ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในเดก็ สกุ ญั ญา ขนั วเิ ศษ
1. ปัญหาพฤติกรรมท่ีพบบ่อยในเดก็ แรกเกิด ถึง 3 ปี-Colic-Temper tantrums (ร้องอาละวาด)- Breath-holding spell (ร้องกลนั้ )- Thumb sucking (การดดู นิว้ )
Colic เดก็ ร้องกวนเร่ิมมีเมื่ออายุ 2-3 สปั ดาห์ ร้องมากที่สดุ เมื่อ อายุ 6-8สปั ดาห์ หายเองได้เม่ืออายุ 4 เดอื น มกั เป็นชว่ งเย็นถงึ คา่ พบ 3-40%Rule of three - นานกวา่ 3ชวั่ โมงตอ่ วนั - มากกวา่ 3 วนั ตอ่ สปั ดาห์ - ติดตอ่ กนั นานกวา่ 3 สปั ดาห์ การร้องไห้ปกตเิ กิดจากหลายสาเหตุ เชน่ หิว เจ็บ ไมส่ บาย หรือต้องการคนสนใจ
Colicสาเหตุ ไมแ่ น่ชดั แตค่ าดวา่ เกิดจากปัจจยั- การทางานของลาไส้ท่ียงั ไมพ่ ฒั นา ทาให้เคลอื่ นไหวมากวา่ ปกติ- มกั เป็นเดก็ ท่ีคอ่ นข้างมีความรู้สกึ ไว หงดุ หงดิ งา่ ย ปรับตวั ยาก ปลอบยากหากมกี ารตอบสนองไมเ่ หมาะสม อาการจะเป็นมากขนึ ้
Colic•การซกั ประวตั ิ-อาการความรุนแรง ระยะเวลา ความถี่ในการร้อง วธิ ีการปลอบ-สาเหตรุ ่วม ชนดิ ของนม วธิ ีการให้นม อาการอาเจียน อาการแพ้ อาการถ่ายเหลว- พืน้ อารมณ์ของเด็ก ความรู้สกึ ของพอ่ แม่ขณะเด็กร้อง ผลกระทบ•ตรวจร่างกายเพอ่ื แยกโรค หาสาเหตคุ วามไมส่ บาย,เจ็บปวด,โรคทางกาย
Colicการชว่ ยเหลือ-ให้ความมน่ั ใจกบั ผ้เู ลยี ้ งดวู า่ เดก็ ไมเ่ จ็บป่วย ภาวะนีจ้ ะดขี นึ ้ เอง-ให้ความรู้เก่ียวกบั การหาสาเหตกุ ารร้องไห้ท่ีปกติ- ให้ความมน่ั ใจวา่ ภาวะนีไ้ มไ่ ด้เกิดจากการเลยี ้ งดทู ่ีไม่ดีหรือไมถ่ กู ต้องเพอ่ื ลดความเครียดของพอ่ แม่-ถ้าร้องกวนมากๆ อาจให้คาแนะนาเจาะจงเป็นรายๆไป เชน่ ปรับการดแู ลท่ีตอบสนองกบั อารมณ์ การอ้มุ ปลอบโยน กอด ใช้เสยี งเพลง
Colicการช่วยเหลอื*** หากพอ่ แมเ่ ครียดมากขณะเดก็ ร้อง แนะนาให้วางเดก็ ลงในท่ีปลอดภยัลดความเสยี่ งการทาร้ายเดก็-ให้ Simethicone (air-X®) ปลอดภยั แตพ่ บวา่ ได้ผลไม่ตา่ งจากPlacebo แตก่ ารให้ dicyclominehydrochoride(Spasic®) ทาให้ร้องน้อยลงแตอ่ าจทาให้หยดุหายใจ ชกั ตวั ออ่ น จงึ ไมแ่ นะนาให้ใช้
Temper tantrumsการร้ องอาละวาดเป็นพฤตกิ รรมท่ีแสดงความไมพ่ อใจ เชน่กรีดร้อง ดิน้ ฟาดแขนขา กระทืบเท้า ตะโกนอายุ 2-3 ปี 50-80% พบอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละครัง้ 20 % พบทกุ วนัพบได้จนถงึ อายุ 4 ปี 60%
Temper tantrumsอาการ โกรธ ไมพ่ อใจ ล้มตวั กบั พืน้ แยกให้ออกระหวา่ งอาละอาดปกติกบั การร้องอาละวาดท่ีเป็นปัญหา ได้แก่- ร้องอาละวาดในเดก็ น้อยกวา่ 1 ปี หรือมากกวา่ 4 ปี- นานเกิน 15 นาที มากวา่ วนั ละ 3 ครัง้- อาละวาดรุนแรงทาร้านตนเอง/คนอื่น- อาละวาดในโรงเรียน
Temper tantrumsการร้องอาละวาดท่ีเป็นปัญหา(ตอ่ )- มีปัญหาพฤติกรรมร่วม เช่น พฤติกรรมก้าวร้าว- เดก็ หงดุ หงิดตลอดเวลา- พอ่ แมไ่ มส่ ามารถหาข้อดีในตวั เดก็ ได้เลย แสดงถงึ ปัญหา ความสมั พนั ธ์ในครอบครัว ภาวะซมึ เศร้าในมารดา
Temper tantrumsสาเหตุ-เดก็ ปกติ 1-3 ปี เป็นวยั ท่ีเร่ิมเป็นตวั ของเอง แตย่ งั มีพฒั นาการด้านการภาษาไมด่ ีพอ ในการบอกความต้องการหรือ แสดงความรู้สกึ โดยเฉพาะเมื่อเหน่ือย หรือหวิ-ความเจ็บป่วยทางกายทาให้เด็กไมส่ บายตวั-โรคหรือภาวะทางพฒั นาการ เช่น ออทิสตคิ เด็กซนมาก สมาธิสนั้ การบาดเจ็บที่สมอง
Temper tantrumsสาเหตุ-พนื ้ อารมณ์ เปลย่ี นแปลงยาก หงดุ หงิดงา่ ย-สง่ิ แวดล้อมแออดั ไม่มีที่วิ่งเลน่ ถกู ห้ามตลอดเวลา พอ่ แมม่ ีภาวะซมึ เศร้า มีภาวะเจ็บป่วย ไมส่ ามารถดแู ลเด็กได้ดี- การเลยี ้ งดแู บบตามใจเกินไป หรือพอ่ แม่มีอารมณ์ทางลบที่รุนแรงตอ่ เด็กใช้วิธีลงโทษที่รุนแรง
Temper tantrumsซกั ประวตั ิ-พฤตกิ รรมการร้องอาละวาด สาเหตทุ ่ีทาให้เกิดการร้องอาละวาดภาวะเจบ็ ป่วยทางกาย ปัญหาพฤตกิ รรมพฒั นาการ-ประวตั ิการตงั้ ครรภ์การคลอด ปัญหาที่พอ่ แมร่ ู้สกึ ผิดจนต้องตามใจเดก็ เกิดภาวะที่เรียกวา่ Vulnerable child syndrome
Temper tantrumsการชว่ ยเหลือ• การปอ้ งกนั-กาหนดขอบเขตของสง่ิ ท่ีทาให้ชดั เจน เหมาะกบั อายแุ ละพฒั นาการของเด็ก-ทากิจวตั รประจาวนั ให้เป็นเวลา หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ใกล้เวลากิน นอนหากจาเป็นควรมอี าหารวา่ ง ของเลน่ ตดิ มือไปด้วย-ระวงั สงิ่ ท่ีทาให้เด็กอาละวาด เช่น ชว่ งท่ีเดก็ ยงั ไมอ่ ยากหยดุ กิจกรรมนนั้ ๆให้ใช้วธิ ีเตอื นลว่ งหน้า และให้เวลาถ้าจาเป็น
Temper tantrumsการชว่ ยเหลือ• การปอ้ งกนั-สอนให้เดก็ พดู แสดงความรู้สกึ หรือความต้องการแทนการแสดงออกทางกาย คอยถามถึงอารมณ์ ความรู้สกึ ของเดก็-เปิดโอกาสให้เด็กได้เลอื กบ้าง แตต่ วั เลอื กนนั้ พอ่ แม่ต้องยอมรับได้ เช่นอ้มุ ไปอาบนา้ หรือเดินไปอาบนา้- พอ่ แมเ่ ป็นตวั อยา่ งที่ดใี นการควบคมุ อารมณ์- ให้ความสนใจทางบวกแก่เดก็ สม่าเสมอ เชน่ การชมเชยหากเดก็ ทาดี
Breath-holding spell เดก็ บางคนเวลาถกู ขดั ใจหรือตกใจ จะร้องแล้วกลนั้ หายใจ น่ิงเงียบ บางคนอาจเขียวตวั ออ่ น อาการมกั เร่ิมหลงั 6 เดือน และหายไปเมื่ออายุ 3-4 ขวบสาเหตุโกรธเม่ือถกู ขดั ใจ ตกใจ กลวั เจ็บ โดยต้องแยกจากการชกั ในเดก็
Breath-holding spellการรักษา ผ้ปู กครองมกั ตกใจกบั อาการของเดก็ และจะตามใจเด็กเสมอๆ เพ่อื ไมใ่ ห้เดก็ มีอาการ แตม่ กั ไมไ่ ด้ผล ในการรักษาท่สี าคญั คอื การให้ความมน่ั ใจแกผ่ ้ปู กครอง อธิบายให้เข้าใจถงึ เหตุ และเน้น ให้ทราบวา่ อาการนีจ้ ะไมม่ ีอนั ตรายแต่อย่างใด
Breath-holding spell• ถ้าเข้าใจวธิ ีปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องดงั นี ้• 1. ไมย่ วั่ ยใุ ห้เด็กเกิดอาการโดยไมจ่ าเป็น• 2. ถ้าสง่ิ ใดให้ไมไ่ ด้ก็ต้องหาทางทดแทนด้วยของอ่ืน เพราะเดก็ ลมื ได้ ง่าย ไมต่ ้องตามใจเดก็ ทกุ ครัง้• 3. เม่ือเกิดอาการกลนั้ หายใจขนึ ้ ต้องกระต้นุ เดก็ อาจโดยการเขย่าตวั หรือตบตวั และเรียกเดก็ เดก็ จะร้องขนึ ้ มาเองได้ และผ้ปู กครองควร กระทาด้วยท่าทีท่ีสงบ หลงั จากนนั้ ไมค่ วรยอมให้ตามท่ีเดก็ ต้องการทกุ อยา่ ง เพราะจะทาให้เดก็ เรียนรู้ในทางที่ผิด ใช้อาการนีเ้ป็นตวั ตอ่ รองท่ี จะให้ได้สง่ิ ท่ีต้องการตอ่ ไป
Thumb sucking• ดดู นิว้ (Thumb sucking) เนื่องจากเม่ือครัง้ ยงั เป็นทารก นวิ ้ หวั แมม่ ือเป็นนิว้ ท่ีสมั ผสั กบั ปากเด็กมากที่สดุ ในขณะที่เด็กดดู นม ดงั นนั้ โดยปกตแิ ล้ว เด็กจงึ นยิ มดดู นิว้ หวั แมม่ ือเป็นหลกั ทงั้ นี ้เด็กท่ีดดู นิว้ สว่ นใหญ่จะเป็นเดก็ เลก็ ซงึ่ อาจเร่ิมได้ตงั้ แตอ่ ายปุ ระมาณ 2-4 ขวบ เดก็ บางคนอาจดดู นิว้ อ่ืนๆ ดดู มือ หรือดดู ทงั้ กาปัน้ โดยบางคนจะแสดง พฤตกิ รรมดงั กลา่ วร่วมกบั การดดู นิว้ หวั แมม่ อื หรือบางคนอาจจะแสดง พฤตกิ รรมดงั กลา่ วแทนการดดู นิว้ หวั แมม่ ือ ใ
Thumb suckingสาเหตุ เหตผุ ลในการดดู นิว้ ของเดก็ สว่ นใหญ่คอื เพื่อผ่อนคลายอารมณ์ แต่หากเดก็ ดดู นิว้ บอ่ ยจนเกินไปทงั้ ท่ีอายเุ กิน 4-5 ขวบไปแล้วอาจหมายถงึปัญหาความผดิ ปกตทิ ่ีอาจเกิดขนึ ้ กบั เด็ก ได้แก่ ปัญหาเกี่ยวกบั ฟัน เชน่ ฟันบนและฟันลา่ งเหลอื่ มกนั (Overbite) หรือนิว้ ตดิ เชือ้ รวมไปถึงการถกูล้อเลียนจนขาดความมน่ั ใจ
Thumb suckingการแก้ปัญหา1. ชีใ้ ห้เดก็ เห็นถงึ ปัญหาบคุ ลิกภาพที่ไมพ่ งึ ประสงค์อยา่ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป โดยสามารถใช้วธิ ีนีไ้ ด้กบั เดก็ ตงั้ แตอ่ ายุ 3-4 ขวบ เพือ่ ช่วยให้เดก็ ตระหนกั ถงึ ปัญหาพฤติกรรมของตนมากย่ิงขนึ ้ โดยพอ่ แม่อาจจะเริ่มจากการทกั ถงึ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว พร้อมกบั กระต้นุ ให้เดก็ หยดุ การกระทานนั้ โดยการขอความร่วมมือจากเดก็ หากเดก็ยงั คงแสดงปัญหาบคุ ลกิ ภาพตอ่ อีก พอ่ แม่ก็ไมค่ วรดุ หรือใช้ลงโทษเพราะอาจทาให้ปัญหาแย่ลงไปกวา่ เดมิ อีก
Thumb sucking2.ให้ลกู มีสว่ นร่วมในการแก้ปัญหาบคุ ลิกภาพ โดยหากลกู กลบั บ้านมาแล้วร้องไห้เพราะถกู เพอื่ นล้อเลียนเรื่องพฤตกิ รรมการดดู นิว้ ของตนเอง พอ่ แม่ควรรับรู้วา่ ลกู กาลงั ต้องการความชว่ ยเหลือ เพราะฉะนนั้ พอ่ แม่จงึ ควรถามลกู ถึงวิธีการท่ีลกู คดิ วา่ จะสามารถชว่ ยให้เขาหยดุ พฤตกิ รรมดงั กลา่ วได้
Thumb sucking• แนะนาพฤติกรรมหรือกิจกรรมอื่นให้แกล่ กู แทนที่จะห้าม พอ่ แมอ่ าจจะ ชกั ชวนให้ลกู สะบดั มือไปมา• ให้รางวลั และช่ืนชมการควบคมุ ตนเองของลกู เชน่ อนญุ าตให้ลกู สาวใช้ ยาทาเลบ็ ถ้าลกู สามารถไว้เลบ็ ให้ยาวได้ หรือหากลกู สามารถยบั ยงั้ การ ดดู นิว้ ได้ พอ่ แม่อาจกระต้นุ ให้ลกู มีพฤตกิ รรมทางบวกด้วยการชมเชย หรือให้รางวลั เล็กๆ น้อยๆ
Thumb sucking• หมน่ั สงั เกต พร้อมทงั้ ให้รางวลั และชมเชยลกู อยา่ งเหมาะสมและ สม่าเสมอ ทงั้ นีเ้พราะหากพอ่ แม่ไมส่ งั เกตเหน็ ในเวลาท่ีลกู แสดง พฤตกิ รรมในทางบวก ทาให้พลาดการให้รางวลั หรือคาชมเชยแก่เดก็ ใน กรณีนี ้พฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์ท่ีกาลงั เกิดขนึ ้ ในเดก็ ก็อาจจะหายไป แล้วลกู ก็อาจจะกลบั ไปมีปัญหาบคุ ลกิ ภาพดงั เดมิ ทงั้ นีเ้พราะพฤตกิ รรม ที่พงึ ประสงค์ควรได้รับการกระต้นุ อยา่ งสมา่ เสมอ จนกวา่ พฤติกรรมไม่ พงึ ประสงค์จะคอ่ ยๆ ลดและหายไป
2. ปัญหาพฤติกรรมท่ีพบบ่อยในวยั ก่อนเรียน
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: