกฎาคม - ไตรมาสที่ ๔ ระบบเปิดระหว่างวันท่ี ๑ - ๓๐ ตลุ าคม ๓) นำเข้าแผนระดบั ท่ี ๓ และกรอกข้อมลู ตามรูปแบบที่กำหนดในระบบฯ ได้ตลอดเวลา หลงั จากแผนได้รับ การอนุมัติและประกาศใช้ โดยมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำเข้าข้อมูล โดยต้องผ่านการอนุมัติ ตามลำดับ (M7) ๔) ดำรงความต่อเนื่องในการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้ากับระบบฯ เพื่อให้ระบบฯ มีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ กรณีที่หน่วยงานต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการเชื่อมโยงฐานข้อมูลแล้วเสร็จภายในระยะเวลา ต้องชี้แจงเหตุผล ใหก้ องบัญชาการกองทัพไทยไดร้ ับทราบ และกำหนดแนวทางรูปแบบการรายงานในวิธีอนื่ ๆ ตอ่ ไป ๓. การตดิ ตาม และประเมินผล (Check) การตดิ ตามและประเมินผลเป็นสิ่งท่ีมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะชว่ ยให้ทราบว่า โครงการที่ดำเนินการบรรลุ วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ต้องการมากน้อยเพียงใด มีประสิทธิภาพหรือไม่ ผลจากการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลจะให้ข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จ จุดแข็ง จุดอ่อน และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข การดำเนินงาน ชว่ ยให้การบริหารแผนงาน/โครงการ/งบประมาณ มปี ระสิทธภิ าพสูงยิ่งข้ึน ซึง่ การบริหารแผนงาน/ โครงการ/งบประมาณ ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การปฏิบัติตามแผน (Implementation) การควบคุม (Control) และการประเมินผล (Evaluation) มีความสำคัญเท่ากันทุกส่วน ถ้าขาดส่วนหนึ่งส่วนใด หรือส่วนหน่งึ ส่วนใดขาดประสทิ ธภิ าพ ก็จะสง่ ผลต่อประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารทั้งหมด แผนบูรณาการขับเคล่อื นแผนปฏบิ ัติการดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๕

การตดิ ตาม และประเมินผล มคี ำสองคำซึ่งมีความหมายเฉพาะตวั ทแ่ี ยกจากกันไดช้ ดั เจน คือ คำว่า \"ติดตาม\" (Monitoring) และคำวา่ \"ประเมินผล\" (Evaluation) ทง้ั สองคำดังกลา่ วมีวธิ ที ำงานท่ีแตกต่างกนั ดังน้ี การตดิ ตาม เปน็ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การปฏบิ ัตงิ านตามแผนที่มกี ารกำหนดไวแ้ ลว้ เพื่อนำขอ้ มูลมาใช้ในการ ตดั สนิ ใจ แกไ้ ข ปรบั ปรุงวิธีการปฏบิ ตั ิงานใหเ้ ปน็ ไปตามแผน หรือกำหนดวธิ ีการดำเนนิ งานให้เกดิ ผลดีย่งิ ขน้ึ ดังน้ัน จุดเน้นที่สำคญั ของการตดิ ตาม คือ การปฏิบัติการตา่ งๆ เพื่อการตรวจสอบ ควบคุม กำกับดูแลการปฏิบัติงานของ โครงการ การติดตาม จะเกดิ ข้นึ ในขณะทโ่ี ครงการกำลังดำเนินงานตามแผนท่ีกำหนดไว้ การประเมินผล เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และนำผลมาใช้ในการ เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของการดำเนินโครงการ การประเมินผลจะเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของโครงการ นับตั้งแต่ก่อนตัดสินใจจัดทำโครงการ ในขณะดำเนินงานในช่วงระยะต่างๆ และเมื่อโครงการดำเนินงานเสร็จแล้ว หรือประเมินผลกระทบท่ีเกิดขึน้ จากการดำเนินโครงการ บางมิตินำามาใชใ้ นการประเมินความสำเร็จของโครงการ ว่าบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของโครงการท่ตี ง้ั ไว้หรือไม่ มีปญั หา หรืออปุ สรรคอะไรบา้ ง ความแตกตา่ งและสว่ นทซ่ี ้ำซ้อนกันของการตดิ ตามและประเมินผล คือ การติดตาม (Monitoring) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่า ได้มีการดำเนินการในขั้นตอนต่างๆ ของโครงการที่กำหนดได้อย่างไร ข้อมูลที่ได้จะนำมาประกอบเป็นเครื่องมือ ควบคุม กำกับดูแลการดำเนินงาน ในขณะปฏบิ ตั ิโครงการโดยตรง ทงั้ ในดา้ นปัจจัย (Input) ดา้ นกระบวนการดำเนินงาน (Process) และด้านผลผลิต (Output) สำหรับการประเมินผล (Evaluation) มีขอบข่ายกว้างขวาง ขึ้นอยู่ว่าจะประเมินในขั้นตอนใดของโครงการ เช่น ก่อนเริ่มโครงการ ขณะดำเนินโครงการซึ่งอาจดำเนินการเป็นช่วง เป็นระยะต่างๆ เช่น ทุก ๓ เดือน ๖ เดือน และรายปี ประเมินเมื่อโครงการดำเนินงานไประยะครึ่งโครงการ เป็นต้น หรือเป็นการประเมินผลเมื่อโครงการ ดำเนนิ การเสรจ็ สนิ้ แลว้ องค์กรต่างๆ ต้องมีการผลักดันขับเคลื่อนการดำเนินงานตามพันธกิจให้บรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร พร้อมกับ การตดิ ตามและประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ โดยอาศัยระบบตวั ช้ีวดั ผลงาน ในหลายมิติและหลายระดับ เช่น ตวั ชวี้ ัด ท่ีผบู้ ริหารของส่วนราชการที่เป็นผูน้ ำองค์กรได้พจิ ารณา หรอื เห็นชอบ กำหนดเป็น “ ตวั ชี้วดั สำคัญขององค์กร ” ที่สะท้อนถึงความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์ การบรรลุพันธกิจหลัก แผนงานและโครงการที่สำคัญ รวมทั้ง กำหนดค่าเป้าหมายของการดำเนินการของตัวชี้วัด เพื่อใช้ในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ขององค์กร รวมตลอดถึงส่วนราชการภายใต้การบริหาร โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์กับระบบงบประมาณแบบมุง่ เน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ซ่ึงมุ่งเนน้ ผลผลติ ผลลพั ธ์ และผลบ้ันปลายทเ่ี น้นใหม้ กี ารวดั และประเมนิ ผลงาน ในขณะทกี่ ารจัดทำ งบประมาณที่มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ซึ่งมีการจัดสรรงบประมาณให้ตามผลงานที่กำหนดไว้ในแผน โดยผลผลิตและงบประมาณจะต้องสอดรับกันและผลงานสามารถตรวจสอบและอ้างอิงเอกสารได้ ประกอบกับ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ให้ความสำคัญตอ่ การรับผิดชอบผลงาน ด้วยการควบคุมผลสัมฤทธิ์เช่ือมโยงกับ งบประมาณ เน้นการทำงานแบบบูรณาการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในเชิงระบบทั้ง ส่วน กระบวนการและผลลพั ธ์ แผนบรู ณาการขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ัติการด้านการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๖

แนวทางของการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตย และผลประโยชน์ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) มดี ังนี้ ๑) การติดตาม และประเมินผลโดยคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนย่อยการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามทีก่ ระทบต่อความมั่นคงของชาติ เป็นกลไกในการตรวจสอบและประเมินผลระดบั ชาติ ในการติดตาม ตรวจสอบ การดำเนินงานของส่วนราชการที่เก่ียวข้องกับแผนย่อย การพฒั นาศักยภาพของประเทศ ให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ ตามภารกิจหรือนโยบายสำคัญเร่งด่วน ในลักษณะการป้องกันและประเมินความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง และให้ข้อเสนอแนะหรือ แนวทางแก้ไขไปยังส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยมีบทบาทในการวางนโยบาย แนวทางการตรวจสอบ และกำหนด ประเดน็ การตรวจสอบและประเมินผลประจำปี หรือตามวงรอบท่ีกำหนด ๒) การติดตาม และประเมินผลโดยเจ้าภาพขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนา ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการตดิ ตามและประเมินผลการดำเนินการตามแนวทางการพัฒนา การปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ ภายใต้แผนย่อย การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ จะดำเนนิ การตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ใน ๒ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ๒.๑) การติดตาม และประเมินผลโครงการเชิงลึก เป็นการติดตาม และประเมินผลเพื่อให้ได้ข้อมูล ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ คณะกรรมการขบั เคล่ือนแผนยอ่ ยฯ ในการกำกบั ดแู ลการดำเนินงานของส่วนราชการทเี่ กี่ยวข้อง ให้สามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนปฏิบัติการฯ และมีความสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทต่าง ๆ โดยการคัดเลือกโครงการที่มีความสำคัญสูงต่อการขับเคลื่อนแนวทางการดำเนินการ และกิจกรรมต่างๆ และดำเนนิ การตดิ ตามประเมนิ ผลใน ๒ สว่ น ดังน้ี (๑) ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลสำเร็จของการดำเนินงาน ทั้งความสอดคล้องของ การดำเนนิ งานกบั วัตถปุ ระสงค์และกรอบระยะเวลาของโครงการ รวมถึงความสำเร็จในการบรรลุผลตามเป้าหมาย ผลผลิต และผลลัพธ์ตามที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งศึกษาวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงาน และเสนอแนะ แนวทางแก้ไข (๒) ประเมินผลกระทบจากการดำเนินงาน ทั้งผลกระทบทางตรงและทางอ้อม ซึ่งครอบคลุม ทั้งในมิติความมั่นคง และสภาพแวดล้อมในสว่ นที่เกี่ยวข้อง โดยอาจเป็นการประเมินผลกระทบที่เกิดในระดับชาติ ระดับพื้นที่ปฏิบัติการ หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย (กำลังพล ระบบปฏิบัติการ ยุทโธปกรณ์ มวลชน ประเทศเพ่อื นบา้ น องคก์ รต่างๆ ทั้งภายในและต่างประเทศ) ๒.๒) การติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ในภาพรวม โดยรวบรวม และประมวลข้อมูลที่ส่วนราชการต่างๆ รายงานผลการดำเนินการผ่านระบบ eMENSCR เพื่อใช้ในการประเมิน ความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์ในภาพรวมของการบรรลุเป้าหมายของแผนปฏิบัติการฯ รวมถึงความสำเร็จ ของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนย่อยฯ (Y1) และจัดทำเป็นรายงานผล การดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการฯ อยา่ งน้อยปีละ ๑ ครง้ั และนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการขับเคล่ือนแผนย่อยฯ และกลไกอนื่ ๆ ตอ่ ไป แผนบูรณาการขับเคล่ือนแผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๗

๓) การติดตาม และประเมินผลโดยหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อนระดับแนวทางการดำเนินการ ในฐานะทรี่ ับผิดชอบแนวทางการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการฯ จะดำเนนิ การติดตาม และประเมนิ ผลเป้าหมายและ ตัวชวี้ ดั ระดับแนวทางการดำเนินการ โดยตรวจสอบวา่ โครงการสำคญั ท่กี ำหนดไว้ได้ดำเนินการเป็นไปตามห้วงเวลา ที่กำหนดหรือไม่ สามารถสนองตอบต่อเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับแนวทางการดำเนินการอย่างไร มีปัญหาและ อุปสรรคในการดำเนินงานของแนวทางการดำเนินการอย่างไร และจัดทำเป็นข้อเสนอแนะในการทบทวนและ ปรับปรงุ แผนปฏิบัตกิ ารฯ ต่อเจ้าภาพขับเคลอ่ื นแนวทางการพฒั นาตอ่ ไป ๔) การติดตาม และประเมินผลโดยหน่วยงานรับผิดชอบรองในการขับเคลื่อนกิจกรรม/ส่วนราชการ เจ้าของโครงการ ในฐานะที่รับผิดชอบกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการฯ หรือเป็นส่วนราชการเจ้าของโครงการ จะดำเนินการติดตาม และประเมินผลเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับกิจกรรม โดยตรวจสอบว่าโครงการสำคัญ ที่กำหนดไว้ตอบสนองต่อเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับกิจกรรมอย่างไร วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ในระหว่างการปฏิบัติ รวมทั้งพิจารณาแนวทางการปรับเปลี่ยนโครงการให้ทันสมัย เหมาะสม และสอดคล้องกับ เปา้ หมายและตวั ช้ีวัดของแผนปฏบิ ัติการฯ มากย่งิ ข้นึ ๔. การทบทวน ปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการดำเนนิ งาน (Act) เป็นการปรับปรุงการดำเนินการอย่างเหมาะสม หรือการจัดทำมาตรฐานใหม่ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานของ การยกระดับคุณภาพ ทุกครั้งที่การดำเนินงานตามวงจร PDCA หมุนครบรอบ ก็จะเป็นแรงส่งสำหรับ การดำเนนิ งานในรอบต่อไป และกอ่ ให้เกิดการปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเนื่อง แผนบรู ณาการขบั เคลอ่ื นแผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๘

แนวทางการทบทวน ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการดำเนินงาน มีดังนี้ ๑) เจา้ ภาพขบั เคลอ่ื นแนวทางการพัฒนา ดำเนินการวิเคราะห์ ประมวลข้อมลู และรายงานผลการดำเนินงาน ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนย่อย การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อ ความมัน่ คงของชาติ เพอ่ื ขอความเหน็ ชอบในการรายงานใหส้ ภากลาโหมได้รบั ทราบ ๒) ดำเนินการจดั ทำรายงานผลสัมฤทธิ์ และนำเข้าในระบบ eMENSCR ๓) ทบทวนผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ เพื่อศึกษาปัญหา และอุปสรรคในการดำเนินงาน สำหรับ การทบทวนและปรับปรงุ แผนปฏิบัติฯ ตามห้วงเวลาหรอื ตามสถานการณ์ด้านความมั่นคงทเ่ี ปล่ยี นแปลงไป รวมท้ัง เพื่อใช้ในการกำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงานในห้วงต่อไป โดยดำเนินการให้ครอบคลุมการปรับปรุงแก้ไข วัตถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชี้วัดรวม เป้าหมายและตัวชี้วัดในระดับแนวทางการดำเนินการ เป้าหมายและ ตัวช้วี ดั ในระดบั กจิ กรรม ตลอดจนการพจิ ารณาคดั เลือกโครงการสำคญั รองรับในแต่ละกจิ กรรม ท่ีมีความเหมาะสม มากยิง่ ข้ึนเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป ๔) สำหรับกรณีที่สถานการณ์ของโลกหรือสถานการณ์ด้านความมั่นคงของประเทศเปลี่ยนแปลงไป จนไม่สามารถหรือไม่เหมาะสมที่จะดำเนินการตามเป้าหมายของแผนปฏิบัติการด้านการปกป้องอธิปไตย และผลประโยชน์ของชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ให้เจ้าภาพขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนา ขอความเห็นชอบจาก สภากลาโหม เพื่อขอคำแนะนำการดำเนินงานให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และนำมาทบทวน ปรับปรุง และพฒั นาแผนฯ ให้เหมาะสมมากย่งิ ขนึ้ แผนบรู ณาการขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๓๙

บทที่ ๓ การแบง่ มอบหน่วยงานรับผิดชอบและแหล่งข้อมลู ตัวชว้ี ัด หน่วยรับผดิ ชอบ แหลง่ ข้อมลู แนวทางการดำเนนิ การที่ ๑ การฝึกศึกษาทางทหาร กพ.ทหาร และการพฒั นาแผนทางทหาร (แนวทางฯ) ยก.ทหาร - ร้อยละของความครบถว้ นของการฝึกตามวตั ถปุ ระสงค์การฝึก ทก่ี ำหนด มกี ารฝึกทดสอบแผนป้องกนั ประเทศร่วมกับหนว่ ยงานภายนอก สปท. กพ.ทหาร เพม่ิ มากข้นึ (การฝกึ ร่วม การฝกึ ร่วม/ผสม) (กจิ กรรม) ยก.ทหาร - ร้อยละของกำลังพลทีม่ สี มรรถนะตามมาตรฐานประจำตำแหน่ง - แผนปอ้ งกันประเทศมีความครบถว้ น สมบูรณ์ อยา่ งประสานสอดคลอ้ ง ยก.ทหาร กพ.ทหาร สปท. กับการใชก้ ำลงั (กิจกรรม) ยศ.ทบ. ยศ.ทร. ยศ.ทอ. กิจกรรมที่ ๑การเสริมสรา้ งทักษะความรูส้ ำหรับการปฏิบัติการทางทหาร ๑. ร้อยละของกำลงั พลที่เข้ารับการอบรมหลกั สตู รตามแนวทางของ ยก.ทหาร กพ.ทหาร สปท. สายวิทยาการสำเรจ็ ตามหลักสตู รทีก่ ำหนด (กิจกรรม) ยศ.ทบ. ยศ.ทร. ยศ.ทอ. ๒. รอ้ ยละของจำนวนกิจกรรมท่ีสามารถดำเนินการได้ ตามแผนการจดั การความรู้ของหนว่ ย ยก.ทหาร กพ.ทหาร กจิ กรรมที่ ๒ การพัฒนาสมรรถนะกำลงั พลและหนว่ ยให้ครบถว้ น (แนวทางฯ) ยก.ทหาร ตามวัตถุประสงคก์ ารฝกึ ยก.ทหาร ยก.ทบ. ยก.ทร. ๑. ระดับความสำเร็จของการจัดทำมาตรฐานประจำตำแหน่งของ บก.ทท. ยก.ทหาร เพ่ือนำมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการกำลังพล ยก.ทบ. ยก.ทร. ๒. รอ้ ยละผูส้ ำเร็จการฝึกทบทวนชุดสนบั สนนุ ทางยทุ ธวธิ ี ๓. ร้อยละของความครบถ้วนของการฝึกตามวตั ถปุ ระสงค์การฝึกตามที่กำหนด ยก.ทหาร มีการทดสอบแผนป้องกันประเทศร่วมกบั หน่วยงานภายนอกเพ่มิ มากขึ้น ยก.ทบ. ยก.ทอ. ๔. ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละของคะแนนประเมนิ ผลการฝึก ขว.ทหาร ขว.ทบ. กิจกรรมท่ี ๓ การปรับปรงุ และพัฒนาแผน คำสง่ั หลักนยิ ม กฎ ระเบยี บ ยก.ทหาร บก.ศบท. ปฏบิ ัติประจำ และประมาณการข่าวกรอง ครอบคลมุ ทุกมติ ิและทกุ ระดับ ยก.ทบ. ยก.ทร. ยก.ทอ. ความรนุ แรง ๑. มี แผน คำสงั่ หลกั นิยม กฎ ระเบียบปฏิบัติประจำ ทนี่ ำไปใช้ ได้จรงิ อย่างมีประสิทธภิ าพ และสอดคล้องกบั สถานการณใ์ นปจั จุบนั ๒. ร้อยละของระดับความครบถ้วนของประมาณการข่าวกรอง มีความทันสมัย สอดคล้องกบั วงรอบการจัดทำ ทบทวน และปรับปรงุ แผนปอ้ งกันประเทศ แนวทางการดำเนินการที่ ๒ การเสริมสร้างขดี ความสามารถ ด้านการปฏบิ ตั ิการร่วม การพฒั นาระบบการควบคมุ บังคบั บัญชา และการปฏิบัติการทใ่ี ช้เครือขา่ ยเปน็ ศูนยก์ ลาง (NCO) - รอ้ ยละของความครบถ้วนตามเกณฑ์ทกี่ ำหนดในการพฒั นาความพรอ้ ม ของกลไกการอำนวยการปฏบิ ตั ิการทุกระดับ (ศนู ยบ์ ัญชาการทางทหาร แผนบรู ณาการขบั เคล่อื นแผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปกปอ้ งอธปิ ไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๔๐

ตัวช้ีวดั หน่วยรบั ผดิ ชอบ แหลง่ ขอ้ มลู และศูนยป์ ฏิบัติการเหลา่ ทพั ) ในการอำนวยการปฏบิ ตั ิการร่วมเพือ่ เผชญิ ภยั คุกคามทางทหารทุกรูปแบบ ทกุ มิติ และทกุ ระดับสถานการณ์ ยก.ทหาร กิจกรรมท่ี ๑การพัฒนาและปรับปรุงระบบควบคุมบังคับบัญชา และการประสาน (กิจกรรม) สอดคล้องกบั เหล่าทพั และกลไกความร่วมมอื กับหน่วยงานอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง กบั การป้องกนั ประเทศ ขว.ทหาร ยก.ทหาร ๑. ระดับดัชนีความสำเร็จของการสร้างกลไกบูรณาการกับกระทรวงกลาโหม (กิจกรรม) ยก.ทบ. ยก.ทร. เหล่าทัพ และหนว่ ยงานดา้ นความมนั่ คง ๒. ร้อยละความสำเรจ็ ของการพัฒนาข้อมลู สารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการตดั สินใจ ยก.ทหาร การกำหนดกลยุทธ์ และการตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน ยก.ทบ. ยก.ทร. กิจกรรมท่ี ๒ การบูรณาระบบงานขา่ วกรอง เช่ือมต่อ และแลกเปลี่ยน ขว.ทหาร ขว.ทบ. ขอ้ มูลระหว่างเหลา่ ทัพและประชาคมข่าวกรอง - รอ้ ยละความสมบูรณข์ องการเช่ือมต่อและแลกเปล่ยี นข้อมลู ระหว่างเหลา่ ทัพ กบทหาร กบ.ทหาร เพื่อการบูรณาการระบบงานข่าวกรองที่สามารถติดตาม วิเคราะห์ ประเมิน (กิจกรรม) สถานการณ์ และแสดงผลไดอ้ ย่างรวดเรว็ กิจกรรมท่ี ๓ การปรบั ปรุงระบบการสง่ กำลงั บำรงุ และการบริหารทรัพยากร สส.ทหาร ร่วมกนั (กจิ กรรม) ๑. ร้อยละความสมบรู ณข์ องระบบเชือ่ มโยงขอ้ มลู ดา้ นการส่งกำลงั บำรุง เพอ่ื การป้องกันประเทศกับหนว่ ยงานตา่ งๆภายในกระทรวงกลาโหม เหล่าทัพ สส.ทหาร สว่ นราชการอ่นื ๆ รวมถึงหนว่ ยงานภาคเอกชน โดยจดั ใหม้ โี ปรแกรมประยกุ ต์/แอพ พลเิ คชันเพอ่ื ใชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ในการสนับสนนุ การตดั สินใจในการกำหนดเสน้ ทาง สส.ทหาร การส่งกำลังบำรงุ การกำหนดตำบลสง่ กำลงั บำรงุ ทเ่ี หมาะสมของผบู้ ังคบั บญั ชา ยก.ทบ. ยก.ทร. และหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง ๒. ระดับดัชนีความพงึ พอใจของผใู้ ช้งานระบบสารสนเทศสนบั สนนุ ภารกจิ สส.ทหาร ด้านการสง่ กำลงั บำรงุ (ภายใตโ้ ครงการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ) ผท.ทหาร กิจกรรมท่ี ๔การพัฒนาและปรบั ปรุงระบบส่ือสารเทคโนโลยีสารสนเทศ และไซเบอร์ เพอ่ื การปอ้ งกนั ประเทศ ผท.ทหาร ๑. ระดับความสำเรจ็ ในการตดิ ตัง้ อุปกรณเ์ พ่อื ปรับปรงุ ระบบเครือขา่ ยการสอื่ สาร ข้อมูล ๒. ระดบั ความสำเร็จในการตดิ ตง้ั ระบบโครงสร้างพืน้ ฐานเครือข่ายการสอื่ สารข้อมลู ๓. ระดบั ความสำเร็จในการพฒั นาระบบสนับสนุนการปฏบิ ตั ริ าชการตามภารกิจ ของสว่ นราชการ ๔. ร้อยละความสำเร็จของการสำรวจและประมวลผลขอ้ มลู ความสงู ภมู ปิ ระเทศด้วย แสงเลเซอร์ (Lidar) ให้ได้แบบจำลองความสงู ภมู ิประเทศตามแผนท่กี ำหนดภายใน ๕ ปี เนอื้ ที่ ๔๐๙,๖๑๕ ตร.กม. ๕. ระดบั ดัชนีวัดความสำเร็จของการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลภูมสิ ารสนเทศ แผนบูรณาการขับเคลอื่ นแผนปฏิบัตกิ ารด้านการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๔๑

ตวั ช้วี ัด หน่วยรบั ผดิ ชอบ แหล่งข้อมลู ของขอ้ มลู แผนที่ฐาน ชุด L7018 ศซบ.ทหาร ๖. ร้อยละความพร้อมทางไซเบอรข์ องกองทัพไทย ยก.ทหาร ยก.ทหาร ๗. ระดบั ดัชนคี ะแนนการใช้ประโยชนจ์ ากกิจการอวกาศในการปฏบิ ตั กิ ารร่วม (แนวทางฯ) แนวทางการดำเนินการที่ ๓ การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการป้องกัน ยก.ทบ. ประเทศของเหลา่ ทพั ยก.ทหาร ยก.ทร. - กำลังทางบก มศี ักยส์ งครามเหนือกว่าประเทศท่ีมอี าณาเขตติดตอ่ กนั ในปี ๗๐ (กิจกรรม) ยก.ทอ. - กำลังทางเรือ มีศักย์สงครามเพียงพอและมีประสิทธิภาพในการป้องกันประเทศ และแกไ้ ขปัญหาในมิติตา่ งๆ ของประเทศตามทีย่ ุทธศาสตร์ ทร. กำหนด กบ.ทหาร ยก.ทหาร สส.ทหาร - กำลังทางอากาศ มีศักย์สงครามของกำลังทางอากาศที่เพียงพอในการป้องกัน (กิจกรรม) ยก.ทบ. ยก.ทร. ยก.ทอ. ประเทศ และการแกไ้ ขปญั หาในมิติต่างๆ ของชาติ ตามที่ ทอ. กำหนด กิจกรรมที่ ๑การพัฒนาขดี ความสามารถและการรักษาระดบั ความพรอ้ ม นทพ. ยก.ทหาร สส.ทหาร ด้านยุทโธปกรณ์และระบบปฏบิ ัตกิ ารทางทหาร (กิจกรรม) ยก.ทบ. ยก.ทร. ยก.ทอ. ๑. ร้อยละอัตราบรรจุจริงของอาวุธ ยุทโธปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่องมือสื่อสาร สป.เฉพาะ เมอื่ เทียบกับ อสอ. อจย. และ อฉก. กร.ทหาร ยก.ทอ. กบ.ทอ. ๒. ระดับดชั นีชี้วัดคุณสมบัติของยุทโธปกรณ์และระบบปฏิบตั กิ ารทางทหาร (แนวทางฯ) นทพ. กิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาขีดความสามารถในการจัดหาและส่งกำลังบำรุง กร.ทหาร รวมถึงการแสวงประโยชนท์ างทหารจากภาคส่วนตา่ งๆ (กิจกรรม) กร.ทหาร - ระดบั ดชั นวี ดั ความสำเร็จด้านการสง่ กำลังบำรุง ชด.ทหาร กร.ทบ. กร.ทร. มท. กิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางคมนาคมรองรับการส่งกำลงั (กิจกรรม) บำรุงในอนาคตเมื่อเกดิ สถานการณ์ กร.ทหาร - อัตราการเพิ่มขึ้นในการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานทางคมนาคม รวมท้ัง เส้นทางยุทธศาสตร์เพื่อความมั่นคงตามแนวชายแดน เพื่อรองรับการส่งกำลัง ชด.ทหาร นทพ. บำรุงในอนาคตเมอ่ื เกิดสถานการณ์ กร.ทบ. มท. แนวทางการดำเนนิ การท่ี ๔ ระบบงานมวลชนเพื่อการป้องกันประเทศ - รอ้ ยละของจำนวนมวลชนเพอ่ื การป้องกนั ประเทศมีความเข้าใจ รับรู้ และสามารถชว่ ยสอ่ื สารสนับสนนุ การปฏิบัติการของกองทัพ - ระดับความสำเร็จในการอบรมเครือขา่ ยภาคประชาชนให้สามารถสนับสนุนการ ปฏิบัตกิ ารของกองทัพ กิจกรรมที่ ๑ การจัดระบบฐานข้อมูลเครือข่ายภาคประชาชนสนับสนนุ การป้องกนั ประเทศ - ระดบั ดชั นกี ารจดั ระบบฐานข้อมูลเครอื ข่ายภาคประชาชน กิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการจัดระเบียบพื้นที่ชายแดน และการรกั ษาความสงบภายในทอ้ งถิน่ - ร้อยละความสำเร็จในการจัดอบรมพัฒนาเครือข่ายประชาชนในพื้นที่ชายแดน และการรกั ษาความสงบภายในท้องถนิ่ แผนบูรณาการขับเคล่ือนแผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๔๒

ตวั ชว้ี ัด หน่วยรบั ผดิ ชอบ แหล่งข้อมลู กิจกรรมที่ ๓ การประชาสัมพันธ์สร้างแรงสนบั สนุนกองทพั เพื่อการป้องกัน กร.ทหาร กร.ทหาร กร.ทหาร กร.ทบ. ประเทศ (กจิ กรรม) กพร.ทร. ๑. ร้อยละของการวิเคราะห์ Social Analytics จากการเผยแพรก่ ารรบั รู้ ยก.ทบ. ยก.ทร. ต่อประชาชนเพ่ือใหเ้ กดิ ความช่ืนชมตอ่ ภาพลกั ษณ์ของกองทพั ไทยในภาพรวม ขว.ทบ. ยก.ทบ. ๒. ร้อยละความสำเร็จจากการมสี ว่ นรว่ มในกิจการพลเรอื น มวลชนสัมพันธ์ ยก.ทหาร ศรภ. ในพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบ ขว.ทบ. แนวทางการดำเนินการท่ี ๕ แนวทางการปฏบิ ัตภิ ารกจิ ป้องกันประเทศ ยก.ทหาร ยก.ทบ. บก.ตชด. - ร้อยละความสำเรจ็ ของการพัฒนาระบบป้องกนั ตามแนวชายแดน อยา่ งนอ้ ย (แนวทางฯ) ยก.ทร. ร้อยละ ๘๕ ของจงั หวดั ชายแดนทงั้ หมด ภายในปี ๒๕๗๐ - ค่าคะแนนดัชนีความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security Index) ในภาพรวม ขว.ทหาร ยก.ทหาร ชด.ทหาร สปท. (Overall Index Score) อยู่ท่ี ๖๙ คะแนน ภายในปี ๒๕๗๐ ยก.ทบ. ยก.ทร. มท. กิจกรรมที่ ๑ การเฝ้าระวังและตรวจการณ์ทุกมิติ (ทางบก ทางทะเล และ ยก.ทหาร ชด.ทหาร ทางอากาศ )อย่างมีประสิทธิภาพ (กจิ กรรม) ยก.ทบ. มท. ๑. ระดับความสำเรจ็ ในการพฒั นาศักยภาพในการเฝ้าระวังและตรวจการณ์ เพื่อตอบสนอง ระงับเหตุวิกฤต และควบคมุ สถานการณไ์ ด้อย่างทนั ทว่ งที ๒. ร้อยละของระบบเฝ้าตรวจและตรวจการณ์ ระบบตรวจจับ (Sensor) และ การสำรวจข้อมูลสภาพพื้นที่ของกองทัพไทยที่สามารถเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบ เครอื ขา่ ยเพ่ือใช้ประโยชนร์ ่วมกันภายใต้มาตรฐานการรักษาความปลอดภยั กจิ กรรมที่ ๒ การรกั ษาความมนั่ คงและแก้ปญั หาสถานการณ์ ยก.ทหาร ตามแนวชายแดน (กิจกรรม) ๑. ร้อยละความสำเร็จของการปฏบิ ตั ิตามคำส่ังป้องกันชายแดน (รายปี) ๒. จำนวนหมู่บ้านเป้าหมายซ่ึง ตชด. ดำเนินกจิ กรรมแก้ไขปัญหาสถานการณ์ ตามแนวชายแดน มคี วามสงบเรียบรอ้ ย ปลอดภยั ตามทห่ี นว่ ยควบคุม ทางยทุ ธการมอบหมาย กจิ กรรมที่ ๓ การปฏบิ ัตกิ ารเฉพาะกิจทางบก ทางเรือ และตามลำนำ้ ยก.ทร. - ระดับความพร้อมของหน่วยเฉพาะกิจของ ทร. ในส่วนของกำลังทางบก (กิจกรรม) กำลังทางเรอื และกำลังทางเรือตามลำนำ้ แนวทางการดำเนินการที่ ๖ การสรา้ งความร่วมมอื กับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้ ยก.ทหาร กรอบงานความม่นั คงชายแดน (แนวทางฯ) - ร้อยละความสำเร็จในการผลักดนั ข้อเสนอหรือข้อตกลงของไทย เพื่อป้องกันและ แกไ้ ขภัยคกุ คามด้านความม่ันคงชายแดนภายใตก้ ลไกความรว่ มมือระหว่างประเทศ ในระดับผนู้ ำระดับสูงของกองทัพไทย เพิ่มข้ึนอย่างน้อย ร้อยละ ๑๐ ภายใน ปี ๒๕๗๐ กิจกรรมที่ ๑ การปฏิบัติงานของกลไกการพัฒนาความร่วมมือรักษาความสงบ ชด.ทหาร เรยี บร้อยบริเวณชายแดนและการแก้ไขปญั หาร่วมกนั (กจิ กรรม) - ระดบั ดัชนวี ัดความสำเรจ็ ดา้ นการปฏิบัตงิ านของกลไกการพัฒนา ความร่วมมอื ฯ แผนบรู ณาการขับเคล่อื นแผนปฏิบัติการดา้ นการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๔๓

ตัวชีว้ ัด หนว่ ยรบั ผดิ ชอบ แหลง่ ขอ้ มลู กิจกรรมที่ ๒ การจัดกิจกรรมความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้ ขว.ทหาร ขว.ทหาร ยก.ทร. กรอบงานความม่นั คงชายแดน (กิจกรรม) ขว.ทหาร ๑. ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมภายใต้ข้อเสนอหรือข้อตกลง มท. สปท. ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศในแต่ละปี (ไม่นับกรณียกเลิก หรือปรับ ชด.ทหาร ผท.ทหาร ลดกิจกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนท่าทีของไทยและกองทัพต่างประเทศระหว่างปี ศทช.ศบท. รวมถงึ ปจั จัยภายนอก อาทิ กรณเี กดิ เหตุโรคอบุ ตั ิใหม่หรอื ภยั พบิ ัติร้ายแรง) ยก.ทหาร กร.ทหาร ๒. ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมตามแผนโดยการมีปฏิสัมพันธ์ ยก.ทบ. ของผู้บังคบั บญั ชา (ไดแ้ ก่ การแลกเปลีย่ นการเยอื น การแข่งขันกฬี า การแลกเปลี่ยน ยก.ทหาร กร.ทหาร นทพ. ยก.ทบ. ของขวัญ การตดิ ตอ่ ผา่ นโทรศัพท์ หรือ VTC เปน็ ต้น) ยก.ทหาร กร.ทหาร ๓. ร้อยละความสำเร็จของการฝึกศึกษา และการอบรมต่างๆ กับกองทัพ ยก.ทบ. กร.ทบ. ต่างประเทศ ยก.ทหาร กิจกรรมที่ ๓ การทบทวนและปรับปรุงประเด็นความขัดแย้งต่างๆ เพื่อแก้ไข ชด.ทหาร ปญั หาไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ และครบถว้ น (กิจกรรม) ๑. ระดับความสำเร็จของการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนของ ผท.ทหาร ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ตลอดแนว ๕,๖๗๑ กม. แล้วเสร็จ ภายใน ๕ ปี ๒. รอ้ ยละความสำเร็จในการยกเลิกพื้นทีอ่ นั ตรายตอ้ งสงสยั ว่ามที ุ่นระเบดิ โดยการกวาดลา้ งทุ่นระเบดิ ใหห้ มดไปจากพ้นื ท่ตี ามแผนท่ีกำหนดในแต่ละปี แนวทางการดำเนนิ การที่ ๗ การปฏบิ ตั ิภารกิจรกั ษาสันตภิ าพและการชว่ ยเหลือ ยก.ทหาร ด้านมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (แนวทางฯ) - รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการดำเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพและการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ระหว่างประเทศ กิจกรรมที่ ๑ การเตรียมความพร้อมในการสนับสนุนการปฏิบัติการเพ่ือ ยก.ทหาร สันติภาพและการช่วยเหลือดา้ นมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ (กิจกรรม) - ระดบั ความสำเร็จของการเตรียมความพร้อมที่จะปฏิบัติการเพ่อื สันติภาพ และการช่วยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศของกองทพั ไทย กจิ กรรมท่ี ๒การแสดงบทบาทของกองทัพไทยในการดำเนนิ งาน ยก.ทหาร ด้านการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพและการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมระหว่าง (กิจกรรม) ประเทศของสหประชาชาติ ภาคีความรว่ มมอื ระดบั ภมู ิภาค และมติ รประเทศ - ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านการปฏิบัติการเพ่ือ สันติภาพและการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมระหว่างประเทศของสหประชาชาติ ภาคคี วามร่วมมอื ระดับภูมิภาค และมิตรประเทศ กิจกรรมที่ ๓ การดำรงบทบาทของกองทัพไทยในการขับเคลื่อนการปฏิบัติการ ยก.ทหาร เพือ่ สันติภาพและการชว่ ยเหลือด้านมนุษยธรรมระหว่างประเทศของอาเซยี น (กจิ กรรม) - ระดับความสำเรจ็ ของการดำเนินงานดา้ นการปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื สันตภิ าพ และการช่วยเหลือดา้ นมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศในกรอบความรว่ มมอื อาเซียน แผนบูรณาการขับเคลือ่ นแผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการปกปอ้ งอธิปไตยและผลประโยชนข์ องชาติ (พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ๔๔