ระดับภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 by นางสาวปิ ยภรณ์ ชาวระนอง
ระดับภาษา ความหมายระดับภาษา ระดับภาษา คือ รู ปแบบการใช้ภาษาที่มีความลดหลั่น ของถ้อยคำตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล เช่น การใช้คำสรรพนามว่า ข้าพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้า กระผม ดิฉัน คำที่ใช้แทนตัวผู้พูดเหล่านี้ แสดงถึงระดับของ ภาษาว่ามีความแตกต่างกัน ถึงแม้ผู้ใช้ภาษาจะเป็ นบุคคล เดียวกัน
ระดับภาษา ระดับภาษามีทั้งหมด 5 ระดับ ดังนี้ ระดับภาษาแบ่งออกเป็ น ๕ ระดับ ๑. ภาษาระดับพิธีการ ๒. ภาษารAะดับทางการ ๓. ภาษาระดับกึ่งทางการ ๔. ภาษาระดับไม่เป็ นทางการ (ระดับสนทนา) ๕. ภาษาระดับกันเอง (ระดับภาษาปาก)
ภาษาระดับพิธีการ ๑. ภาษาระดับพิธีการ ภาษาระดับนี้ ใช้ในโอกาสสำคัญหรือประชุมแบบ พิธีการผู้ส่งสารมักเป็ นบุคคลสำคัญหรือผู้มีตำแหน่ งสูง มีความประณีต ไพเราะ มีความอลังการ การเลือกเฟ้ น ถ้อยคำ มักก่อให้เกิดความจรรโลงใจB
ภาษาระดับทางการ ๒. ภาษาระดับทางการ เป็ นภาษาที่มีแบบแผนถูกต้องตามไวยกรณ์ โดยเน้ นการสื่ อสารให้ได้ผลตามจุดประสงค์ ไม่ใช้ ถ้อยคำฟุ่ มเฟื อยหรือเล่นถ้อยคำใBห้อลังการ
ภาษาระดับกึ่งทางการ ๓. ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็ นภาษาที่ใช้สื่ อสารโดยมุ่งให้เกิดความเข้าใจกัน อย่างรวดเร็ว เป็ นภาษากึ่งพูดกึ่งเขียน ลดความเคร่งครัด ด้านความสมบูรณ์ของประโยคและความถูกต้องตามหลัก ไวยากรณ์ อาจมีถ้อยคำที่แสดงความคุ้นเคย
ภาษาระดับไม่เป็นทางการ ๔. ภาษาระดับไม่เป็ นทางการหรือระดับสนทนา เป็ นรู ปแบบของภาษาพูดที่ใช้ในโอกาสที่ไม่เป็ น พิธีรีตอง ใช้โต้ตอบระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคน เป็ นเรื่องทั่วไป ในชีวิตประจำวัน
ภาษาระดับกันเอง ๕. ภาษาระดับกันเองหรือระดับภาษาปาก เป็ นภาษาที่ใช้สื่ อสารกับบุคคลที่สนิ ทสนมกัน ใช้พูดจา กันในวงจำกัด เช่น สามีภรรยา พี่น้ อง บิดา มารดา บุตร หรือ เพื่อนสนิ ทใน สถานที่ส่วนตัว อาจมีคำคะนอง คำภาษาถิ่น คำสแลง สรรพนามแสดง ความสนิ ทสนมคุ้นเคย
สรุประดับภาษา สรุ ปความรู้ ๑. ภาษาไทยมีระดับภาษาหลายระดับ การที่จะเลือก ภาษาให้เหมาะสม กับระดับนั้ นๆขึ้นอยู่กับโอกาส กาลเทศะ และฐานะของบุคคล ๒. ระดับภาษาแบ่งเป็ น ๕ ระดับ ได้Bแก่ ภาษาระดับ พิธีการ ภาษาระดับทางการ ภาษาระดับกึ่งทางการ ภาษาระดับไม่เป็ นทางการ(สนทนา) และภาษาระดับ กันเอง(ปาก)
สรุปภาษาระดับ สรุ ปความรู้ ๓. ภาษาระดับพิธีการ เป็ นภาษาที่มีความไพเราะ สละสลวย และมีความ อลังการ ผู้ใช้จะเป็ นบุคคลสำคัญหรือบุคคลชั้นสูง ผู้ฟั งอาจเป็ นประชาชนทั้งประเทศ ๔. ภาษาระดับทางการ เป็ นภาษาเขียนที่ถูกต้องสมบูรณ์ตาม หลักไวยากรณ์ การใช้ถ้อยคำจะเขียนตรงไปตรงมา ไม่ สามารถเล่นถ้อยคำให้แพรวพราวได้
สรุปภาษาระดับ สรุ ปความรู้ ๕. ภาษาระดับกึ่งทางการ ไม่เคร่งครัดตามหลักไวยากรณ์ เป็ นภาษาที่ใช้ในการประชุม การอภิปรายข่าวและบทความ ในหนั งสือพิมพ์ ๖ผู้ใ. ชภ้เาป็ษนารกะลุด่ัมบบุสคนลทที่นคุ้านเใคช้ยเปก็ันนดภีาสษถาาพBูนดทีแ่อบาบจเไปม็่นเปโ็ นรงพเิรธีียรีนตอง โรงอาหาร งานรื่นเริง ภาษาอาจมีคำย่อ คำต่างประเทศ คำลงท้าย
สรุปภาษาระดับ สรุ ปความรู้ ๗. ภาษระดับกันเอง(ภาษาปาก) เป็ นภาษที่ใช้สำหรับการพูดคุย กับคน สนิ ทกัน เช่น สามีภรรยา บุคคลในครอบครัว เพื่อนสนิ ท อาจมีคำคะนอง คำภาษาถิ่น คำสแลง ๘. คำว่า คะ ครับ ซิ นะ เถอะ ฉัน ผม ดิฉัน อิฉัน กัน เรา หนู ครู จิ๋ว หมอ ป้ า แม่ ลูก เธอ คุณ ท่าน แก ตัว ฯลฯ มักใช้ในภาษา ระดับไม่เป็ นทางการและภาษาระดับกันเอง ๙. คำว่า ข้าพเจ้า กระผม ผม ดิฉัน ท่าน ท่านทั้งหลาย มักใช้ใน ภาษา ระดับพิธีการ ระดับทางการ
จบการเรียนการสอน ระดั บภาษา ชั้ นมัธยมศึ กษาปี ที่ 3
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: