145 เข้าไปที่ Quick Setup แล้วใสแ่ อทเดรสของเป้าหมาย ETE-X (ที่ ETP-3 จะลงทะเบียนด้วย) และหมายเลขโทรศพั ทข์ อง ETP-3 จอจะแสดง ไปที่ Network Setup ตามดว้ ย Basic Setup ใน Internet Settings ท่ีตั้งไวจ้ ากโรงงาน เป็น รับแอทเดรสจาก DHCP เซิรฟ์ เวอร์ ที่แนะนำให้ทำคอื Enable เซิรฟ์ เวอร์ DHCP ในเคร่อื ง ETE ปลอ่ ยไวต้ ามน้ัน แล้วข้าม (skip)
146 ตั้ง IP แอทเดรส ทำโดยปรับ Set the Connection Type ไวท้ ี่ “Static IP” แลว้ จึง Enter IP address, Subnet Mask และ Default Gateway IP แอทเดรส ของพอร์ท LAN ใน ETP-3 แอทเดรสน้จี ะต้องเหมือนกับ Subnet ของเครือ่ ง ETE ท่ีจะลงทะเบียน ไปที่ Network Setup แล้วตามด้วย Basic Setup - Network Settings นค่ี ือการตง้ั (IP) ให้กบั พอร์ท PC ตัง้ DHCP server ไวท้ ่ี Disabled (ทำตรงขา้ มกับของพอรท์ LAN ท่ีโหมด DHCP client ตั้งไว้ท่ี OK)
147 การตงั้ Username/Password เพ่ือให้เขา้ ไปในจอภาพ Web-management ได้ จากระยะไกล (ขณะ ETP-3 กำลังอย่ใู นสภาวะ ทำงานและตอ่ อยู่กบั ETE-X) เราตอ้ งเปลีย่ น username and password ที่โรงงานต้ังมา เข้าไปท่ี Administration ตามด้วย User List แลว้ คลิกรปู ดนิ สอขา้ ง ‘admin’ user การเปลยี่ นรหัส ทำโดยเข้าไปที่ password, ป้อนรหสั เดมิ เข้าไป (ท่ีโรงงานตงั้ มาคอื ‘admin’) พรอ้ มกบั ใสร่ หัสใหม่ ตอนนี้ ผูใ้ ชย้ ังคงเป็น ‘admin’ รหัสทโี่ รงงานต้งั มาคือ ‘admin’ ผ้ใู ชก้ ็ ‘admin’ เช่นกัน ตัง้ รหัสใหมใ่ หก้ ับผู้ใชน้ ี้ ที่ Elbit ตง้ั ใหก้ ับ ETP-3 คอื รหัส ‘1234’ พิมพ์ซ้ำรหสั ใหม่นั้นเพอ่ื ยนื ยันว่ารหสั ถกู ตอ้ ง
148 การจัดการจากระยะไกล (Remote Management) เพ่อื ให้การปรบั ตั้งทำไดจ้ ากระยะไกล(ผ่านLAN) เขา้ ไปท่ี “Web Access Management “ แลว้ ปรับ Remote Management ไปท่ี ‘Enabled’ ปล่อยปัจจัยอื่นๆไว้ตามนั้น ลงทะเบียน ( Registration ) ไปท่ี Voice ในบรรทดั แรกแล้วเลือ่ นลงจนพบคำวา่ Proxy And Registration ตง้ั ช่อง Register Expires ไวท้ ี่ 90. ปล่อยปจั จยั อนื่ ไวต้ ามน้ัน กด “Submit” แล้วรอ เม่ือบันทกึ เสร็จจอภาพเดิมจะกลับคนื มา
149 การลบ กลับไปใช้ท่ีโรงงานต้งั มา (Restore) ผ่านทาง IVR ยกหูขนึ้ แลว้ หมนุ ดาวสคี่ ร้ัง (****) เมื่อจอขน้ึ หมนุ 73738# จากน้ันกด 1 ยนื ยันการ reset เม่อื ไดย้ นิ เสยี ง “Option successful” วางหู สกั คร่ใู หญ่ ETP-3 จะทำการรีบูท (reboot) ขึ้นมาเป็นแบบที่ต้ังมาจากโรงงาน ปรบั ตั้ง ETP-3 ใหใ้ ชง้ านกบั ETE ตามขั้นตอนทแี่ สดงไว้แล้วข้างต้น การลบ กลบั ไปใช้ที่โรงงานตง้ั มา (Restore) ผ่านทาง WEB ไปที่ Administration ตามดว้ ย Factory Defaults เลอื ก ‘Yes’ ท้ังคู่ กด“Submit”, เคร่อื งจะรเี ซ็ต (reset) แล้วกลับไปใช้ท่ตี งั้ มาจากโรงงาน การใชง้ าน IVR (การโต้ตอบดว้ ยเสยี ง - IVR (Interactive Voice Response) เปน็ ระบบการจดั การ และปรบั ตง้ั มีอยใู่ น ETP-3) การเข้าเมนู IVR ยกหูแลว้ กดป่มุ ดาวส่ีครั้ง (****) หากโทรศพั ท์ทำงาน เราจะไดย้ นิ เสยี งโทนสายถกู ตดั เมื่อกดปุ่ม ดาวคร้ังท่สี อง เป็นการยกเลกิ – ignore เมนูของ IVR จะข้ึนมาหลังจากกดปุ่มดาวหลังสุด (*) เมอื่ จอขน้ึ มา กดทีแ่ ป้นเพอื่ เลือก กดเลขตามที่ต้องการจะทำ
150 หมายเหตุ No.1: การเปลย่ี นจะมีผลก็ต่อเม่อื หลงั จากวางหูแลว้ หรอื ออกจาก IVR. ป้อนหมายเลขช้าๆ ให้ฟงั เสยี งตอบรับก่นทีจ่ ะใสห่ มายเลขต่อไป หลงั จากการเลอื กขอ้ เลอื กใดๆแล้ว ให้กดเคร่อื งหมาย # การออกจากเมนู ทำโดยการวางหูหรอื ใส่ 3948# หมายเหตุ No.2: หลงั จากป้อนคา่ แล้ว เชน่ IP แอทเดรส กด # แสดงวา่ เสร็จ บันทึกค่าใหม่ กด 1. ดูคา่ ทตี่ ั้งใหม่ กด 2. ตงั้ ค่าซ้ำ กด 3. ยกเลกิ คา่ ท่ีป้อน แล้วกลับไปเมนู กดดาว (*) (star) ในขณะกำลังป้อนค่า สามารถยกเลิกคา่ ทีเ่ ปลย่ี นได้ โดยกด (*) (star) สองคร้ัง ภายในคร่งึ วิ หากไม่ใชง้ านเมนนู านเกินหนงึ่ นาที หมดเวลา หมายเหตุ No.3: การเปล่ยี นบางขอ้ อาจทำให้ ETP3 บทู เองอัตโนมัติ การใสจ่ ดุ ลงใน IP แอทเดรส ให้กดดาว (*) ตัวอยา่ ง เปลี่ยนแอทเดรสของ WAN เป็น 191.168.0.201, ทำดงั นี:้ กด 111# ในเมนู IVR ใส่เลข: 191*168*0*201. กด # เมอื่ เสร็จการตง้ั IP แอทเดรส กด 1 เพ่อื บันทึก IP แอทเดรสน้ัน หรอื กด * (star) เพือ่ ยกเลกิ แล้วกลับไปเมนูหลกั เม่อื เรียบรอ้ ยแลว้ ใหว้ างหู เริ่มการใชง้ าน
151 เคร่ืองโทรศัพทแ์ บบ IP Phone เครื่องโทรศัพทร์ ะบบ VoIP ยี่หอ้ FANVIL ร่นุ C600
152 ปุ่ม งั กช์ ัน Headset key กดเมื่อตอ้ งการใชง้ านติดตอ่ โดยการใช้ Headset mode หรอื ใช้ เปล่ยี นเปน็ Headset mode ในระหว่างการสนทนา Option key เมอื่ ต้องการเรียกฟงั กช์ ันทั้งหมดของโทรศัพท์ หรอื เมือ่ กดคา้ งจะ ทำการถ่ายภาพหนา้ จอ Hands-free key เมื่อกดใชง้ านในหนา้ จอปกติ จะเป็นการเรยี กแป้นตัวเลขเพ่ือ ทำการเรียกหมายเลขตอ่ ไป หรอื ในระหว่างสนทนาจะเป็นการเปดิ ลำโพงของ เครือ่ งโทรศัพท์เพือ่ ใชใ้ นการสนทนา Return key กดเพ่ือย้อนกลบั ไปการตั้งค่าก่อนหนา้ หรอื หน้าต่างก่อนหน้า เมือ่ อยใู่ นโปรแกรมจะเปน็ การปิดโปรแกรมนั้น Home key เมอ่ื กดปุม่ นีจ้ ะกลบั ไปหนา้ จอหลกั ของดครอ่ื งโทรศพั ท์ กล้องหนา้ สำหรบั การสนทนาแบบวิดโี อ
153 พอรต์ การเชอ่ื มต่อ ความหมาย DC Power Interface Input: 220V AC Output: 12V DC PC interface ใชเ้ ชื่อมต่อกบั คอมพวิ เตอรเ์ พื่อตง้ั คา่ ตา่ งๆ Internet interface ใชเ้ ชอ่ื มตอ่ กับเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตรองรบั การใชง้ าน Handset interface แบบ PoE ใชเ้ ช่อื มต่อกบั หูฟงั เครอ่ื งโทรศัพท์
154 พอร์ตการเชอ่ื มตอ่ ความหมาย USB interface. ใช้สำหรบั เช่อื มต่อกบั อุปกรณจ์ ดั เก็บขอ้ มูล Headset interface. ใชเ้ ชอ่ื มต่อกับหูฟงั แบบครอบหู
155 HDMI interface. สำหรบั ต่อออกจอภาพภายนอก วธิ กี ารต้ังคา่ ใช้งาน เลือกเมนู Accounts เลือกโปรไฟลท์ ่ีตอ้ งการใช้งานในทนี่ ้เี ลือกใช้โปรไฟล์ Account1 เมื่อกด เลือกเข้าไประบบจะถามให้ใส่รหัส ให้ปอ้ น “123456” เมื่อตอ้ งการลงทะเบียนในชอ่ ง Enable registration ใหเ้ ลือก จากนั้นช่อง Server address ให้ใส่ Server ท่ีต้องการลงทะเบียน • Authentication user ให้นำ Account ที่ไดจ้ ากผใู้ หบ้ รกิ ารมาใส่ • Authentication Password ใหน้ ำ Password ท่ีได้จากผู้ให้บริการมาใส่ • SIP user นำหมายเลขท่ีต้องการลงทะเบยี นมาใส่ • Display name เป็นชือ่ เรยี กสำหรับหมายเลขนน้ั ๆ เมอ่ื กรอกครบแลว้ ให้กด Save เพอื่ บันทกึ แล้วลงทะเบยี นพรอ้ มใช้งาน
156 ไ ้าเบ้ืองตน้ ไฟฟา้ เป็นพลงั งานทม่ี ีความสำคัญตอ่ มนษุ ย์ชาติในปจั จบุ นั โดยเฉพาะการพฒั นาทกุ ๆ ดา้ น จำเปน็ ตอ้ งอาศยั พลงั งานไฟฟ้าทัง้ สิ้น แหลง่ กำเนิดไ า้ แหล่งกำเนดิ ไฟฟา้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1.ไฟฟา้ ท่ีเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ 2. ไฟฟ้าท่มี นษุ ย์สรา้ งขึ้น 1.1ไ ้าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) โดยมาก จะเกดิ จากการเสียดสี (Friction) เช่น การเสียดสีของวัตถบุ างชนิด การหวผี มในบางฤดทู ำใหห้ วีสามารถ ดดู เศษกระดาษเล็กๆ ได้หรือการเกดิ ปรากฏการทางธรรมชาติเชน่ ฟ้าแลบ, ฟ้าร้อง, ฟา้ ผ่าซึ่งเกดิ จากการ สะสมของประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน ก้อนเมฆในท้องฟ้าและเกิดการถ่ายเทของประจุไฟฟ้าจาก กล่มุ หนง่ึ ไปยังอกี กลุ่มหนึง่ การถ่ายเทดังกล่าว ประจไุ ฟฟ้าทเ่ี หมอื นกันจะผลกั กนั เชน่ ประจลุ บกับประจุ ลบจะผลักกัน ประจุบวกกับประจุบวกจะผลักกัน ประจุไฟฟ้าที่ต่างกันจะดดู กันเช่น ประจุลบกับประจุ บวก 2.1 ไ า้ ที่มนุษยส์ รา้ งข้ึน แบ่งออกได้เปน็ 2 ชนิด 2.1.1 ไฟฟ้ากระแสสลบั (Alternating Current) อกั ษรย่อ AC 2.1.2 ไฟฟา้ กระแสตรง (Direct Current) อักษรย่อ DC 2.1.1 ไ า้ กระแสสลับ ไฟฟา้ กระแสสลับเป็นไฟฟา้ ทนี่ ำมาใช้ ตามอาคารบ้านเรอื นอาคารพาณิชยโ์ รงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการ ขนาดแรงดันไฟฟ้า และความถี่ที่ใชอ้ ยู่ตามอาคารบ้านเรือนจะมีขนาดแรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ ความถ่ี 50 เฮิรตซ์(220 V / 50 Hz) ส่วนอาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรม สถาน ประกอบการใช้ขนาดแรงดัน ไฟฟ้า380 โวลต์ความถี่50 เฮิรตซ์(380 V / 50 Hz) สำหรับจ่ายให้ เคร่ืองจักรทำงาน และ 220 โวลต์ 50 เฮริ ตซ์ (220 V / 50 Hz)สำหรับจ่ายให้เคร่ืองใชใ้ นสำนกั งาน ลักษณะทิศทางการไหลของไฟฟ้ากระแสสลับจะเริ่มไหลจากมุม 0๐ - 90๐ เป็นค่าแรงดันสูงสุด ทางด้านบวก เรียกแรงดันไฟฟ้าช่วงนี้ว่าโวลต์พีค (Volt Peak) อักษรย่อ (Vp) หลังจากนั้นไหลจากมุม 90๐ - 180๐ ครบครึ่งรอบหรือครึ่งไซเคิล (Cycle) แต่ในปัจจุบนั นยิ มเรยี กวา่ เฮิรตซ์ (Hertz) จากนั้นจะ กลับทิศทางการไหลจากมุม 180๐ - 270๐ เป็นค่าแรงดันสูงสุดทางด้านลบ เรียกแรงดันไฟฟ้าช่วงนี้ว่า โวลต์พีค (Volt Peak) อักษรย่อ (Vp) และไหลต่อจากมุม 180๐ - 360๐ ครบ 1 รอบหรือ 1 ไซเคิล (1 Hz) ช่วงของแรงดันตั้งแต่มุม 90๐ - 270๐ เรียกว่า โวลต์พีคทูพีค (Volt Peak To Peak) อักษรย่อ (Vp – p) การเปลยี่ นแปลงในลักษณะดังท่กี ล่าวมาเรยี กว่าไซนเ์ วฟ (Sine Wave)
157 V+ 90๐ (Vp) Volt Peak + 0 180๐ 360๐ Time Volt Peak to Peak (Vp-p) (Vp) Volt Peak - V- 270๐ รูปที่ 1 สญั ลกั ษณ์ไฟฟ้ากระแสสลบั แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ได้จากไดนาโม (Dynamo) โดยการทำใหข้ ดลวดเคล่ือนที่ตัดกับ สนามแม่เหล็ก ได้เปน็ ไฟฟ้ากระแสสลับออกมาที่ปลายท้ังสองของขดลวด ระบบการส่งไฟฟ้าจะเริ่มจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตทำหน้าที่ผลิตกระแสไฟฟ้าซึ่งการผลิตกระแสไฟฟ้าอาจจะได้มาจาก พลังงานน้ำ น้ำมัน, ถ่านหิน หรือพลังงานอื่นๆ โดยการนำพลังงานดังกล่าว ไปทำให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าทำงานเพอ่ื ผลิตกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ (200kV – 500kV) จะถูกส่งไปยังสายส่งไฟฟ้าแรงสูง เพื่อจ่ายให้กับการไฟฟ้านครหลวง หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งเรียกว่า สถานีไฟฟ้าย่อย จากนั้นการ ไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค จะทำหน้าที่แปลงระดับแรงดันไฟฟ้าแรงสูงให้เป็นแรงดันไฟฟา้ ระดับกลาง (11kV - 22 kV) แรงดันไฟฟ้าระดับกลางจะถูกแปลงโดยใช้หม้อแปลง ให้เป็นแรงดันไฟฟ้า ต่ำ (220V – 380 V) แล้วจ่ายให้อาคารบ้านเรือน, อาคารพาณิชย์, โรงงานอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้า ที่การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จ่ายให้อาคารบ้านเรือน อาคารพาณิชย์ โรงงาน อุตสาหกรรม สถานประกอบการ มี 2 ระบบ 1. ระบบเฟสเดยี ว 2 สาย (Single Phase) ขนาดแรงดนั ไฟฟ้าทใ่ี ช้ 220 โวลต์ ความถ่ี 50 เฮริ ตซ์ ใช้ สำหรับจ่ายให้อาคารบ้านเรือน สายเส้นที่หนึ่ง เป็นสายที่มีแรงดันไฟฟ้า 220V เรียกว่า Line อักษร ยอ่ L สายเสน้ นหี้ า้ มใชส้ ว่ นใด ๆ ของร่างกายสัมผัส เพราะจะทำให้ไฟฟ้าชอ็ ตเสียชีวิตได้ สว่ นสายอีกเส้น หนึ่ง เป็นสายที่มีแรงดันไฟฟ้า 0V เรียกว่า Neutral อักษรย่อ N สายเส้นนี้สามารถใช้ส่วนใดส่วนหน่ึง ของร่างกายสัมผัสได้ การตรวจสอบสายเส้นใดสายที่มีแรงดันไฟฟ้าสายเส้นใดไม่มแี รงดันไฟฟ้าสามารถ ตรวจสอบได้โดยการใชไ้ ขควงทดสอบไฟ สายเส้นใดท่ีใชไ้ ขควงแตะแล้วหลอดไฟทไ่ี ขควงติดสวา่ งแสดงว่า สายเส้นนั้นเป็นสายที่มีแรงดันไฟฟ้า สายเส้นใดที่ใช้ไขควงแตะแล้วหลอดไฟที่ไขควงดับแสดงว่า สายเส้นนั้นเป็นสายที่ไม่มีแรงดันไฟฟ้า แต่ในปัจจุบันการไฟฟ้าได้ออกกฎหมายให้ใช้ 3 สาย สายที่ เพิ่มขึ้นเรียกว่าสายดิน (Ground) อักษรย่อ (GND) หรือ (G) เพื่อความปลอดภัยของผูใ้ ช้ไฟฟา้ ในกรณีที่ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้ารั่วลงบริเวณตัวถงั
158 L 220 V 220 V N G รูปท่ี 2 แสดงสายไฟ 1 เฟส แบบ 2 สาย และ 3 สาย สายไฟฟ้าท่ใี ชจ้ ะเป็นแบบ 3 แกน (3 Core) 1. สาย L แบบใหมใ่ ช้สนี ำต้ าล แบบเดมิ ใช้สดี ำ 2. สาย N แบบใหมใ่ ชส้ ีฟ้า แบบเดมิ ใชส้ เี ทา 3. สาย G ใช้สเี ขยี วแถบเหลือง 2. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย (Three Phase Four Wire) ใช้สำหรับจ่ายให้ อาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรม ขนาดแรงดันไฟฟ้าที่ใช้ 380 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ และสามารถใช้เป็นขนาด แรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ได้ โดยใช้ร่วมกับสายนิวตรอน แรงดันไฟฟ้า 380 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ ใช้สำหรับจ่ายให้เครื่องจักรกลให้ทำงาน ส่วนแรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ ความถ่ี 50 เฮริ ตซ์ ใช้สำหรับจ่ายใหอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้าทใี่ ช้ภายในสำนักงาน สายไฟฟ้าทีใ่ ช้จะเป็นแบบ 5 แกน (5 Core) 1. เฟส R หรือ L1 ใชส้ นี ำ้ตาล 3. เฟส T หรอื L3 ใช้สเี ทา 2. เฟส S หรือ L2 ใช้สีดำ 4 . N (Neutral) ใชส้ ีฟ้า 5. G (สายดิน) ใชส้ ีเขยี วแถบเหลือง R 380 V S 380 V T 380 V 220 V 220 V 220 V N รปู ที่ 3 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย
159 การวดั แรงดนั ไ า้ 3 เ ส 4 สาย สามารถวัดได้ 2 แบบ วัดแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟสกับเฟส และวัดแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟสกบั นิวตรอน (N) วดั แรงดันไ า้ ระหว่างเ สกับเ ส แรงดนั ระหวา่ งเฟส R หรือ L1 กบั เฟส S หรอื L2 เทา่ กบั 380 V แรงดนั ระหวา่ งเฟส S หรอื L2 กับเฟส T หรอื L3 เทา่ กบั 380 V แรงดันระหว่างเฟส R หรือ L1 กับเฟส T หรือ L3 เทา่ กับ 380 V วัดแรงดนั ไ า้ ระหว่างเ สกับนวิ ตรอน แรงดนั ระหว่างเฟส R หรอื L1 กบั N เทา่ กับ 220 V แรงดนั ระหวา่ งเฟส S หรือ L2 กับเฟส N เทา่ กบั 220 V แรงดันระหวา่ งเฟส T หรอื L3 กบั เฟส N เทา่ กบั 220 V 2.1.2 ไ า้ กระแสตรง ไฟฟา้ กระแสตรง คอื ไฟฟา้ ทีม่ ที ศิ ทางการไหลทางเดยี ว มีข้วั บวก ข้ัวลบคงท่ี ใช้เป็นพลงั งานจา่ ยให้ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และอปุ กรณ์ไฟฟา้ อนื่ ๆ ทใ่ี ชไ้ ฟฟ้ากระแสตรง แหล่งกำเนดิ ไ ้ากระแสตรง - เกิดจากปฏิกิรยิ าทางเคมี เชน่ แบตเตอร่ี ถ่านไฟฉาย - เกดิ จากโซล่าเซลล์ หรือโฟโตเ้ ซลล์ (อุปกรณเ์ ปลยี่ นพลงั งานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า) - เกิดจากการเรก็ ตฟิ ายเออร์ (Rectifier) คือการเรียงไฟฟา้ กระแสสลับเปน็ ไฟฟ้ากระแสตรง +V + 0 รูปที่ 4 สญั ลกั ษณไ์ ฟฟ้ากระแสตรง หนว่ ยวดั ไ า้ หน่วยวดั ไฟฟ้าสามารถแบ่งออกเป็นหนว่ ยต่าง ๆ ได้ดังน้ี • แรงดันไฟฟา้ มีหน่วยวัดเป็น โวลต์ (V) • กระแสไฟฟ้ามีหนว่ ยวัดเปน็ แอมแปร์ (A) • กำลังไฟฟ้ามหี น่วยวดั เปน็ วัตต์ (W) • ความถี่ไฟฟา้ มหี นว่ ยวัดเปน็ เฮริ ตซ์ (Hz)
160 • ความตา้ นทานไฟฟ้ามหี น่วยเป็น โอหม์ (Ω) อเิ ล็กทรอนกิ สพ์ ้ืนฐาน เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ตา่ งๆ ทอี่ ำนวยความสะดวกในปัจจุบันอยา่ งเชน่ โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ ต้เู ย็น ฯลฯ เครื่องใชไ้ ฟฟ้าทัง้ หมดท่ีไดก้ ล่าวถงึ นี้ ตา่ งก็มีอปุ กรณ์เป็น อิเลก็ ทรอนกิ ส์เปน็ ส่วนประกอบอยู่ ภายใน เพอื่ ให้สามารถทำงานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตวั ต้านทาน ตัวต้านทานเป็นอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสช์ นิดหน่ึงที่มีสมบัตใิ นการ ต้านการไหลของกระแสไฟฟา้ โดยทว่ั ไปแบ่งเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ตัวต้านทานคงที่ ( Fixed Value Resistor ) เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานของการ ไหลของกระแสไฟฟา้ คงท่ี มสี ัญลักษณท์ ่ใี ช้ในวงจร ดังน้ี ซงึ่ สามารถอา่ นคา่ ความต้านทาน ได้จากแถบสที ี่คาดอย่บู นตัวความต้านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) แถบสที อ่ี ยูบ่ นตวั ตา้ นทานโดยส่วนมากจะมี 4 แถบ และมแี ถบสีท่ีชิดกันอยู่ 3 สี อกี สีหนึง่ จะอยู่ห่าง ออกไปทีป่ ลายข้างหน่ึง การอา่ นค่าจะเรม่ิ จากแถบสีที่อยูช่ ิดกันก่อนโดยแถบท่อี ย่ดู ้านนอกสุดให้เป็นแถบ สที ี่ 1 และสีถดั ไปเป็นสีท่ี 2, 3 และ 4 ตามลำดบั สแี ตล่ ะสีจะมีรหสั ประจำแตล่ ะสี คา่ ความคลาดเคลื่อน ตัวต้านทานมาตรฐานที่ผลิต มีค่าตั้งแต่มิลลิโอห์ม จนถึง จิกะโอห์ม ซึ่งในช่วงนี้ จะมีเพียงบาง ค่าที่เรียกว่า ค่าที่พึงประสงค์ เท่านั้นที่ถูกผลิต และตัวทรานซิสเตอร์ที่เป็นอุปกรณ์แยกในท้องตลาด เหลา่ นน้ี ั้น ในทางปฏบิ ัติแล้วไม่ไดม้ ีค่าตามอุดมคติ ดังนน้ั จึงมกี ารระบุของเขตของการเบ่ียงเบนจากค่าท่ี ระบุไว้ โดยการใช้แถบสแี ถบสุดท้าย เงนิ 10%, ทอง 5%, แดง 2% และ น้ำตาล 1%
161 การอ่านคา่ ความตา้ นทาน สี แถบ 1 แถบ 2 แถบ 3 (ตวั คณู ) แถบ 4 (ขอบเขตความเบยี่ งเบน) สัมประสิทธข์ิ องอุณหภมู ิ ดำ 0 0 ×100 นำตำล 1 1 ×101 ±1% (F) 100 ppm แดง 2 2 ×102 ±2% (G) 50 ppm ส้ม 3 3 ×103 15 ppm เหลือง 4 4 ×104 25 ppm เขียว 5 5 ×105 ±0.5% (D) นำเงิน 6 6 ×106 ±0.25% (C) มว่ ง 7 7 ×107 ±0.1% (B) เทำ 8 8 ×108 ±0.05% (A) ขำว 9 9 ×109 ทอง ×0.1 ±5% (J) เงิน ×0.01 ±10% (K) ไมม่ สี ี ±20% (M)
162 2) ตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ (Variable Value Resistor) เป็นตัวต้านทานที่เมื่อหมุนแกนของ ตัวต้านทาน แล้วค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงไป นิยมใช้ในการควบคุมค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า (Voltage) ในวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ การเพมิ่ – ลดเสยี งในวิทยห์ รอื โทรทศั น์ เปน็ ตน้ สัญลักษณท์ ี่ใช้ใน วงจร ดังนี้ 3) ตัวต้านทานไวแสง หรือ แอลดีอาร์ (LDR) ย่อมาจาก Light Dependent Resistor เป็นตัว ต้านทานปรับคา่ ได้ โดยค่าความต้านทานข้นึ อยู่กับปรมิ าณแสงท่ีตกกระทบ ถา้ แสงทต่ี กกระทบมีปริมาณ มาก LDR จะมีคา่ ความต้านทานตำ่ ซง่ึ สัญลกั ษณท์ ใ่ี ช้ในวงจร คอื
163 ตวั เกบ็ ประจุ ตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่สะสมประจุไฟฟ้าหรือคายประจุ ไฟฟา้ ใหก้ ับวงจรหรืออุปกรณอ์ นื่ ๆ ตัวเก็บประจุบางชนิดจะมีขั้ว คอื ขัว้ บวก และข้ัวลบ ดังน้ันการต่อตัว เก็บประจุในวงจร ต้องต่อให้ถูกขั้ว และต้องทราบค่าของตัวเก็บประจุด้วยว่าเหมาะสมกับวงจร อิเล็กทรอนิกสน์ ้ันๆ หรือไม่ ซึ่งค่าความจขุ องตวั เก็บประจุจะมหี น่วยเป็น ฟารัด (Farad) ใช้ตัวอักษรย่อ คือ F แต่ตัวเก็บประจุที่ใช้กันทั่วไปมักมีหน่วยเป็นไมโครฟารัด (µF) ซึ่ง 1F มีค่าเท่ากับ 106µF ตัวเกบ็ ประจุมดี ้วยกันหลายแบบหลายขนาด แต่ละแบบจะมีความเหมาะสมกับงานทแี่ ตกตา่ งกัน ตัวเก็บ ประจุโดยทวั่ ไปแบง่ เป็น 2 แบบ ไดแ้ ก่ 1) ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่ (Fixed Value Capacitor) เป็นตัวเก็บประจุที่ได้รับการผลิตให้มี ค่าคงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคา่ ความจุได้ แต่จะปรับค่าความจุให้เหมาะสมกับวงจรได้โดยนำตัวเกบ็ ประจหุ ลายๆ ตัวมาตอ่ กันแบบขนานหรอื อนกุ รม Capacitor ชนิดนี้จะมีขั้วบวกและขั้วลบบอกไว้ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบกลมดังนั้น การนำไปใช้ งานจะต้องคำนึงถึงการต่อขั้วให้กับ Capacitor ด้วย จะสังเกตขั้วง่าย ๆ ขั้วไหนที่เป็นขั้วลบจะมีลูกศร ชไี้ ปท่ีข้ัวนั้น และในลูกศรจะมีเครอ่ื งหมายลบบอกเอาไว้ ตัวเก็บประจุแบบกระดาษ (Paper capacitor) ตัวเก็บประจุแบบกระดาษ นำไปใช้งานซ่ึง ต้องการค่าความต้านทานของฉนวนที่มี ค่าสูง และ มี เสถียรภาพต่ออุณหภูมิสูงได้ดี มีค่าความจุที่ดีใน ย่านอณุ หภูมทิ ี่กว้าง
164 ตวั เก็บประจุแบบไมก้า (Mica capacitor) ตวั เก็บประจุแบบไมกา้ น้ี จะมีเสถยี รภาพต่ออุณหภูมิ และ ความถด่ี ี มคี า่ ตัวประกอบการสูญเสยี ต่ำ และ สามารถทำงาน ได้ดที ค่ี วามถีส่ ูง จะถูกนำมาใช้ในงาน หลายอยา่ ง เชน่ ในวงจะจูนวงจรออสซิสเตอร์ วงจรกรองสัญญาณ และวงจรขยาย ความ ถ่ีวิทยกุ ำลังสูง จะไม่มีการผลิตตัวเก็บประจุแบบไมก้าค่าความจุสูงๆ ออกมา เนื่องจากไมก้ามีราคาแพง จะทำให้ คา่ ใช้จ่ายในการ ผลิตสงู เกนิ ไป ตัวเก็บประจุแบบเซรามิก (Ceramic capacitor) ตัวเก็บประจุชนิดเซรามิก โดยทั่วไปตัวเก็บ ประจุชนดิ นมี้ ีลักษณะกลมๆ แบนๆ บางครัง้ อาจพบแบบสี่เหลี่ยมแบนๆ สว่ นใหญต่ ัวเก็บประจุชนิดนี้ มี ค่าน้อยกว่า 1 ไมโครฟารัด และเป็นตัวเก็บประจุชนดิ ที่ไม่มขี ั้ว และสามารถทนแรงดันได้ประมาณ 50 - 2000 โวลต์ค่าความจุของตัวเก็บประจุชนิดเซรามิกที่มีใช้กันในปัจจุบันอยู่ในช่วง 1 พิโกฟารัด ถึง 0.1 ไมโครฟารัด
165 ตวั เก็บประจุแบบอิเล็กโทรไลติก (Electrolytic capacitor) ตัวเกบ็ ประจุชนดิ อเิ ลก็ โทรไลตกิ ตัว เก็บประจุชนิดนีต้ ้องระวงั ในการนำไปใช้งานด้วย เพราะมีขั้วที่แนน่ อนพมิ พต์ ิดไว้ด้าน ข้างตัวถังอยู่แลว้ ถา้ ป้อนแรงดนั ใหก้ บั ตัวเก็บประจผุ ิดข้ัว อาจเกดิ ความเสียหายกับตวั มนั และอปุ กรณท์ ี่ประกอบร่วมกันได้ ขว้ั ของตวั เก็บประจุชนิดน้ีสังเกตได้ง่ายๆ เมอื่ ตอนซอื้ มา คอื ขาที่ยาวจะเป็นขั้วบวก และขาที่สั้นจะเป็น ขว้ั ลบ ตวั เกบ็ ประจแุ บบน้ำมนั (Oil capacitor) ตัวเกบ็ ประจแุ บบโพลีสไตลนี (Polyethylene capacitor) ตัวเก็บประจุ แทนทาล่ัม (Tantalum capacitor) ตัวเก็บประจแุ บบแทนทาลั่ม จะให้ค่าความจุ สูงในขณะที่ตัวถังที่บรรจุมีขนาดเล็ก และมีอายุในการเก็บรักษาดีมาก ตัวเก็บประจุแบบแทนทาลั่มนี้ มีหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น ชนิด โซลิต (solid type) ชนิด ซินเทอร์สลัก (sintered slug) ชนิดฟอลย์ธรรมดา (plain foil) ชนิดเอ็ชฟอยล์ (etched foil) ชนิดเว็ทสลัก (wet slug) และ ชนิดชิป (chip) การนำไปใช้งานต่างๆ ประกอบด้วยวงจรกรองความถี่ต่ำ วงจรสง่ ผ่านสัญญาณ ชนิด โซลิตน้ันไม่ ไวตอ่ อณุ หภูมิ และ มคี า่ คุณ สมบัตริ ะหวา่ งคา่ ความจุอณุ หภมู ิต่ำกวา่ ตัวเก็บประจุ แบบอเิ ลก็ ทรอไลติกช นิดใด ๆ สำหรับงานที่ตัวเก็บประจุแบบแทนทาลั่มไม่เหมาะกับ วงจรตั้งเวลาที่ใช้ RC ระบบกระตุ้น
166 (triggering system) หรือ วงจรเลื่อนเฟส (phase - shift network) เนื่องจากตัวเก็บประจุแบบนี้ มีค่าคุณสมบัติของการดูดกลืนของไดอิเล็กตริกสูง ซง่ึ หมายถึงเมอ่ื ตัวเก็บประจุถูกคายประจุสารไดอิเล็ก ตรกิ ยงั คงมปี ระจุหลงเหลอื อยู่ ดังน้นั เม้วา่ ตวั เกบ็ ประจุทมี่ ีคุณสมบตั ิของการดูดกลนื ของสารไดอิเล็กตริก สูงจะถูกคายประจุประจุจนเป็นศูนย์แลว้ ก็ตาม จะยังคงมีประจุเหลืออยู่เป็นจำนวนมากพอ ที่จะทำ ให้ เกิดปญั หาในวงจรตั้งเวลา และวงจรอืน่ ท่ีคล้ายกนั ตัวเก็บประจแุ บบไมลา (Milar capacitor) ตัวเกบ็ ประจแุ บบไบโพลา (Bipolar capacitor) ตวั เก็บประจุแบบโพลีโพรไพลีน (Polypropylene) สญั ลกั ษณข์ องตวั เก็บประจุชนดิ ค่าคงทีใ่ นวงจรจะเป็นดังน้ี
167 2) ตัวเก็บประจุเปลี่ยนค่าได้ (Variable Value Capacitor) เป็นตัวเก็บประจุที่สามารถปรับ ค่าความจุได้ โดยทั่วไปมักใช้ในวงจรปรบั แต่งสัญญาณทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือพบในเคร่ืองรับวิทยซุ ึ่งใช้ เปน็ ตวั เลือกหาสถานีวทิ ยุ ตวั เกบ็ ประจุชนิดน้ีส่วนมากเปน็ ตัวเกบ็ ประจุชนดิ ใชอ้ ากาศเป็นสารไดอิเล็กทริก และการปรับค่าจะทำได้โดยการหมุนแกน ซึ่งมีโลหะหลายๆ แผ่นอยู่บนแกนนนั้น เมื่อหมุนแกน แผน่ โลหะจะเลื่อนเขา้ หากันทำให้ค่าประจุเปล่ียนแปลง สญั ลกั ษณ์ของตัวเก็บประจเุ ปลี่ยนค่าได้ในวงจร จะเปน็ ดงั นี้
168 ไดโอด ไดโอด (Diode) เป็นอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์มีสองขั้วคอื ข้ัว A (Anode) และขว้ั K (Cathode) มี คุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลในจากขั้ว A ไปหาขั้ว K เท่านัน้ และ ไม่ยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลจาก ขั้ว K ไปยังขั้ว A เมื่อกล่าวถึงไดโอด มักจะหมายถึงไดโอดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor diode) ซึ่งก็คือผลึกของสารกึ่งตัวนำที่ต่อกันได้ขั้วทางไฟฟ้าสองขั้ว ส่วนไดโอดแบบหลอดสุญญากาศ (Vacuum tube diode) ถูกใช้เฉพาะทางในเทคโนโลยีไฟฟ้าแรงสูงบางประเภท เปน็ หลอดสญุ ญากาศท่ี ประกอบดว้ ยขวั้ อเิ ล็ดโทรดสองขัว้ ซ่งึ จะคือแผน่ ตวั นำ (Plate) และแคโทด (Cathode) ส่วนใหญ่เราจะใช้ไดโอดในการยอมให้กระแสไปในทิศทางเดยี ว โดยยอมให้กระแสไฟในทางใด ทางหนึ่ง ส่วนกระแสที่ไหลทิศทางตรงข้ามกันจะถูกกั้น ดังนั้นจึงอาจถือว่าไดโอดเป็นวาล์วตรวจสอบ แบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึง่ ซึ่งนับเป็นประโยชน์อย่างมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ใช้เป็นตัวเรียง กระแสไฟฟา้ ในวงจรแหลง่ จา่ ยไฟ เป็นตน้ อย่างไรกต็ ามไดโอดมีความสามารถมากกวา่ การเปน็ อุปกรณท์ ใ่ี ช้เปิด-ปดิ กระแสง่าย ๆ ไดโอดมี คุณลักษณะทางไฟฟ้าที่ไม่เป็นเชิงเส้น ดังนั้นมันยังสามารถปรับปรุงโดยการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของ พวกมันที่เรียกว่ารอยต่อ p-n มันถูกนำไปใช้ประโยชน์ในงานที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ นั่นทำให้ไดโอดมี รูปแบบการทำงานได้หลากหลายรูปแบบ ยกตวั อย่างเช่น ซีเนอร์ไดโอด เป็นไดโอดชนดิ พเิ ศษที่ทำหน้าท่ี รักษาระดับแรงดันให้คงที่ วาริแอกไดโอดใช้ในการปรับแต่งสัญญาณในเครื่องรับวิทยุและโทรทัศน์ ไดโอดอุโมงค์หรือทันเนลไดโอดใช้ในการสร้างสัญญาณความถี่วิทยุ และไดโอดเปล่งแสงเป็นอุปกรณ์ท่ี สร้างแสงขึ้น ไดโอดอุโมงค์มีความน่าสนใจตรงที่มันจะมีค่าความต้านทานติดลบ ซึ่งเป็นประโยชน์มาก เมอื่ ใช้ในวงจรบางประเภทซึง่ สัญลกั ษณข์ องไดโอดในวงจรไฟฟา้ เปน็
169 ไดโอดบางชนิดเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะให้แสงสว่างออกมา เราเรียกว่า ไดโอดเปล่งแสง หรอื แอลอีดี (LED) ซึง่ ย่อมาจาก Light Emitting Diode และมีสญั ลักษณใ์ นวงจรเปน็ ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor) บางครั้งถูกเรียกว่าคอยล์หรือรีแอคเตอร์(coil หรือ reactor)เป็น ชิ้นส่วนในวงจรไฟฟ้าแบบพาสซีฟสองขั้วไฟฟ้า (ขา) มีคุณสมบัติในการป้องกันการเปลี่ยนแปลงของ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวมัน มันประกอบด้วยตัวนำ เช่นลวดทองแดงม้วนกันเป็นวงกลม เมื่อกระแส ไหลผา่ นตวั มัน พลังงานจะถูกเกบ็ ไวช้ วั่ คราวในรปู สนามแม่เหลก็ ในคอยล์นนั้ เม่อื กระแสนน้ั เปล่ียนแปลง สนามแมเ่ หลก็ ท่ีแปรตามเวลาจะทำให้เกิดแรงดันไฟฟา้ ในตัวนำนั้น ตามกฎการเหนีย่ วนำแม่เหล็กไฟฟ้า ของฟาราเดย์ ซึ่งจะต้านกับการเปล่ียนแปลงของกระแสท่ีสร้างมนั ซ่ึงสญั ลักษณ์ของไดโอดในวงจรไฟฟ้า เปน็ ดังน้ี ทิศทางของสนามไฟฟ้าเกิดขึ้นตามกฎมือขวา ทิศทางของสนามเกิดในทิศทางของหัวแม่มือ เมอื่ กระแสไหลไปในทิศทางของน้ิวมอื ทง้ั สี่
170 ประเภทของตัวเหนีย่ วนำ ตวั เหน่ยี วนำแกนอากาศ หม้อแปลงสั่นเกลียวดับเบิลสำหรับเครื่องส่งสัญญาณช่องว่างจุดประกาย (spark gap transmitter) หม้อแปลงประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำสองขดลวดเกลียว ตัวเหนี่ยวนำภายในจะถูกเคลื่อนย้ายเพื่อปรับ การเหนี่ยวนำร่วมกันระหว่างสองขดลวด คำว่าคอยล์แกนอากาศอธิบายตัวเหนี่ยวนำที่ไม่ได้ใช้แกน แม่เหล็กที่ทำจากวัสดุ ferromagnetic คำนี้หมายถึงคอยล์ที่พันบนพลาสติก, เซรามิกหรือรูปแบบอื่นๆ ของวัสดุ nonmagnetic เช่นเดียวกับพวกที่มเี พียงอากาศภายในขดลวด แกนอากาศมีค่าการเหนีย่ วนำ ต่ำกว่าคอยล์แกน ferromagnetic แต่มักจะถูกนำมาใช้กับความถี่สูงเพราะพวกมันมีอิสระจากการ สูญเสียพลังงาน ที่เรียกว่า core loses ที่เกิดขึ้นในแกน ferromagnetic ซึ่งเพิ่มขึ้นตามความถี่ ผลขา้ งเคียงทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ ในคอยล์แกนอากาศในที่ซง่ึ ขดลวดไมไ่ ด้รับการยึดติดอยา่ งเหนยี วแน่นในแบบท่ี เป็น ' Micro phony ' หมายถึงการสน่ั สะเทอื นทางกลของขดลวดสามารถทำใหเ้ กดิ การ เปลยี่ นแปลงใน การเหนยี่ วนำ ตัวเหน่ียวนำแกน ferromagnetic ความหลากหลายของประเภทของตัวเหนี่ยวนำและหม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ ตัวเหนี่ยวนำแกน ferromagnetic หรือแกนเหลก็ ใช้แกนแม่เหล็กที่ทำจากวัสดุ ferromagnetic หรือ ferrimagnetic เช่น เหล็กหรอื เฟอร์ไรต์เพ่อื เพิม่ การเหนี่ยวนำ แกนแมเ่ หล็กสามารถเพิม่ การเหนี่ยวนำของคอยลห์ ลายพันเท่า โดยการเพิ่มสนามแม่เหล็กเนื่องจากการซึมผ่านแม่เหล็กมีค่าสูง อย่างไรก็ตาม คุณสมบัติของแม่เหล็ก ของวัสดุแกนทำใหเ้ กดิ ผลข้างเคียงหลายประการท่ี เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมของตวั เหนยี่ วนำและต้องการ สร้างขนึ้ เปน็ พิเศษ
171 ทรานซสิ เตอร์ เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่มีคุณสมบัติขยายหรือสลับสัญญาณไฟฟ้าหรือพลังงานไฟฟ้า ทรานซสิ เตอร์เปน็ อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ทีท่ ำจากสารก่งึ ตัวนำ ทรานซสิ เตอร์แตล่ ะชนดิ จะมี 3 ขา ไดแ้ ก่ ขาเบส (Base : B), ขาอมิ ติ เตอร์ (Emitter : E), ขาคอลเลก็ เตอร์ (Collector : C) หากแบ่งประเภทของทรานซสิ เตอรต์ ามโครงสร้างของสารท่นี ำมาใชจ้ ะแบง่ ได้ 2 แบบ คอื 1) ทรานซสิ เตอร์ชนิด พีเอ็นพี (PNP) เปน็ ทรานซิสเตอรท์ ีจ่ ่ายไฟเข้าที่ขาเบสให้มีความต่างศักย์ ต่ำกวา่ ขาอมิ ิตเตอร์ 2) ทรานซิสเตอร์ชนิด เอ็นพีเอ็น (NPN) เป็นทรานซิสเตอร์ที่จ่ายไฟเข้าที่ขาเบสให้มีความต่าง ศักย์สงู กวา่ ขาอิมติ เตอร์
172 NPN PNP C C B iB E iC B iB E iC iE iE ทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์ซึ่งถูกควบคุมด้วยกระแสไฟฟ้าที่ผ่านขา B หรือเรียกว่า กระแสเบส คือ เมื่อกระแสเบสเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยก็จะทำให้กระแสไฟฟ้าในขา E (กระแสอิมิตเตอร์) และกระแสไฟฟ้าในขา C (กระแสคอลเล็กเตอร)์ เปลี่ยนแลงไปด้วย ซงึ่ ทำให้ทรานซสิ เตอร์ทำหน้าที่เป็น สวิตช์ปิดหรือเปิดวงจร โดยถ้าไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่านขา B ก็จะทำให้ไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่านขา E และ C ด้วย ซ่ึงเปรยี บเสมือนปิดไฟ (วงจรเปดิ ) แตถ่ า้ ให้กระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยผา่ นขา B จะสามารถควบคุม กระแสไฟฟา้ ท่ีมากกวา่ ให้ผ่านทรานซิสเตอรแ์ ลว้ ผ่านไปยังขา E และผ่านไปยงั อุปกรณ์อื่นที่ต่อจากขา C วงจรไ ้า วงจรไฟฟ้า (Electrical circuit) คือ การนำแหล่งจ่ายไฟฟ้าจ่ายแรงดันและกระแสให้กับโหลด โดยใชล้ วดตวั นำ เป็นการนำเอาสายไฟฟ้าหรอื ตัวนำไฟฟา้ ที่เปน็ เส้นทางเดินให้กระแสไฟฟ้า สามารถไหล ผา่ นต่อถงึ กนั ไดน้ ัน้ เราเรียกวา่ วงจรไฟฟ้า (Electrical circuit) การเคลอ่ื นท่ีของอเิ ล็กตรอน ทีอ่ ยู่ภายใน วงจรจะเริ่มจากแหล่งจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้า ดังการแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น โดยการต่อ แบตเตอรี่ต่อเข้ากับหลอดไฟ หลอดไฟฟ้าสว่างได้เพราะว่ากระแสไฟฟ้าสามารถไหลได้ตลอดท้ัง วงจรไฟฟ้า และ เมื่อหลอดไฟฟ้าดับก็เพราะว่ากระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ตลอดทั้งวงจร เนื่องจาก สวิตช์เปิดวงจรไฟฟ้าอยู่ แสดงวงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น มีส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน ส่วนประกอบหลักแต่ละส่วนมีหน้าที่การ ทำงานดังนี้ 1. แหล่งจ่ายไฟฟ้า เป็นแหล่งจ่ายแรงดันและกระแสให้กับอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าโดย แหล่งจ่ายไฟฟ้าสามารถนำมาได้จากหลายแหล่งกำเนิด เช่น จากปฏิกิริยาเคมี จากขดลวดตัด สนามแม่เหลก็ และจากแสงสว่าง เป็นต้น บอกหน่วยการวัดเป็นโวลต์ (Volt) หรอื V 2. โหลดหรอื อุปกรณ์ไฟฟ้า เปน็ อุปกรณต์ ่างๆ ทใ่ี ช้ไฟฟา้ ในการทำงาน โหลดจะทำหน้าที่เปล่ียน พลงั งานไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ พลังงานรูปอน่ื ๆ เชน่ เสียง แสง ความร้อน ความเย็น และการสั่นสะเทือน เป็นต้น โหลดเป็นคำกล่าวโดยรวงมถึงอุปกรณ์ไฟฟ้าทกุ ชนิดอะไรก็ได้ เช่น ตู้เย็น พัดลม เครื่องซักผ้า โทรทัศน์
173 วิทยุ และเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น โหลดแต่ละชนิดจะใชัพลังงานไฟฟ้าไม่เท่ากัน ซึ่งแสดงด้วยค่า แรงดัน กระแส และกำลงั ไฟฟา้ 3. สายไฟต่อวงจร เป็นสายตวั นำหรือสายไฟฟา้ ใชเ้ ชื่อมตอ่ วงจรให้ตอ่ ถึงกันแบบครบรอบ ทำให้ แหล่งจ่ายแรงดันต่อถึงโหลดเกิดกระแสไหลผ่านวงจร จากแหล่งจ่ายไม่โหลดและกลับมาครบรอบที่ แหลง่ จ่ายอกี ครั้ง สายไฟฟ้าท่ีใช้ต่อวงจรทำด้วยทองแดงมฉี นวนหุม้ โดยรอบเพ่ือใหเ้ กิดความปลอดภัยใน การใช้งาน ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าเบอื้ งต้น โหลดหรืออปุ กรณ์ไฟฟ้า สายต่อวงจร -+ แหลง่ จา่ ยพลงั งานไฟฟา้ แบบวงจรไฟฟา้ สว่ นสำคญั ของวงจรไฟฟ้าคือการตอ่ โหลดใช้งาน โหลดท่นี ำมาตอ่ ใช้งานในวงจรไฟฟ้าสามารถต่อ ไดเ้ ปน็ 3 แบบด้วยกนั ไดแ้ ก่ วงจรำฟฟา้ แบบอนกุ รม (Series Electrical Circuit) วงจรไฟฟา้ แบบขนาน (Parallel Electrical Circuit) และวงจรไฟฟา้ แบบผสม (Series - Parallel Electrical Circuit) วงจรไฟฟ้า แบบอนุกรม จรอนกุ รมหมายถงึ การนำเอาอปุ กรณ์ทางไฟฟ้ามาตอ่ กันในลักษณะท่ีปลายด้านหนงึ่ ของอุปกรณ์ตัวที่ 1 ต่อเข้ากบั อุปกรณ์ตัวท่ี 2 จากน้ันนำปลายทเี่ หลอื ของอปุ กรณต์ ัวที่ 2 ไปต่อกบั อุปกรณ์ตัวที่ 3 และจะต่อ ลักษณะนี้ไปเรื่อยๆ ซึ่งการต่อแบบนี้จะทำให้กระแสไฟฟ้าไหลไปในทิศทางเดียว กระแสไฟฟ้าภายใน วงจรอนุกรมจะมีค่าเท่ากันทุกๆจุด ค่าความต้านทานรวมของวงจรอนุกรมนั้นคือการนำเอาค่าความ ต้านทานทง้ั หมดนำมารวมกนั สว่ นแรงดนั ไฟฟ้าในวงจรอนุกรมนน้ั แรงดนั จะปรากฎคร่อมตัวต้านทานทุก ตัวทีจ่ ะมีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นซึ่งแรงดนั ไฟฟา้ ท่เี กดิ ข้นึ จะมีคา่ ไมเ่ ท่ากนั โดยสามารถคำนวนหาไดจ้ าก กฎ ของโอห์ม คณุ สมบัตทิ ่ีสำคัญของ วงจรอนกุ รม 1 กระแสไฟฟ้าจะไหลผา่ นเทา่ กนั และมที ศิ ทางเดยี วกนั ตลอดทั้งวงจร 2 ความต้านทานรวมของวงจรจะมคี า่ เทา่ กับผลรวมของความตา้ นทานแต่ละตวั ในวงจรรวมกัน 3 แรงดนั ไฟฟ้าตกครอ่ มสว่ นตา่ งๆ ของวงจร เมือ่ นำมารวมกันแลว้ จะเทา่ กบั แรงดนั ไฟฟ้าท่ีแหล่งกำเนิด
174 วงจรแบบอนกุ รม -+ วงจรไฟฟา้ แบบขนาน วงจรทเ่ี กดิ จากการต่ออุปกรณไ์ ฟฟ้าต้ังแต่ 2 ตัวขึน้ ไปใหข้ นานกับแหลง่ จ่ายไฟมีผลทำให้ ค่าของ แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน ส่วนทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าจะมี ตั้งแต่ 2 ทิศทางขึ้นไปตามลักษณะของสาขาของวงจรส่วนค่าความตา้ นทานรวมภายในวงจรขนานจะมี ค่าเท่ากับผลรวมของส่วนกลับของค่าความต้านทานทุกตัวรวมกัน ซ่ึงค่าความต้านทานรวมภายใน วงจรไฟฟา้ แบบขนานจะมีคา่ น้อยกว่าค่าความต้านทานภายในสาขาทมี่ ีค่าน้อยที่สุดเสมอ และค่าแรงดัน ที่ตกคร่อมความต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวจะมคี ่าเท่ากบั แรงเคลื่อนของแหล่งจ่าย คณุ สมบัตทิ ่สี ำคัญของ วงจรขนาน 1 กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมคี า่ เท่ากับกระแสไฟฟา้ ย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของวงจรรวมกนั 2 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเทา่ กับแรงดันไฟฟา้ ทแ่ี หลง่ กำเนิด 3 ความต้านทานรวมของวงจร จะมคี ่าน้อยกว่าความต้านทานตวั ท่ีน้อยท่สี ุดทต่ี ่ออยู่ในวงจร
175 วงจรแบบขนาน -+ วงจรไฟฟ้า แบบผสม เป็นการต่อวงจรไฟฟ้าโดยการต่อรวมกันระหว่าง วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมกับวงจรไฟฟ้าแบบ ขนาน ภายในวงจรโหลดบางตวั ต่อวงจรแบบอนุกรม และโหลดบางตวั ตอ่ วงจรแบบขนาน การต่อวงจรไม่ มีมาตรฐานตายตัว เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะการต่อวงจรตามต้องการ การวิเคราะห์แก้ปัญหาของ วงจรผสม ตอ้ งอาศยั หลกั การทำงานตลอดจนอาศัยคุณสมบัตขิ องวงจรไฟฟ้าทง้ั แบบอนกุ รม และ แบบ ขนาน ลกั ษณะการต่อวงจรไฟฟ้า แบบผสม วงจรแบบผสม -+
176 เครอื่ งมือตรวจวัด การวัด (Measurement) คือ กระบวนการที่ทำการเปรียบเทียบปริมาณท่ีไม่ทราบค่าของ ตัวแปรกับมาตรฐานที่กำาหนดไว้ ถ้าค่าที่วัดไดใ้ กล้เคยี งกับค่าจริงมากเพียงใดแสดงว่าการวัดนั้นมีความ แม่นยําหรือคาความถูกต้องสูง การวัดทุกครั้งจะมคี ่าความผิดพลาดเสมอในทางปฏิบัติจะไม่มีเครืองมอื วัดที่สามารถวดั ค่าแล้วมีความถูกตอ้ งเท่ากับค่าจริง ดังนั้นการใช้เครืองมือวัดจะตอ้ งเข้าใจหลักการและ เทคนคิ พ้ืนฐานของการวดั อย่างถูกตอ้ งเสมอ ความผิดพลาด หมายถึง ตวั เลขทแี่ สดงความ แตกตา่ งระหวา่ งค่าท่ีวดั ไดจ้ ากเครื่องมือวดั กับ ค่าทีแ่ ทจ้ รงิ ของสิ่งทีเ่ ราวดั ความผิดพลาดมีหลายประเภท ค่าผิดพลาดสมั บรู ณ์ คือ ปรมิ าณค่าความผดิ พลาดท่บี อกอยู่ในรปู ของ หนว่ ยวดั ค่าความผิดพลาดสัมบรู ณ์ ค่าสงู สดุ คอื 560Ω + 50Ω = 610Ω ค่าต่ำสุด คือ 560Ω - 50Ω = 510Ω ค่าผิดพลาดสมั พัทธ์ คือ ค่าผิดพลาดทางการวดั ท่บี อกอยู่ในรูปของ รอ้ ยละ คา่ ความผดิ พลาดสมั พัทธ์ คา่ สงู สดุ คือ 560Ω + 50Ω = 610Ω คา่ ตำ่ สดุ คือ 560Ω - 50Ω = 510Ω ความผดิ พลาดตกค้าง (Residual Errors) คอื ความผิดพลาดที่เกิดขน้ึ จากสาเหตุท่ีไม่แน่นอนใน กระบวนการวดั ซึ่งจะเกดิ ข้นึ เสมอและได้คา่ ท่ีแตกต่างกันเม่อื ทำการวัดซ้ำในแต่ละครั้ง จากน้ันผวู้ ัดจึงจะ นำคา่ ความผิดพลาดมาวเิ คราะห์โดยหลกั การทางสถิติเพื่อหาคา่ ทีไ่ ด้ตอ่ ไป ความผิดพลาดเน่อื งจากเคร่อื งวัด (Instrumental Errors) คอื ความผิดพลาดทม่ี ีสาเหตุเกิดจาก โครงสร้างระบบกลไกของเครื่องวัดขาดการบำรุงรักษา ทำให้เครื่องวัดเสื่อมประสิทธิภาพและได้ค่า การวดั ที่คลาดเคลอื่ น ตัวอย่างเชน่ การทีเ่ ข็มช้ีไมต่ รงตำแหน่งศูนย์ (Zero Position) จากการปรับแต่งท่ี
177 ผิดพลาด ความฝืดระหว่างฐานรองเดือยกับเดือย รวมทั้งความฝืดจากสปริงก้นหอย (Spiral Spring) ไดแ้ ก่ การยืดตวั และการตึงตัวของสปริงกน้ หอย เครอ่ื งมอื วัด (Measuring Tool) คอื เครอ่ื งมอื สำหรับใชใ้ นการวดั เพ่อื บง่ ช้ีบอกระยะหรือขนาด ในการกำหนดตำแหน่ง ตรวจสอบระยะหรอื ขนาดความกวา้ ง ความยาว ความสูงหรอื ความหนาของวัสดุ ชน้ิ งาน ฯลฯ เครื่องมือวัดมีหลายชนิด แต่ละชนดิ มลี กั ษณะ รปู ร่างที่แตกต่างกันตามประโยชนใ์ ช้งาน ระบบ SI ที่ถูกย่อมาจากคำว่า The International System of Units หมายถึง ระบบสมัยใหม่ ที่ใช้สำหรับการวัดทางวิทยาศาสตร์ในเชิงเมตริก ซึ่งเป็นระบบหนึ่งที่มีความเป็นมาตรฐานสากล จึงถูก นำมาใชง้ านทั่วโลกได้อย่างแพรห่ ลายในระยะเวลายาวนานตงั้ แต่อดตี จนถึงปจั จุบนั หนว่ ยฐาน หมายถงึ หน่วยของปริมาณฐานท่ีถูกกำหนดคา่ ปริมาณไว้ของการวดั ซึ่งตามงานวิจัย เชงิ มาตรวิทยาที่มีความก้าวหน้ามากขึ้นเรอ่ื ยๆ ในปัจจุบัน สง่ ผลให้การทำใหเ้ ป็นจริงของหน่วยฐานเอส ไอและนิยามของแต่ละหน่วยนั้นได้มีการพัฒนา ปรบั ปรงุ และเปลยี่ นแปลงเรอื่ ยมา โดยมีความเป็นไปได้ ทจี่ ะสามารถพัฒนาความแมน่ ยำไดม้ ากข้นึ ในอนาคต หน่วยฐำนเอสไอ ชื่อหน่วยวัด สัญลักษณห์ น่วยวัด ชื่อปรมิ ำณ สัญลักษณป์ รมิ ำณ เมตร m ควำมยำว l (L ตัวเล็ก) กรมั g มวล m วินำที s เวลำ t แอมแปร์ A กระแสไฟฟ้ำ I (i ตัวใหญ่) เคลวิน K อุณหภูมอิ ุณหพลวัติ T แคนเดลำ cd ควำมเข้มของกำรส่องสว่ำง Iv (i ตัวใหญ่ห้อยด้วยตัว v เล็ก) โมล mol ปรมิ ำณของสำร n คำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอ (SI prefixes) คือสัญลักษณ์ที่ถูกนำมาวางไว้หน้าหน่วย มีจุดประสงค์เพื่อให้การแสดงปริมาณมีความกะทัดรัดมากขึ้น สัญลักษณ์เหล่านี้จะเข้าไปคู่กับหน่วย จึงมีผลเท่ากับการเพ่ิมหรือลดขนาดของหน่วยน้นั
178 คำนำหน้ำหน่วยเอสไอ ช่ือ เดคา เฮกโต กโิ ล เมกะ จกิ ะ เทระ เพนตะ เอกซะ เซตตะ ยอตตะ กกิ ะ สญั ลักษณ์ da h k M G T P E Z Y ตวั ประกอบ 100 10−1 10−2 10−3 10−6 10−9 10−12 10−15 10−18 10−21 10−24 ชื่อ เดซิ เซนติ มิลลิ ไมโคร นาโน พโิ ค เฟมโต อัตโต เซปโต ยอกโต สญั ลักษณ์ d c m μ n p f a z y ตวั ประกอบ 100 10−1 10−2 10−3 10−6 10−9 10−12 10−15 10−18 10−21 10−24
รส.๒๔-๒๑ พ.ศ.๒๕๖๔
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185