Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัยครูหมี ปี65 คะ(1)

งานวิจัยครูหมี ปี65 คะ(1)

Published by mee140126, 2023-06-07 07:19:52

Description: งานวิจัยครูหมี ปี65 คะ(1)

Search

Read the Text Version

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ อง นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ทไ่ี ด้รับการ จดั การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 33 จังหวดั ลพบุรี เสนอโดย สังกดั สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สังกดั สานักงานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน นางณฏั ฐพ์ ชิ ญา บุญพง่ึ กระทรวงศึกษาธิการ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ

1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ องนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ท่ไี ด้รบั การจัดการเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศึกษา นางณัฏฐ์พชิ ญา บญุ พึ่ง ตำแหนง่ พนกั งานราชการ บทคัดย่อ วิจัยน้ีมีวตั ถุประสงค์เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ จัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เรื่อง เสียงและการได้ยิน ระหว่างก่อน-หลังเรียน และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ องนกั เรยี นหลังการเรยี นรู้แบบสะเต็มศกึ ษากับปกติ ตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1และ 4/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โดยสุ่มแบบเจาะจง จากนักเรียน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 33 จำนวน 2 ห้อง ๆ ละ 30 คน เคร่ืองมอื ไดแ้ ก่ แผนการจดั การเรียนรู้ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบทักษะกระบวนการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย (X ) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าสถิติ t พบว่า นักเรียนที่เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษามีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียน (X , S.D.) (17.27, 1.68) สูงกว่าก่อนเรียน (9.64, 2.29) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05 และ นักเรียนที่เรียนรู้แบบสะ เต็มศึกษามีผลสัมฤทธิ์หลังเรียน (X , S.D.) (17.36, 1.75) สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (13.64, 2.01) อย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05 คำสำคัญ : สะเต็มศกึ ษา, ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน, ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์, เสียงและการไดย้ นิ บทนำ การจดั การศึกษาในประเทศไทยในขณะนี้กำลังประสบปัญหาเป็นอย่างมาก เห็นได้จากการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ของหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น O-NET ที่จัดโดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) การทดสอบ Program for International Student Assessment หรือ PISA จากผลการประเมินแสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนไทยส่วนใหญ่ โดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ยังไม่ดีเท่าที่ควร ผู้เรียนขาดทักษะการคิดเพราะการสอนในปัจจุบันมุ่งเน้นเพียงแต่การให้ความรู้มากเพ่ือใช้ในการสอบ การสอนแบบทอ่ งจำ และเนน้ การจดบันทึก แตไ่ ม่ได้สอนให้นักเรียนได้เกดิ ทักษะการคิดทีจ่ ะทำให้เกิด เชอื่ มโยงความรู้ท่ีมีไปใช้ในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งขดั แย้งกับความต้องการแรงงาน ในการพฒั นา ขบั เคล่ือนประเทศในยุคศตวรรษที่ 21 กระทรวงศึกษาธิการร่วมกับสถาบันส่งเสริมการ สอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำคัญ จึงไดผ้ ลักดนั ให้นำรูปแบบการจดั การเรียนรู้สะ เต็มศึกษาหรือ STEM Education ซึ่งเป็นแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการความรู้ในศาสตร์ ต่างๆ 4 สาขา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science), เทคโนโลยี (Technology), Engineering (วิศวกรรม) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) มาเป็นกลยุทธ์หลักในการพัฒนาการศึกษาไทยในทุกระดับ โดย มุ่งหวังให้มีการขยายผลการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสะเต็มให้กว้ างขวางยิ่งขึ้นครอบคลุมทุก กลมุ่ เปา้ หมาย แกป้ ญั หาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนตกต่ำ และขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี ดี รวมถึงการพัฒนากำลังคนด้านสะเตม็ เพอ่ื รองรับความต้องการในยคุ ศตวรรษที่ 21 ด้วย จากปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังกลา่ วผู้วจิ ัยจึงสนใจที่จะนำรูปแบบสะเตม็ ศึกษามาใช้ เพราะในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามแนวสะเต็มศึกษาจะมุ่งเน้นใหน้ ักเรียนเชือ่ มโยงความรู้ ในหลายๆ วิชาเพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาในชีวิตจริง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด วิเคราะห์ และ

2 สร้างนวัตกรรมที่ใช้ความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนเข้าใจสาระและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มากขึ้นทำให้ผู้เรียนเกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้ผูเ้ รียนสามารถเชื่อมโยงความสมั พันธ์ระหว่างความคดิ รวบยอดในศาสตร์ต่างๆ ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อผู้เรียน ผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์และ คุณค่าของส ิ่งที่เรียน กับนักเร ีย นและใน การ ศึกษาครั้งนี้ผ ู้วิจ ัย ได้ทดลองกับนักเร ีย นร ะดับช้ัน มัธยมศึกษาปที ี่ 4/1และ 4/2 ในสาระวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เสียงกับการได้ยิน เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหวังว่าผู้เรียนจะมีพื้นฐาน ทางการเรียนที่ดีและสามารถพัฒนาได้ต่อเนื่องในระดับชั้นที่สูงขึ้นและเพื่อเป็นการเตรียมพร้อม นกั เรียนเพือ่ กา้ วสู่เส้นทางอาชพี ต่อไปในอนาคต วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ นกั เรยี นทไ่ี ด้รับการจดั การเรียนรสู้ ะเตม็ ศึกษาระหว่างกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ นกั เรยี นหลงั จากที่ได้รบั การจดั การเรยี นรสู้ ะเต็มศกึ ษากบั แบบปกติ วรรณกรรมที่เก่ยี วขอ้ ง สะเตม็ ศกึ ษา STEM Education คือการสอนแบบบูรณาการข้ามกลุ่มสาระวิชา (Interdisciplinary Integration) ระหว่างศาสตร์สาขาต่างๆได้แก่วิทยาศาสตร์ (Science: S) เทคโนโลยี (Technology: T) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineer: E) และคณิตศาสตร์ (Mathematics: M) โดยนำจดุ เดน่ ของธรรมชาติ ตลอดจนวิธีการสอนของแต่ละสาขาวิชามาผสมผสานกันอย่างลงตัว เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ทุกแขนง มาใช้ในการแก้ปัญหาการค้นคว้าและการพัฒนาสิ่งต่างๆในสถานการณ์โลกปัจจุบันซึ่งอาศัยการ จดั การเรยี นรู้ทคี่ รูผู้สอนหลายสาขารว่ มมือกันเพราะในการทำงานจริงหรือในชีวิตประจำวันนั้นต้องใช้ ความรู้หลายด้านในการทำงานทั้งสิน้ ไม่ได้แยกใช้ความรู้เป็นสว่ นๆนอกจากนี้ STEM Education ยัง เป็นการส่งเสริมการพัฒนาทกั ษะสำคญั ในโลกโลกาภวิ ัตนห์ รอื ทักษะที่จำเปน็ สำหรบั ศตวรรษที่ 21 อีก ด้วย (ศริ ิชัย นามบรุ ี, 2546). องค์ประกอบของความรแู้ ละทักษะในศตวรรษท่ี 21 ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีจุดเริ่มต้นมาจากการประชุมร่วมกันของนักวิชาการ หลากหลายสาขาในสหรัฐอเมริกามาประชุมร่วมกัน โดยรัฐบาลต้องการพัฒนาคุณภาพประชากร ประเทศเพื่อยกระดับขีดความสามารถของประเทศกับนานาชาติและต้องการให้ประชากรนั้นมี คุณภาพและศักยภาพในสังคม สามารถดารงชีวิตอยู่ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้องค์ประกอบในด้านต่างๆ ที่ควรเกิดขึ้นในผู้เรียนจากการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (21 st Century Student Outcomes) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skill) หมายถึง ความสามารถ และความชำนาญในการคิด เพื่อค้นหาความรู้ และการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เป็นทักษะสำคัญที่แสดงถึงการมีกระบวนการคิด อย่างมีเหตุ มีผลตามกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ทำให้ผูเ้ รยี น และผู้ปฏิบตั เิ กิดความเข้าใจในเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ สามารถเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองไปสู่กระบวนการคิดที่ซับซ้อนมากขึน้ ประกอบดว้ ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการคำนวณ ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการ ลงความเห็นจากข้อมูล ทักษะการพยากรณ์ ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการกำหนดนิยามเชิง ปฏิบัติการ ทักษะการกำหนดตวั แปร ทักษะการทดลอง ทกั ษะการตคี วามข้อมูลและลงข้อสรุป วธิ ีดำเนนิ การวิจยั การวจิ ยั คร้งั นเี้ ปน็ การวจิ ัยเชงิ ทดลอง ซง่ึ ผวู้ ิจยั ได้ดำเนนิ การตามขัน้ ตอน ดังนี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1และ4/2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2562 จากโรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา จำนวน 40 1.2 กลุม่ ตัวอย่าง คือ นักเรยี นชั้นมะยมศึกษาปีท่ี 4/1และ4/2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 33 จังหวัดลพบุรี จำนวน 2 ห้องเรียน และนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 33 จังหวัด ลพบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Samplin จากน้ันแบ่งเปน็ ห้องเรียนท่ี 2 นักเรียนมธั ยมศึกษาปีท่ี 4/2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 33 จังหวัด ลพบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน เป็นกลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยสะเต็มศกึ ษา และห้องเรียนท่ี 2 นักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 33 จงั หวดั ลพบรุ ี จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 30 คน เป็นกลมุ่ ท่ไี ด้รบั การสอนแบบปกติ 2. เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 2.1 แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบสะเต็มศกึ ษา เรอ่ื ง เสียงและการไดย้ ิน 2.2 แผนการจัดการเรยี นร้แู บบปกติ เรอื่ ง เสียงและการได้ยนิ 2.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เสียงและการได้ยิน วิชา วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) ชนิด 4 ตวั เลอื ก จำนวน 15 ข้อ และขอ้ สอบอัตนยั แบบถูก-ผิด (True- False) 5 ขอ้ รวม 20 ข้อ 20 คะแนน 2.4 แบบทดสอบทักษะกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบปรนัย แบบเลอื กตอบ (Multiple Choice) ชนิด 4 ตัวเลอื ก จำนวน 20 ข้อ 3. การดำเนินการทดลอง/การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

4 3.1 ทำการทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มโดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว และบันทึกผล คะแนนการสอบไวเ้ ป็นคะแนนกอ่ นเรยี น 3.2 ดำเนินการทดลอง โดยผู้วิจัยทำการสอนนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม ในระยะเวลาที่ เท่ากัน ใชก้ ารสอนแบบสะเต็มศึกษากับกลุ่มทดลอง และการสอนแบบปกติกบั กลุ่มควบคุม จำนวน 6 แผน รวม 14 ชั่วโมง 3.3 ทดสอบหลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบ คะแนน คะแนนกอ่ น คะแนนหลัง t กลมุ่ ตัวอย่าง N เต็ม เรยี น t เรียน X S.D X S.D นักเรยี นช้นั ม.4 ไดร้ ับการ 30 20 9.64 2.29 1.21 17.2 1.68 4.90 จัดการเรยี นรู้สะเตม็ ศกึ ษา ns 7 * นกั เรยี นชน้ั ม.4 ไดร้ บั การ 30 20 8.55 1.92 12.9 2.43 จดั การเรยี นรู้แบบปกติ 1 วัดทักษะทางวิทยาศาสตร์ ฉบับเดียวกับที่ใช้สอบก่อนเรียน มาทดสอบกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง และ บันทึกผลคะแนนการทดสอบหลงั เรยี น 3.4 นำคะแนนผลการทดสอบทั้งสองครั้งมาวิเคราะห์ด้วยวิธีทางสถิติ เพื่อนำ คะแนนที่ได้มาทดสอบสมมติฐาน และสรปุ การวิจยั 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1และ 4/2 ที่จัดการเรียนรู้โดยการสอนแบบสะเต็มศึกษา กับการสอนแบบปกติ เรื่อง เสียงและการได้ยิน โดยใชส้ ถิตทิ ดสอบทแี บบ t - test for independent sample 4.2 เปรยี บเทยี บทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/2 ที่จัดการเรียนรู้โดยการสอนแบบสะเต็มศึกษา กับการสอนแบบปกติ โดยใช้สถิติทดสอบที แบบ t - test for independent sample 5. สถติ ทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติทดสอบที แบบ t – test for independent samples ผลการวจิ ัย ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เสียงและการได้ยิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1และ4/2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษากับ แบบปกติ * มีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05 (t (0.05 , 20) = 2.0860)

5 จากตารางท่ี 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กล่มุ ตวั อย่าง คะแนน คะแนนก่อน คะแนนหลัง t N เต็ม เรียน t เรียน X S.D X S.D นกั เรียนช้นั ม.4 ทไ่ี ดร้ ับการ 11 20 8.27 1.79 0.42 17.3 2.21 4.64 จดั การเรียนรู้สะเตม็ ศกึ ษา 6 * ns นักเรยี นชนั้ ม.4 ทไี่ ดร้ ับการ 11 20 7.91 2.21 13.6 2.01 จดั การเรียนรแู้ บบปกติ 4 ได้รับจัดการเรียนการรู้สะเต็มศึกษา มีคะแนนเฉลี่ย 9.64 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.29 ส่วนนักเรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ทีไ่ ด้รบั จัดการเรยี นการรู้แบบปกติ มคี ะแนนเฉลย่ี 8.55 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.92 ตามลำดับ ท้ังนี้ พบว่า คะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลังเรียน ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษา ปที ่ี 5 ทไ่ี ดร้ บั การจดั การเรยี นร้สู ะเต็มศกึ ษา มีคะแนนเฉล่ยี สูงกว่านักเรียนประถมศกึ ษาปีที่ 5 ท่ีได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบปกติ โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 17.27 และ 12.91 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 1.68 และ 2.43 ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรยี นรู้สะเตม็ ศึกษา มีค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนแตกต่างจากนักเรียนชั้นที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมี นยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดบั 0.05 ซึ่งเปน็ ไปตามสมมติฐาน ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เสียงและการได้ยิน ของ นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ทไ่ี ด้รับการจดั การเรยี นรสู้ ะเต็มศกึ ษากับแบบปกติ * มนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.05 (t (0.05 , 20) = 2.0860) จากตารางท่ี 2 พบวา่ คะแนนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ก่อนเรยี น ของนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ท่ไี ด้รบั จดั การเรียนการรู้สะเต็มศึกษา มคี ะแนนเฉล่ีย 8.27 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.79 ส่วนนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่ไดร้ ับจัดการเรยี นการรู้แบบปกติ มคี ะแนนเฉลี่ย 7.91 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.21 ตามลำดับ ทั้งนี้ พบว่า คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลัง เรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ทีไ่ ดร้ ับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ โดยมคี ะแนนเฉล่ียหลังเรียนเท่ากับ 17.36 และ 13.64 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 2.21 และ 2.01ตามลำดับ แสดงให้เหน็ ว่านักเรียน ทไ่ี ดร้ ับการจัดการเรียนรสู้ ะเตม็ ศึกษา มีค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลัง เรียนแตกต่างจากนักเรียนชั้นที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซ่ึง เป็นไปตามสมมตฐิ าน สรุปและอภปิ รายผล 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้โดยการ สอนแบบสะเต็มศึกษากับการสอนแบบปกติ เรื่อง เสียงและการได้ยิน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิตทิ ่ีระดับ 0.05

6 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้ โดยการสอนแบบสะเต็มศึกษากับการสอนแบบปกติ เรื่อง เสียงและการได้ยิน แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05 จากการวิจัยได้ค้นพบเกี่ยวกับการศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้สะเต็มศึกษา ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อภิปราย ผลไดด้ ังน้ี 1. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งการที่ผลการวิจัยเป็นเช่นนี้เพราะกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็ม ศกึ ษา มลี กั ษณะเป็นการเรียนรทู้ ี่ตงั้ อยู่บนพ้นื ฐานของการเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และการเรียนรู้ โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน ซ่งึ การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ เปน็ วธิ กี ารเรยี นทีร่ ทู้ ่ีชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาทั้งด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ ทักษะที่จำเป็นในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ด้วยตนเอง เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริงไม่ใช่แค่การ ท่องจำอย่างเดียว (ประสาท เนืองเฉลิม, 2557) และการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นวิธีการ เรยี นรทู้ ส่ี ่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมีความพร้อมต่อการดำรงชวี ติ และปรับตัวในศตวรรษที่ 21 2. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หลังเรยี นสูงกว่านกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั การจดั การเรียนรู้แบบปกติ อยา่ ง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว้ ทั้งนี้เนื่องมาจากผู้วิจัยได้ออกแบบ กิจกรรมการจดั การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ท่มี ีลกั ษณะของการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรแู้ ละการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล และ สามารถแก้ปัญหาได้ ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ความรู้และทักษะ กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์มาช่วยแก้ปัญหา มีการสะท้อนความคิดจากประสบการณ์โดยตรง ของนักเรียนและการบูรณาการกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งมีการใช้สื่อเทคโนโลยีเข้า มาช่วยในกระบวนการ จนนำไปสู่การแก้ปัญหาในสถานการณ์สมมติที่ผู้วิจัยได้กำหนดให้ในแต่ละ กิจกรรม ด้วยเหตุผลและกิจกรรมการเรียนการสอนดังกลา่ วข้างต้น การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาจึง ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สูงกว่านกั เรยี น ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ซึ่งสอดคล้องบางส่วนกับงานวิจัยของ Scott (2012) ที่ได้ศึกษา เกยี่ วกบั การจดั การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมและคณิตศาสตร์ในโรงเรียนใน ประเทศสหรฐั อเมริกา ผลการศึกษาพบว่านักเรยี นท่ีสมัครใจเขา้ รว่ มห้องเรียน STEM มีความสามารถ ในการแก้ปญั หาต่างๆ ไดด้ ีกว่าเด็กนักเรียนระดับเดียวกันแต่ไม่ได้เขา้ รว่ ม และนักเรยี นกลุ่มทเ่ี ข้าร่วมนี้ ยังให้บอกอีกว่า หากพวกเขาได้รับโอกาสและการสนบั สนุนส่งเสริมให้สามารถเรียนรู้ทีจ่ ะแก้ปัญหาที่ พบเจอในชีวติ และฝกึ งานจรงิ หรอื ใหร้ ับผดิ ชอบทำโครงงานข้นึ มาสักชิ้นเพื่อใช้ขอสำเรจ็ การศึกษา ซึ่ง แสดงให้เห็นว่านักเรยี นเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ได้ และ มั่นใจวา่ สามารถสำเร็จการศึกษาข้นั พ้ืนฐานได้อยา่ งแน่นอน จึงเปน็ การบง่ บอกวา่ นักเรยี นเกิดเจตคติที่ ดีต่อการการเรียนวิทยาศาสตร์หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับ STEM และสอดคล้องบางส่วนกับ Dowey (2013) ที่ไดศ้ ึกษาเจตคติ ความสนใจและการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อวิชาวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้

7 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่เรียนในหลักสูตร STEM พบว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ใน หลักสูตร STEM มีเจตคติและความสนใจต่อวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ูงขนึ้ จากเหตุผลดังกล่าว จึงเป็นการสนับสนุนผลการวจิ ัยทีพ่ บว่า การจัดการเรียนรู้แบบสะเตม็ ศึกษา ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าการ จัดการเรียนรู้แบบปกติ แต่นอกจากการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาจะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนสูงขึ้นแล้ว ยังช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดได้เรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหาโดยอาศัย ความรู้ด้านต่างๆมาบูรณาการเพื่อหาแนวทางหรือวิธีการแก้ไขปัญหา ซึ่งบางครั้งในบางสถานการณ์ ผู้เรียนบางคนอาจจะยังแก้ไขปัญหาหรือสถานการณ์ที่กำหนดได้ไม่ดีเท่าที่ควร อาจเนื่องด้วยเวลาท่ี จำกดั วัยวฒุ ิและประสบการณ์ แต่การที่ผเู้ รียนสามารถเขา้ ถึงแหล่งสบื คน้ ข้อมูลอยา่ งรวดเรว็ ทันท่วงที ทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องไม่ติดขดั นอกจากนผ้ี ู้วิจยั ยังพบอีกว่าภายหลังจากการจัดการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษาผู้เรียนบางส่วนมีความกล้าแสดงออกในการเรียนมากขึ้น ผู้เรียนได้นำความรู้ที่ เกิดขึ้นในชัน้ เรียนไปบอกเล่าให้ผู้ปกครองฟัง ทั้งยังนำเอาปัญหาที่พบในระหวา่ งการเรียนการสอนไป ปรึกษา ขอคำแนะนำจากผู้ปกครอง นำมาสู่การแก้ปัญหาโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านและเป็นการ กระชับความสัมพนั ธ์ในครอบครัวอีกดว้ ย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการสอนโดยใช้วธิ ีแบบสะเตม็ ศึกษานั้น เน้นการบูรณาการ กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตัวเองและสามารถบูรณาการความรู้ จากแหล่งต่างๆรอบตัวและการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาแก้ไขปัญหาสถานการณ์ ตา่ งๆ ในชีวิตประจำวันได้ ขอ้ เสนอแนะ 1. ครคู วรอธิบายความหมายและข้นั ตอน วิธีการจดั การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ให้นักเรียน เข้าใจโดยละเอียดก่อน เนื่องจากเป็นคำศัพท์ใหม่ที่นักเรียนอาจจะไม่เคยรู้มาก่อน ครูควรทำให้ นักเรยี นเขา้ ใจตรงกนั จะทำให้บรรยากาศในการเรียนการสอนเป็นไปอย่างสนุกสนาน เป็นกันเองและ จัดการชน้ั เรียนไดง้ า่ ยขึ้น 2. การนำการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ไปใช้ครูผู้สอนต้องศึกษาหลักการ เป้าหมาย ขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ละเอียดทุกขั้นตอนก่อน เพื่อให้การจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนบรรลุตามเปา้ หมายและประสบผลสำเรจ็ 3. ในการจัดการเรียนการสอนสะเตม็ ศึกษา เน้นการบูรณาการ ดังนั้นหากมีการร่วมมือกัน ของครูผู้สอนในกลุม่ สาระการเรยี นรูท้ ี่เกี่ยวข้องกับสะเต็มศึกษา เพื่อช่วยกันออกแบบกิจกรรมสะเต็ม ศึกษา การวัดประเมินผลให้ชัดเจนและมีประสิทธิภาพจะเป็นผลดีต่อผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนเกิดความ เช่ือมโยงและนำความรู้ท่ไี ด้ไปปรับใชก้ ับสถานการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั ได้มากข้นึ 4. ในข้นั ตอนของการออกแบบทางวิศวกรรมและเทคโนโลยียังเปน็ สิง่ ใหม่ สำหรบั นักเรียน อาจทำใหน้ ักเรยี นเข้าใจคลาดเคลอ่ื นและอาจทำใหก้ ระบวนการเรยี นรู้ลา่ ช้าไป ผู้สอนจึงควรมีการอธิบายขั้นตอนของกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมให้ผู้เรียนได้เข้าใ จอย่างถี่ ถ้วน เพื่อผู้เรียนจะได้ปฏิบัติตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและได้ชิ้นงานหรือวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ตอ่ ไป 5. ในขั้นการบูรณาการเทคโนโลยีนั้น ควรจัดให้มีอุปกรณ์ในการสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ต เพื่อผู้เรียนได้สืบค้นข้อมูลอย่างทันท่วงที เพื่อผู้เรียนจะได้นำข้อมูลมาใช้ประกอบการ

8 เรียนรู้ การวิเคราะห์และแก้ปัญหา ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ต่อเนื่อง ไม่ติดขัด และกิจกรรมการเรียน การสอนเปน็ ไปอย่างตอ่ เน่อื งและทนั ต่อเวลาทีจ่ ัดไว้ 6. ควรมีการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาให้ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนเกิดความ ความรู้ที่คงทน มีพื้นฐานและทักษะที่ดี ส่งเสริมให้ผู้เรียนมองเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ ทางด้านสะเตม็ ในอนาคตมากขน้ึ กติ ตกิ รรมประกาศ ขอขอบพระคุณผู้บริหาร บุคลากร และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1 และ4/2ที่ได้ ให้ความอนเุ คราะห์ อำนวยความสะดวกและให้ความรว่ มมือเป็นอยา่ งดียิง่ ในการเก็บข้อมลู การวิจัยใน ครง้ั น้ี เอกสารอ้างองิ ประสาท เนืองเฉลิม. (2554). วิจัยการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาสารคาม, อภิชาตการ พิมพ.์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2557). การเรียนรู้วิทยาศาสตรใ์ นศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. มหาสารคาม, อภชิ าตการพิมพ์. ศิริชัย นามบุรี. (2546). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ เรื่อง ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์และการใช้สารสนเทศวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้. ยะลา : สถาบนั ราชภฎั ยะลา. Dowey, A. L. (2013). Attitudes, Interest, and Perceived Self-efficacy toward Science of Middle School Minority Female Students: Considerations for their Low Achievement and Participation in STEM Disciplines. Degree Doctor of Education. University of California, San Diego. Scott, C. (2012). An investigation of science, technology, engineering, and math (STEM) focused high schools in the US. Journal of STEM education: Innovations and Research. 13(5), 30-39).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook