พระราชชายา ประวัติส่วนตัว เจ้าดารารัศมี เจ้าดารารัศมีประสูติ เมื่อวันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 ณ คุ้มหลวง กลางนครเชียงใหม่ เป็นพระธิดาในพระเจ้าอินทวิชยา นนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่และแม่เจ้าทิพเกสร (เทพไกรสร) ทรงได้รับการศึกษาจากพระชนกชนนีในเรื่องอักษรไทยเหนือและ ใต้เช่นเดียวกับกุลบุตรกุลธิดาในสมัยนั้น เมื่อเจ้าดารารัศมีทรง เจริญชันษาได้ 11 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณราโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าอินทวิชยานนท์จัดพิธี โสกันต์ พร้อมกับพระราชทานเครื่องโสกันต์ระดับเจ้าฟ้าให้เจ้า ดารารัศมีทรงในพิธีอีกด้วย เมื่อเจ้าดารารัศมีได้ตามเสด็จพระ บิดาซึ่งเสด็จมาร่วมงานพระราชพิธีลงสรงและเฉลิมพระนาม สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศสยามมงกุฎราช กุมาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าดารารัศมีถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายในในฐานะเจ้าจอม เมื่อ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 เจ้าดารารัศมีมีพระราชธิดา พระนามว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี แต่ทรง เจริญพระชันษาเพียง 3 ปีเศษ ก็ประชวรสิ้นพระชนม์
ภ า ย ห ลั ง จ า ก พ ร ะ เ จ้ า อิ น ท วิช ย า น น ท์ พ ร ะ บิ ด า เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงแก่พิราลัย เมื่อปี พ.ศ. 2440 ต่อมาเมื่อปี เถลิงถวัลยราชสมบัติสืบต่อมา พระราชชายาเจ้า พ.ศ. 2451 เจ้าจอมมารดารัศมีมีพระประสงค์จะ ดารารัศมียังคงประทับ ณ พระตำหนักสวนฝรั่ง เ ส ด็ จ ก ลั บ ไ ป เ ยี่ ย ม พ ร ะ ป ร ะ ยู ร ญ า ติ แ ล ะ เ พื่ อ ถ ว า ย กังไส พระราชวังดุสิต จนกระทั่งปีพ.ศ. 2457 ค ว า ม เ ค า ร พ พ ร ะ อั ฐิ พ ร ะ บิ ด า ที่ ถึ ง แ ก่ พิ ร า ลั ย จึ ง จึงได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเสด็จ กราบบังคมทูลลากลับ พร้อมกับเจ้าอินทวโรรส กลับนครเชียงใหม่ พระราชชายาเจ้าดารัศมีทรง สุริยวงษ์ พระเชษฐาผู้เป็นเจ้าผู้ครองนคร ดำรงพระชนม์ชีพอย่างสงบสุข ณ พระตำหนัก เชียงใหม่องค์ที่ 8 ซึ่งเสด็จลงมาเฝ้าทูลละออง ดาราภิรมย์ อยู่หลายปีจนสิ้นพระชนม์ด้วยโรค ธุ ลี พ ร ะ บ า ท พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า ปัปผาสะพิการ (โรคปอด) เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม อยู่หัวที่กรุ งเทพ พระบาทสมเด็จพระ พ.ศ. 2476 ณ คุ้มรินแก้ว รวมสิริพระชันษาได้ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ไ ด้ พ ร ะ ร า ช ท า น พ ร ะ บ ร ม ร า 60 ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ชานุญาต อีกทั้งยังโปรดเกล้าฯ จัดงานพระราช พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระศพเป็น พิ ธี ส ถ า ป น า พ ร ะ อิ ส ริย ย ศ เ จ้ า ด า ร า รั ศ มี จ า ก เ จ้ า งานพิธีหลวง พระอัฐิส่วนหนึ่งบรรจุไว้ที่กู่วัดสวน จอมมารดาขึ้นเป็น “พระราชชายาเจ้าดารา ดอก จังหวัดเชียงใหม่ อีกส่วนหนึ่งอัญเชิญไป รัศมี” (อ้างอิง:หนังสือสายใยรักสองแผ่นดิน บรรจุไว้ ณ สุสานหลวง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) แต่หลังจากที่พระ วัดราชพิธสถิตมหาสีมาราม ราชชายาฯ เสด็จกลับจากเชียงใหม่ได้เพียง 10 เดือน ก็ต้องทรงประสบความเศร้าโศกอันยิ่ง ใหญ่ เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
ผลงาน ด้านนาฏศิลป์ ด้านละคร พระราชชายาเจ้าดารารัศมีทรงเอาพระทัยใส่ในการฟ้ อน แบบทางเหนือยิ่งนัก ทรงฟื้ นฟูและฝึกหัดลูกหลานเจ้า พระราชชายาทรงมีความสนใจทางด้านละครครั้งที่อยู่ใน นายฝ่ายเหนือ โดยส่วนมากเป็นลูกหลานเจ้าในตระกูล พระบรมมหาราชวัง ซึ่งโปรดละครทุกประเภท ไม่ว่าจะ ณ เชียงใหม่ ณ ลำปาง ณ ลำพูน ณ น่าน ที่เข้ามาถวาย ละครร้อง ละครพูด ละครดึกดำบรรพ์ โขนและละครใน ตัวอยู่ในวังของพระราชชายาฯ โดยทรงปรับปรุงท่ารำ เมื่อเสด็จกลับเชียงใหม่ ทรงมีการนำละครภาคกลางมา และระเบียบการฟ้ อน และทรงให้มีการประดิษฐ์ท่ารำ เผยแพร่ ดัดแปลงและฝึกซ้อมให้แก่คณะละครรำในเจ้า ใหม่ๆขึ้น โดยมีแนวทางจากนาฏศิลป์ทั้งทางเหนือ พม่า หลวงเชียงใหม่ จนสามารถแสดงในวาระต่างๆได้ ถือได้ว่า และกรุงเทพฯ ให้มีความผสมผสานกัน พระราชชายาฯทรงฟื้ นฟูและวางรากฐานการละครขึ้นใน ระบำและฟ้ อนที่มีการปรับปรุงท่ารำ อย่างเช่น ฟ้ อนเล็บ เชียงใหม่ บทละครที่นิยมเล่นเช่น อิเหนา พระลอ และ ฟ้ อนเทียน ระบำและฟ้ อนที่มีการประดิษฐ์ท่ารำขึ้นมา ละครร้องสาวเครือฟ้ า ใหม่ ตัวอย่างเช่น ฟ้ อนล่องน่าน ฟ้ อนเงี้ยวแบบผสม จนในสมัยร.7 ได้มีครูจากกรุงเทพฯ ขึ้นมาสอนและ ฟ้ อนกำเบ้อ ฟ้ อนมูเซอหรือระบำซอ ฟ้ อนม่านแม่เล้ ออกแบบท่าละคร ท่ารำ และการฟ้ อนต่างๆ คือครูลมุล ฟ้ อนมอญ ระบำพัด ระบำงู และฟ้ อนม่านมุ้ยเชียงตา ยมะคุปต์ และครูเฉลย ศุขะวณิช ซึ่งได้ดัดแปลงท่ารำมาจากในราชสำนักพม่า จนเป็นที่ รู้จักกันแพร่หลาย มีความงดงาม ชดช้อยเป็นอย่างยิ่ง โดยสถานที่ฝึกซ้อมรำและละครนั้นอยู่ที่ “โรงกี่” ในวัง เจดีย์ขาวหรือเจดีย์กิ่ว (ในปั จจุบันเป็ นสถานกงสุลอเมริกันประจำเชียงใหม่) pn
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: