Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปdigital Literlacy 1-65

สรุปdigital Literlacy 1-65

Published by lukyim22, 2022-08-17 08:28:31

Description: สรุปdigital Literlacy 1-65

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลและการบูรณาการเศรษฐกิจดิจิทัล เพ่ือสร้าง เครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตำบล จัดขึ้นเพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการรู้เท่าทันเทคโนโลยี สามารถนำความรู้กระบวนการดา้ นสารสนเทศเทคโนโลยี สอ่ื ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมเลม่ นี้ ไดเ้ รยี บเรียงผลการจัดกิจกรรมโครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลส่ชู มุ ชน หลักสูตร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพ่ือการมีงานทำ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็น ประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผู้ที่พบเห็น หากมีข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะท่ีคิดว่าจะเป็นประโยชน์ โปรดแจ้ง ผจู้ ัดทำเพื่อใช้ในการปรับปรุงแกไ้ ขข้อมูลในครัง้ ต่อไปและขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ กศน.ตำบลชาตติ ระการ

ข หนา้ 1 สารบัญ 1 ๓ เร่ือง ๔ - สรุปผลการดำเนินงาน 19 - ส่วนที่ ๑ รายละเอียดโครงการ 24 - ส่วนท่ี ๒ วิธกี ารดำเนนิ การ - ส่วนที่ ๓ เนอ้ื หาสาระ 28 - ส่วนที่ ๔ ผลการดำเนินงาน - สว่ นที่ ๕ สรุปผลโครงการ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ภาคผนวก - ภาพกจิ กรรม - โครงการฯ - แบบประเมินความพงึ พอใจ - จัดทำโดย

สรุปผลการดำเนนิ โครงการ โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจิทัลสูช่ ุมชน หลกั สตู ร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนักงาน เพอื่ การมีงานทำ ตำบลชาติตระการ *************************************************************************************************** ส่วนที่ 1 รายละเอยี ดโครงการ โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั ส่ชู ุมชน หลกั สูตร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนกั งาน เพอื่ การมีงานทำ ตำบลชาติตระการ แผนงาน งบประมาณ : ยุทธศาสตรพ์ ฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมดจิ ิทลั งบประมาณ 4,100.- บาท ลักษณะโครงการ : ( / ) โครงการตอ่ เนื่อง ( ) โครงการใหม่ กลุ่มงานผรู้ ับผิดชอบ : งานการศกึ ษาต่อเนือ่ ง 1. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลชุมชน หลักสูตร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนักงาน เพอื่ การมงี านทำ ตำบลชาติตระการ 2. สอดคล้องกบั นโยบาย และจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน กศน. ภารกิจต่อเน่ือง 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ท้ังด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การ เรียน และระบบการใหบ้ ริการนกั ศึกษาในรูปแบบอื่น 3. หลกั การและเหตุผล ปัจจุบันโลกได้เข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่เทคโนโลยีดิจิทัลไม่ได้เป็นเพียงเคร่ืองมือสนับสนุน การทำงานแต่เป็นการหลอมรวมกับวิถีชีวิตของคนและส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนโครงสร้างรูปแบบกิจกรรมต่าง ๆ ท้ัง ระบบเศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทยจึงนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนา ประเทศ โดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ส่งผลทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างมากต่อระบบ เศรษฐกิจ สังคม พฤติกรรมในการใชช้ ีวิตของประชาชนในพื้นที่ตำบลป่าแดง ตำบลชาตติ ระการ และตำบลท่าสะแก การพัฒนาทกั ษะการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล ทักษะในการนำเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และการนาํ เทคโนโลยมี าพัฒนาเพ่ือเพิ่ม ชอ่ งทางและโอกาสการเรียนรู้ รวมถงึ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพของประชาชนในพ้ืนท่ีตำบลปา่ แดง ตำบลชาติตระการ และตำบลท่าสะแก เพื่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและ คุณภาพชีวิตของประชาชนด้านนวัตกรรม การพัฒนาคน การให้บริการต่าง ๆ ของภาครัฐรวมถึงการพัฒนาด้านเศรษฐกิจการศึกษาสร้างสารสนเทศและองค์ ความรู้ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2565 และเป็นการ สง่ เสริมให้การดำเนินงานในเรอ่ื งการสร้างเครอื ข่ายศูนย์ดิจทิ ัลชมุ ชนและสร้างควาพร้อมของชุมชน หลกั สูตร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพ่ือการมีงานทำ ซ่ึงประชาชนผู้เข้ารับการอบรมต้องมีความตระหนักรู้ด้าน ความมัน่ คงปลอดภยั ทางไซเบอร์ กศน.ตำบลท่าสะแก จงึ จัดโครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลชุมชน หลักสตู ร Digital Literacy การใช้งาน โปรแกรมสำนักงานเพื่อการมีงานทำ ระหว่างวันที่ 20 - 21 กรกฎาคม 2565 ให้กับประชาชนท่ัวไป นักศึกษา ได้มีความรู้ความสามารถ เก่ียวกับหลักสูตร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพ่ือการมีงานทำ

ซ่ึงประชาชนผู้เข้ารับการอบรมต้องมีความตระหนักรู้ด้าน ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ในรูปแบบต่าง ๆ สามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 4. วตั ถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลชุมชน หลักสูตร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพอ่ื การมงี านทำ ซง่ึ ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมต้องมีความตระหนกั รู้ด้านความม่ันคง ปลอดภยั ทางไซเบอร์ 5. เปา้ หมาย จำนวน 15 คน เชงิ ปริมาณ จำนวน 6 คน - ประชาชนทั่วไป/นกั ศกึ ษา - วิทยากร/บคุ ลากรที่เกี่ยวข้อง 21 คน รวม เชงิ คณุ ภาพ - ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรม สำนักงานเพ่ือการมงี านทำ ซ่งึ ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมต้องมีความตระหนกั รู้ดา้ น ความม่ันคงปลอดภยั ทางไซเบอร์ 6. สถานที่ - ณ กศน.ตำบลป่าแดง ตำบลป่าแดง อำเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณุโลก ในวันท่ี ๒๐ – ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๕ 7. งบประมาณทไี่ ด้รบั - 4,100 บาท 8. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ - งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชาตติ ระการ - บคุ ลากร กศน. อำเภอชาตติ ระการทุกคน

สว่ นที่ 2 วิธีการดำเนนิ การ ผู้ดำเนินการจดั ทำโครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ชุมชน หลักสตู ร Digital Literacy การใช้งาน โปรแกรมสำนกั งานเพื่อการมีงานทำ ได้ดำเนินการในการอบรมเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะหข์ ้อมูลดังนี้ การดำเนินการจดั กิจกรรม 1. เตรียมการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน - ประชุมวางแผนรปู แบบการจัดกิจกรรม - เลือกกจิ กรรมทีจ่ ะจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน - มอบหมายงานใหบ้ ุคลากรทเ่ี กี่ยวข้อง - ตดิ ต่อประสานงานในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 2. วธิ กี ารดำเนินงาน - เขยี นเสนอโครงการ - เสนอโครงการ - เตรยี มการจัดกิจกรรมโครงการ 1. เตรียมการก่อนการจัดกจิ กรรมโครงการ - การจัดเตรียมเอกสารโครงการ - ตดิ ตอ่ สถานที่ - จัดชดุ วทิ ยากร - อนื่ ๆ 2. ตดิ ต่อประสานงานเครือขา่ ย - จดั การกิจกรรมโครงการตามแผนที่วางไว้ - ลงทะเบียนผ้เู ข้าร่วมการกิจกรรมโครงการ - วิทยากรใหค้ วามรู้ - จัดกิจกรรมกลุ่มย่อย - สรุปกิจกรรมยอ่ ย - ปิดโครงการ - สรปุ รายงานผลการจดั กิจกรรมโครงการเปน็ รูปเล่ม - รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการใหผ้ ทู้ เี่ กยี่ วข้องรบั ทราบ

สว่ นท่ี 3 เนอ้ื หาสาระ ผู้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ชมุ ชน หลักสูตร Digital Literacy การใช้งาน โปรแกรมสำนกั งานเพื่อการมีงานทำ ได้อบรมศกึ ษา ดังน้ี สิทธแิ ละความรบั ผดิ ชอบในการใช้ดจิ ิทัล สิทธิของพลเมอื งดิจทิ ัล สทิ ธิของพลเมอื งในยคุ ดจิ ิทัลนัน้ ไดร้ ับการพฒั นาต่อยอดจากหลกั การสากลด้านสิทธิมนุษยชน โดย มีองคก์ รจำนวนมากทผี่ ลักดนั สิทธิดังกล่าว เช่น องค์การสหประชาชาติ (UN) กองทนุ เพ่อื เด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) สภายโุ รป (Council of Europe) แนวทางด้านสิทธใิ นคมู่ ือฉบบั น้ีอา้ งอิงจากกฎบัตรวา่ ด้วยสทิ ธิมนุษยชน และหลกั การพ้นื ฐานสำหรบั อินเทอร์เน็ต (Charter of Human Rights and Principles for the Internet) และ ขอ้ เสนอว่าด้วยสิทธมิ นุษยชนสำหรบั ผใู้ ชอ้ ินเทอร์เนต็ ของสภายุโรป1 สิทธิในการเขา้ ถงึ และไม่ถกู เลือกปฏิบัติ สิทธใิ นการเข้าถึงอินเทอรเ์ น็ตควรเปน็ สิทธขิ ้นั พน้ื ฐานสำหรับมนุษย์ทุกคน บางประเทศ เช่น ฟนิ แลนดแ์ ละเอสโตเนยี กำหนดให้การเขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ สิทธิมนุษยชนขน้ั พ้ืนฐาน การเข้าถึงอินเทอรเ์ น็ตไม่ เพยี งช่วยเปิดโอกาสทางเศรษฐกจิ การเมอื ง และวัฒนธรรมใหก้ ับผู้ใช้ แต่ยงั เสริมสรา้ งสิทธิมนุษยชนข้นั พื้นฐาน หลายอยา่ ง อาทิ เสรีภาพในการแสดงออก สทิ ธิในการเข้าถึงการศึกษา สิทธใิ นการสมาคมและชมุ นมุ โดยสนั ติ สิทธิ ในการมีส่วนร่วมกับรัฐบาล การเขา้ ไม่ถึงหรือถูกตดั การเช่ือมต่ออินเทอรเ์ นต็ นนั้ ส่งผลกระทบถึงโอกาสและสิทธขิ นั้ พื้นฐานของมนุษย์ เป็นอย่างยงิ่ ดว้ ยเหตนุ ี้ สิทธิในการเขา้ ถึงอินเทอรเ์ น็ตโดยไมถ่ ูกตัดการเชอ่ื มต่อหรือถูกเลือกปฏบิ ัตจิ ากผ้ใู หบ้ รกิ าร อนิ เทอรเ์ น็ต (ไอเอสพ)ี หรือผู้ให้บริการเน้อื หาออนไลน์ ไมว่ ่าจะอย่บู นฐานของอะไรก็ตาม เช่น เพศ ชาติพันธ์ุ ภาษา ศาสนา ความเชอ่ื ทางการเมือง จงึ ถอื เป็นสิทธขิ ้ันพืน้ ฐานในยคุ ดิจทิ ัล ยกเว้นแต่กรณีท่ีมกี ารกำหนดไวใ้ นกฎหมาย ชัดเจน กระทบกับสิทธิของผูอ้ น่ื หรอื ส่งผลต่อความมนั่ คงของชาติ ความสงบเรยี บร้อย และศลี ธรรมอนั ดขี อง ประชาชน หรือกรณีท่มี กี ารผิดสญั ญาไมจ่ า่ ยเงนิ คา่ บริการอินเทอรเ์ น็ต (แตผ่ ้ใู หบ้ รกิ ารอนิ เทอร์เน็ตหรือไอเอสพีควร ใช้มาตรการตดั สญั ญาณเป็นมาตรการสดุ ทา้ ยเท่าน้ัน) หรือกรณีที่พ่อแมผ่ ูป้ กครองควบคมุ การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ของเดก็ และผูเ้ ยาวใ์ หเ้ หมาะสม หากมีการตดั การเช่ือมต่ออนิ เทอรเ์ นต็ ไอเอสพีควรแจง้ ผ้ใู ช้ให้ทราบถึงเหตผุ ลและข้อกฎหมายที่ใชเ้ ป็นฐาน ในการตดั อนิ เทอรเ์ นต็ รวมถงึ แจ้งใหผ้ ูใ้ ช้ทราบถงึ กระบวนการรอ้ งเรียนและคำขอให้มีการเชือ่ มต่ออนิ เทอรเ์ นต็ สทิ ธใิ นการเขา้ ถึงอินเทอร์เน็ตครอบคลุมถงึ ประเดน็ ตา่ งๆ ดังน้ี ๑. ดจิ ทิ ัลเพือ่ คนทั้งมวล ดิจทิ ัลเพอ่ื คนทง้ั มวลคือแนวคิดทเี่ รยี กรอ้ งใหค้ นทุกคนมีสิทธเิ ข้าถึง รวมถงึ ใชป้ ระโยชน์จากส่อื ดิจทิ ลั และ ช่องทางการสื่อสารทห่ี ลากหลายในฐานะเคร่ืองมือสำคัญในชีวติ ประจำวัน เช่น การส่ือสาร การเข้าถึงความรู้ การทำ ธรุ กรรม รัฐบาลควรดำเนนิ มาตรการส่งเสริมใหเ้ กิดการเขา้ ถงึ อนิ เทอร์เนต็ อยา่ งทว่ั ถึง ราคาไมแ่ พง ปลอดภัย มี คณุ ภาพเช่ือถือได้ และรองรบั กลุ่มคนท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะกลุ่มคนท่ีอย่ใู นพ้ืนท่ีห่างไกล มีรายได้นอ้ ย เปน็ คน กลมุ่ น้อยของสังคม หรือต้องการความชว่ ยเหลอื เปน็ พเิ ศษ เช่น ผู้พกิ าร

นอกจากนั้น รัฐบาลควรจดั ให้มจี ุดบรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ อยา่ งท่ัวถงึ เช่น ศนู ย์กลางชมุ ชน หอ้ งสมุด โรงเรยี น คลนิ ิก รวมท้งั คำนึงถึงการเขา้ ถงึ อินเทอร์เนต็ ผ่านโทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ต ซ่งึ ทวีความสำคัญมากข้นึ ในยุคทค่ี น เขา้ ถึงอนิ เทอรเ์ น็ตผา่ นอปุ กรณเ์ คลือ่ นท่ีมากข้นึ เร่ือยๆ ๒. คุณภาพบรกิ าร คุณภาพบริการข้นั ตำ่ ซ่ึงประชาชนควรเข้าถงึ ไดน้ น้ั ตอ้ งสอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยที ี่ เรียกร้องการใชข้ ้อมลู มากขึน้ เรอ่ื ยๆ อีกท้งั การเข้าถงึ จะตอ้ งมรี าคาถูกและมคี วามเทา่ เทียมมากขนึ้ ตัวอย่างเชน่ การ เข้าถงึ อนิ เทอร์เน็ตของนักเรยี นในกรงุ เทพฯ ท่ีมคี อมพิวเตอร์สว่ นตวั ใชใ้ นโรงเรียน กบั นักเรียนตา่ งจังหวัดทใ่ี ชเ้ นต็ ได้ เฉพาะทห่ี ้องสมุดโรงเรียน แม้ทง้ั คจู่ ะเขา้ ถึงเนต็ ไดเ้ หมือนกัน แต่โอกาสจากการเรยี นร้นู ้ันแตกตา่ งกนั อย่างสน้ิ เชงิ ๓. เสรภี าพในการเลอื กใชซ้ อฟต์แวร์ แอปพลเิ คชนั่ และระบบปฏบิ ัติการ การเข้าถึงยังครอบคลุมถึงเสรีภาพในการเลือกใชซ้ อฟต์แวร์ แอปพลิเคชน่ั และระบบปฏิบตั กิ ารตามท่ีเรา ต้องการ ซง่ึ จะเกดิ ขึน้ ไดต้ ่อเม่ือโครงสร้างการสื่อสารและโปรโตคอลทำงานขา้ มระบบได้ รวมถงึ รกั ษามาตรฐานแบบ เปดิ (open standard) เอาไว้ นอกจากนั้นอนิ เทอร์เนต็ จะต้องเปดิ ให้ทุกคนมีสทิ ธใิ นการสร้างสรรค์เนือ้ หา แอปพลิเคชั่น และบรกิ ารต่างๆ โดยไมต่ อ้ งผ่านกระบวนการตรวจสอบหรือผา่ นการรบั รองจากผู้มอี ำนาจ ๔. ความเปน็ กลางของเครือข่าย สถาปตั ยกรรมของอนิ เทอร์เน็ตต้องไดร้ บั การปกป้องให้มีความเป็นกลาง หรอื ทีเ่ รียกวา่ ความเปน็ กลางของ เครือข่าย (net neutrality) กล่าวคอื ตอ้ งมลี ักษณะเปิด เทา่ เทียม และไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ เพื่อเปน็ แพลตฟอร์มในการ นำเสนอเนอื้ หาและบริการออนไลน์อย่างเป็นกลาง ไมม่ ีใครไดส้ ทิ ธิพเิ ศษ เสรีภาพในการแสดงความเห็นและการเข้าถงึ ขอ้ มลู มาตราที่ 19 ในปฏญิ ญาสากลว่าดว้ ยสทิ ธิมนษุ ยชนบัญญัตไิ วว้ ่า “มนุษยท์ ุกคนมีสิทธใิ นเสรีภาพทาง ความคดิ และการแสดงออก สิทธิดังกลา่ วรวมถงึ เสรีภาพในการแสดงความเห็นโดยปราศจากการแทรกแซง และสทิ ธิ ในการแสวงหา รบั ส่งตอ่ ข้อมูลและแนวคิดผ่านส่อื ใดๆ และโดยไมต่ ้องคำนึงถงึ พรมแดน” เสรภี าพดังกลา่ ว ครอบคลุมถงึ การแสดงความเห็นในโลกอินเทอรเ์ นต็ ด้วยเช่นกัน เสรีภาพในการแสดงออกเป็นสิทธิทม่ี ีความสำคัญต่อสังคมประชาธิปไตยและการพัฒนาของมนษุ ย์ หลกั การ สากลยืนยันถึงสทิ ธิในการแสดงตัวตน มุมมอง ความคิด ความเหน็ รวมทัง้ สิทธิในการเข้าถงึ และเผยแพร่ขอ้ มลู / ความเหน็ ของผู้อื่นบนโลกออนไลน์ได้อยา่ งเสรี เสรภี าพดงั กลา่ วครอบคลุมถงึ การพูดทางการเมือง มุมมองทาง ศาสนา ความเห็นและการแสดงออกที่ไมส่ รา้ งความขุ่นเคอื ง และอาจรวมถงึ การแสดงออกท่อี าจสรา้ งความขนุ่ เคือง และสรา้ งความรำคาญใจให้กับผู้อืน่ ดว้ ย ซงึ่ ตอ้ งพจิ ารณาควบคู่กบั เง่ือนไขอืน่ ๆ เชน่ กฎหมายและวัฒนธรรมในแต่ละ ประเทศ แน่นอนวา่ เสรภี าพในการแสดงความเหน็ ไมใ่ ช่สิทธทิ ่ไี ร้ข้อจำกดั และต้องคำนงึ ถึงสิทธอิ ่ืนๆ เช่น สทิ ธใิ นการ ปกป้องชื่อเสียงและความเปน็ ส่วนตัวของผู้อน่ื รวมถึงผลประโยชนส์ าธารณะดว้ ย เช่น เพอื่ ปกป้องความม่นั คงของ ชาติหรือความสงบเรียบร้อย อยา่ งไรกด็ ี การแทรกแซงเสรีภาพในการแสดงออกต้องไดร้ ับการบัญญตั ิไว้ในกฎหมาย ดว้ ย โดยกฎหมายนัน้ ต้องกำหนดขอบเขตข้อห้ามให้ชดั เจนและวางกรอบให้แคบเทา่ ท่จี ำเปน็ เพ่ือใหป้ ระชาชนเข้าใจ และกำกบั พฤติกรรมการแสดงความเห็นได้อย่างถูกต้อง รวมถึงต้องไมท่ ำโดยเลือกปฏบิ ตั ิ มีเหตผุ ลอันชอบธรรมตาม หลักสากล ขอบเขตการแทรกแซงต้องเหมาะสม อีกท้งั ยังต้องมีกลไกในการแจ้งใหผ้ ู้ท่ีถูกแทรกแซงสิทธิเสรภี าพ ทราบถงึ สทิ ธิในการร้องเรยี นใหม้ ีการแก้ไข สิทธิเสรภี าพในการแสดงความเหน็ และเขา้ ถงึ ข้อมูลครอบคลุมประเด็นตา่ งๆ ดังน้ี ๑. เสรภี าพจากการเซน็ เซอร์ ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิในการใช้อนิ เทอรเ์ น็ตโดยปราศจากการเซน็ เซอรท์ กุ รูปแบบ การคกุ คามขม่ ขู่การ แสดงออกผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ นั้นถอื เป็นการละเมดิ เสรภี าพ

การเซ็นเซอรผ์ า่ นการบล็อกและฟลิ เตอร์ โดยเฉพาะการบล็อกเน้ือหาล่วงหนา้ เพื่อไม่ให้ประชาชนทง้ั หมด เขา้ ถงึ ไดน้ ้ัน ถือเปน็ การเซน็ เซอรท์ ข่ี าดความชอบธรรม เวน้ แตเ่ นื้อหาเฉพาะนนั้ ๆ ถูกตัดสนิ วา่ ผิดกฎหมายและผ่าน กระบวนการตรวจสอบความชอบดว้ ยกฎหมายแลว้ นอกจากนนั้ มาตรการใดๆ ที่ใชใ้ นการบลอ็ กเนื้อหาเฉพาะนัน้ ๆ จะต้องทำภายใต้ขอบเขตที่จำกัดที่สดุ และไม่สง่ ผลให้ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงข้อมลู อื่นๆ ได้ เชน่ หากพบวา่ มี เนื้อหาที่ผิดกฎหมายในเวบ็ บอรด์ มาตรการการบล็อกก็ควรจำกดั ทก่ี ระทู้ทผ่ี ิดกฎหมายเทา่ น้ัน ไม่ใช่ปดิ กนั้ การเข้าถึง ทงั้ เว็บบอร์ด ตวั กลาง เช่น ไอเอสพี ไมค่ วรถูกกดดนั หรอื บังคับโดยกฎหมายให้นำเน้ือหาออก บล็อกเนื้อหา หรอื เปิดเผย ข้อมลู สว่ นบคุ คลของผู้ใช้ หากเนอ้ื หาดังกลา่ วไมผ่ ดิ กฎหมาย นอกจากน้นั รัฐยงั มหี น้าท่ีคุ้มครองและเคารพเสรีภาพใน การแสดงออกและสิทธิในการสอื่ สารของประชาชน ซึง่ รวมถงึ การสื่อสารระหว่างบคุ คล เช่น การออกกฎหมายเพ่ือ ป้องกันการดักฟังและคุ้มครองขอ้ มูลส่วนบคุ คล ไอเอสพี รวมถึงผ้ใู หบ้ รกิ ารเน้ือหาและผู้ใหบ้ ริการออนไลน์ ตอ้ งเคารพสิทธเิ สรภี าพในการแสดงออก กระนน้ั ก็ตาม ผใู้ หบ้ ริการเนอื้ หาและบรกิ ารออนไลนบ์ างรายอาจมีนโยบายหา้ มเนอื้ หาและพฤติกรรมบางอย่าง เชน่ ประทุษ วาจา ภาพอนาจาร แตต่ ้องทำภายใตห้ ลกั เกณฑ์ท่ีไมล่ ะเมดิ หลักสากล รวมถึงมีกระบวนการที่โปรง่ ใสในการเปดิ เผย ขอ้ มลู และเปดิ ชอ่ งทางให้มีการตรวจสอบการบลอ็ กหรอื ฟิลเตอร์เน้ือหา เพื่อเป็นข้อมลู ใหผ้ ู้ใชต้ ดั สินใจว่าจะเลือกใช้ บริการออนไลน์นนั้ ๆ หรือไม่ ๒. สทิ ธใิ นข้อมลู ประชาชนทุกคนมีสทิ ธใิ นการค้นหา เขา้ ถึง และสง่ ต่อข้อมลู และความคิดผ่านอินเทอรเ์ นต็ เรามีสิทธิเข้าถงึ และใช้ขอ้ มลู ของรัฐบาล โดยรัฐบาลควรดำเนนิ การเปิดเผยข้อมูลในเวลาอันเหมาะสมและใน รูปแบบท่สี ามารถเข้าถึงและนำไปใชต้ อ่ ไดง้ า่ ย นอกจากน้ันเรายงั สามารถแชรง์ านและสร้างสรรคง์ านจากการ ปรับเปลี่ยนงานตน้ ฉบบั ของผู้อ่ืน แตส่ ิทธิดังกล่าวต้องพจิ ารณาควบคู่กบั สทิ ธิของผู้ผลติ งานต้นฉบับทจ่ี ะไดร้ ับการ คมุ้ ครองลขิ สทิ ธิ์ โดยระบบลขิ สทิ ธ์ิตอ้ งไมบ่ ่นั ทอนศักยภาพของอนิ เทอร์เน็ตในการสรา้ งสรรค์และต่อยอดเนอ้ื หา ซง่ึ หลกั การสำคัญในการพิจารณาคือ หลกั การใช้อยา่ งเป็นธรรม (fair use) โครงการคอมมอนเซนสเ์ อดูเคชั่น สรปุ หลักการและตัวอยา่ งการนำผลงานไปใชท้ ี่เข้าขา่ ย “การใช้อย่างเป็น ธรรม” ตามภาพดา้ นลา่ ง ภาพท่ี 1: หลกั การและตวั อย่างการใช้อย่างเป็นธรรม



นอกจากเราจะมีสทิ ธใิ นการใช้ผลงานสร้างสรรคข์ องผู้อื่นตามหลกั การใช้อยา่ งเป็นธรรมแล้ว หากผลงาน สร้างสรรค์อยู่ภายใต้สญั ญาอนญุ าตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) เรากส็ ามารถนำผลงานน้ันไปใช้โดย ไม่ต้องขออนุญาตเจา้ ของผลงาน แตต่ อ้ งใชภ้ ายใต้ขอบเขตการอนุญาตทเ่ี จา้ ของกำหนด เช่น ห้ามนำไปใชเ้ พ่ือการคา้ ห้ามดัดแปลง ครีเอทีฟคอมมอนส์จะช่วยสง่ เสริมการเผยแพร่ การใช้ และการต่อยอดผลงานสรา้ งสรรคข์ องผอู้ ่นื รวมถึงผลงานสรา้ งสรรคข์ องเราเอง (หากเราเลือกใชส้ ัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์กับงานของเรา) ซึ่งช่วยสร้าง เนื้อดินทเี่ หมาะกบั การเติบโตของวัฒนธรรมเสรใี นโลกอนิ เทอร์เนต็



สทิ ธใิ นการชมุ นมุ และการสมาคมออนไลน์ มาตรา 20 ของปฏิญญาสากลวา่ ด้วยสิทธมิ นุษยชนบญั ญัติว่า “มนษุ ย์ทกุ คนมสี ิทธิในอิสรภาพแหง่ การ ชุมนมุ และการสมาคมโดยสนั ติ บคุ คลใดไม่อาจถูกบงั คบั ให้สังกัดสมาคมได้” หลกั การดังกลา่ วประยกุ ต์ใช้กับโลก อินเทอรเ์ น็ตด้วยเชน่ กนั ดงั นั้นเราทุกคนจึงมีสทิ ธิในการชุมนมุ และสมาคมผา่ นอินเทอร์เน็ต เราทกุ คนมีเสรีภาพที่จะเลอื กใชเ้ วบ็ ไซต์ แอปพลเิ คช่ัน หรือบริการออนไลนใ์ ดๆ เพ่ือการจดั ตัง้ ขบั เคลื่อน และมีสว่ นร่วมในการชมุ นุมหรือการสมาคม เช่น การใช้อินเทอรเ์ น็ตเพ่อื จดั ต้งั สหภาพแรงงาน โดยการมีส่วนรว่ ม ดังกลา่ วผ่านอนิ เทอร์เน็ตจะต้องไม่ถูกบล็อกหรือฟลิ เตอร์ เรามสี ทิ ธใิ นการใชเ้ คร่ืองมือดิจทิ ลั เพื่อสรา้ งการมีสว่ นรว่ มและตรวจสอบกระบวนการกำหนดนโยบายและ กฎหมายทัง้ ในระดบั ท้องถนิ่ ระดับประเทศ และระดับโลก เชน่ การจัดทำเวบ็ ไซต์เพื่อใหผ้ ู้สนใจตดิ ตามประเด็นการ กำกบั ดูแลอินเทอร์เนต็ พูดคยุ แลกเปลี่ยน หรอื ใชเ้ ว็บไซต์ Change.org ลา่ รายชื่อเพ่ือย่ืนคำร้องใหม้ ีการ เปลี่ยนแปลงเชงิ นโยบาย ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเพอ่ื ขับเคลื่อนและมีสว่ นรว่ มในการประท้วงท้ังในโลกออนไลน์และ โลกจริง อย่างไรก็ดี สง่ิ ท่ีคุณควรตระหนักคือ หากการประท้วงนำไปสคู่ วามรุนแรง การทำลายทรพั ย์สนิ หรือทำ ความเสยี หายใหก้ ับระบบอินเทอร์เน็ต คุณอาจตอ้ งเผชญิ กับปัญหาทางกฎหมาย อนิ เทอร์เน็ตได้กลายเป็นเครื่องมอื สำคัญสำหรบั ประชาชนในการมีส่วนรว่ มในสังคมประชาธปิ ไตย ดงั นนั้ รฐั จงึ ควรสง่ เสรมิ ให้มีการใชเ้ คร่ืองมือดจิ ทิ ัลในกระบวนการประชาธปิ ไตยมากข้ึน เชน่ สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ ม อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Participation) หรอื การสร้างรัฐบาลอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Government) ซึ่งให้บริการงานภาครัฐ ผา่ นเครอื ข่ายออนไลน์มากขน้ึ สิทธใิ นความเปน็ สว่ นตวั และในการค้มุ ครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล มาตรา 12 ในปฏญิ ญาสากลวา่ ด้วยสทิ ธมิ นษุ ยชนบญั ญตั วิ ่า “บคุ คลใดจะถูกแทรกแซงในความเป็นสว่ นตวั ครอบครวั ท่ีอยู่อาศัย หรือการสอ่ื สาร หรือจะถูกลบหลเู่ กยี รตยิ ศและชื่อเสียงตามอำเภอใจหรอื โดยผดิ กฎหมายไมไ่ ด้ ทกุ คนมีสทิ ธทิ จ่ี ะได้รับความคุ้มครองตอ่ การแทรกแซงสิทธหิ รอื การลบหลดู่ งั กลา่ วนั้น” ในโลกดิจิทัลที่มีการเกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลไวม้ ากมาย พลเมืองมีสิทธิเรยี กรอ้ งชวี ติ ส่วนตวั ในอนิ เทอรเ์ นต็ รวมถงึ ความเปน็ สว่ นตัวในการสอ่ื สารถึงกนั นอกจากนั้น พลเมืองมีสทิ ธิรบั รวู้ า่ ข้อมูลสว่ นตวั อะไรบา้ งท่ีถกู บันทกึ ไว้ จะถกู ใช้อย่างไร และเราจะจัดการอะไรกับมันได้บา้ ง สทิ ธใิ นความเปน็ สว่ นตัวครอบคลุมสทิ ธิต่างๆ ดังนี้ การออกกฎหมายความเป็นส่วนตัว รัฐมพี นั ธะหนา้ ที่ในการจัดทำและบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองความเป็นสว่ นตวั และข้อมูลส่วนบุคคลของ ประชาชน โดยกฎหมายดงั กล่าวจะตอ้ งสอดคล้องกบั หลักสทิ ธิมนุษยชนสากลและมาตรการการคุม้ ครองผู้บรโิ ภค และตอ้ งระบุถงึ การป้องกันการละเมิดความเปน็ ส่วนตัวโดยรัฐและบริษัทเอกชนดว้ ย เจ้าหนา้ ที่รฐั และบรษิ ัทเอกชนมพี นั ธะทจ่ี ะต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและกระบวนการในการจัดการกบั ขอ้ มลู สว่ นบุคคล การเก็บ ใช้ เปดิ เผย และรักษาข้อมลู ส่วนบคุ คล จะต้องทำโดยโปร่งใสและได้มาตรฐาน และการนำ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลไปใช้ต้องได้รับความยินยอมจากเจา้ ของขอ้ มูลกอ่ น พลเมืองทุกคนมีสทิ ธิรับรวู้ า่ มีขอ้ มูลสว่ นตวั อะไรบ้างท่ีถกู นำไปใช้หรอื ส่งต่อให้กับบคุ คลทส่ี ามด้วยวตั ถุประสงค์อะไร รวมถึงมสี ิทธคิ วบคุมข้อมูลสว่ นตวั ของเรา เอง ไม่วา่ จะเป็นการเขา้ ถงึ ตรวจสอบความถกู ต้อง การกู้คืน การขอให้ลบขอ้ มลู ส่วนบุคคล และมีสทิ ธไิ ด้รับแจ้งเม่ือ ข้อมลู ของตนถกู สง่ ต่อให้บุคคลท่ีสาม ถูกนำไปใชใ้ นทางที่ผิด หาย หรือถูกขโมย

เมอ่ื ผใู้ หบ้ ริการออนไลนห์ รือหน่วยงานรัฐมีความจำเป็นต้องขอข้อมูลสว่ นบุคคล ควรเก็บข้อมลู เท่าท่ีจำเปน็ จริงๆ และต้องเก็บภายในระยะเวลาทจ่ี ำเป็นตอ่ การใชง้ านเท่าน้นั โดยเมื่อใชข้ ้อมลู เสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ จะตอ้ งลบข้อมลู น้นั ทิง้ การคมุ้ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คลควรอยู่ภายใต้การกำกับดแู ลขององค์กรอิสระที่สามารถทำงานอย่างโปร่งใส โดยปราศจากอิทธพิ ลทางการเมืองหรือผลประโยชน์เชิงพาณิชย์ นโยบายและการตงั้ ค่าความเปน็ ส่วนตัว ผู้ใหบ้ รกิ ารออนไลน์ต้องประกาศนโยบายความเป็นสว่ นตวั ที่ชดั เจนและให้ผใู้ ช้เขา้ ถึงได้งา่ ย รวมถงึ การตัง้ คา่ ความเป็นสว่ นตวั ตอ้ งทำได้ง่าย ครอบคลมุ รอบด้าน และคำนึงผลประโยชนข์ องผูใ้ ช้เป็นหลกั เช่น การตัง้ คา่ ต้งั ตน้ ให้ ปกปอ้ งความเป็นส่วนตัวของผใู้ ชใ้ หม้ ากทสี่ ดุ แลว้ หากผู้ใช้ต้องการเปดิ เผยข้อมูลมากขนึ้ กใ็ หเ้ ปน็ ทางเลือกของผู้ใช้ เอง (ไมใ่ ช่ตง้ั คา่ ตัง้ ตน้ ให้เปิดเผยขอ้ มลู แลว้ ค่อยให้ผู้ใชเ้ ลือกปดิ ได้ในภายหลงั ) ผ้ใู ห้บริการออนไลน์ต้องแจง้ ใหผ้ ใู้ ช้ทราบทุกครั้งหากมีการเปล่ยี นแปลงเงอ่ื นไขการใชบ้ ริการ โดยเฉพาะ นโยบายการเกบ็ ข้อมลู ผใู้ ช้และการตั้งคา่ ความเปน็ ส่วนตัว มาตรฐานการรักษาความลับและบรู ณภาพของระบบ ระบบไอทตี ้องมีมาตรฐานการรักษาความลบั (confidentiality) และบูรณภาพของระบบ (integrity หมายถึงการรกั ษาความปลอดภัยเพ่ือป้องกันไม่ให้ซอฟตแ์ วรอ์ นั ตรายเขา้ มาปรับเปลีย่ นข้อมลู หรือไฟล์ของเราได)้ เพ่ือป้องกันไม่ให้บุคคลอื่นเข้าสูร่ ะบบโดยปราศจากความยินยอม การคุ้มครองตัวตนออนไลน์ ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธทิ ่ีจะสร้างตัวตนในโลกออนไลนแ์ ละไดร้ บั ความเคารพในตวั ตนนน้ั ๆ ซึง่ รวมถงึ การ เลอื กไมเ่ ปดิ เผยตวั ตนแท้จรงิ ทวา่ สทิ ธิดงั กล่าวจะต้องไม่ถูกใช้ในทางทผ่ี ิดหรือเปน็ ภัยตอ่ ผู้อ่นื นอกจากนนั้ ข้อมลู การ พิสจู น์ตวั ตน เช่น ลายเซ็นดจิ ทิ ลั รหัสผ่าน พนิ โค้ด จะต้องไม่ถกู นำไปใชห้ รือเปลี่ยนแปลงโดยปราศจากความยินยอม ของเจ้าของ สทิ ธิในการไม่เปดิ เผยตวั และใชก้ ารเขา้ รหัส พลเมอื งทกุ คนมีสิทธิในการสื่อสารแบบนริ นามในโลกออนไลน์ และมสี ิทธใิ นการใช้เทคโนโลยีการเข้ารหัส เพื่อรักษาความเป็นส่วนตวั ความปลอดภยั และการส่ือสารแบบนิรนาม เสรีภาพจากการสอดแนม พลเมอื งทกุ คนมีเสรภี าพท่จี ะสื่อสารโดยปราศจากการสอดแนมตามอำเภอใจในโลกออนไลน์ เชน่ การ ติดตามข้อมูลพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเรา ความเป็นส่วนตัวในท่ที ำงาน ประชาชนมสี ทิ ธใิ นความเป็นส่วนตวั ในทที่ ำงาน เช่น การสง่ อีเมลส่วนตัวในบริษทั ผูจ้ า้ งมีหนา้ ทีแ่ จง้ ให้ ทราบถงึ การตรวจสอบและติดตามข้อมลู การสื่อสารในท่ีทำงาน หากไม่มีการแจ้งล่วงหน้า ใหถ้ อื วา่ พนักงานมคี วาม เป็นส่วนตัวในการใช้อินเทอร์เน็ตในท่ีทำงาน ความรบั ผดิ ชอบในโลกออนไลน์ “อำนาจที่ยิ่งใหญ่มาพร้อมกับความรับผดิ ชอบอันยิ่งใหญ่” ประโยคยอดฮิตจากภาพยนตรส์ ไปเดอรแ์ มน สามารถประยุกต์ใช้กับพลเมืองดิจทิ ัลได้เป็นอย่างดี เมือ่ อนิ เทอรเ์ น็ตมอบอำนาจอันยิ่งใหญใ่ ห้กับเรา เราก็ตอ้ งรจู้ ักใช้ มันอยา่ งมีความรับผดิ ชอบเชน่ กัน ตลอดประวตั ิศาสตรท์ ่ผี า่ นมา เทคโนโลยใี หมๆ่ กระตนุ้ ให้สงั คมตอ้ งมาถกเถียงถึงความรบั ผดิ ชอบ จริยธรรม และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใชเ้ ทคโนโลยีและผลกระทบของมนั ตัวอย่างเช่น สถาบันจรยิ ธรรมคอมพวิ เตอร์ได้ บัญญัตจิ รยิ ธรรมคอมพิวเตอร์ 10 ประการไว้ในปี 1992 เพอ่ื รับมือกบั ประเดน็ จริยธรรมจากการใชค้ อมพิวเตอร์ที่ ได้รับความนิยมมากขึน้ ในยุคนน้ั ซง่ึ หลายประเดน็ ยังคงทันสมัยมาจนถึงทุกวนั นี้



สิทธติ ้องมาพรอ้ มกับความรับผดิ ชอบซึ่งเป็นองคป์ ระกอบสำคัญในการสร้างสงั คมออนไลนท์ ดี่ ี ส่ิงทเ่ี ราไม่ ตอ้ งการเหน็ ในโลกจรงิ ก็มักเป็นสิ่งท่เี ราไมต่ ้องการในโลกไซเบอร์ดว้ ยเช่นกัน เชน่ การพดู จาด้วยคำพดู รุนแรง การ ละเมิดสิทธใิ นผลงานผอู้ ่ืน การขโมยตวั ตนของผู้อ่ืน เราในฐานะพลเมืองมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคมทีจ่ ะต้อง หลกี เลยี่ งการกระทำดังกลา่ ว รวมถงึ สนบั สนุนใหผ้ ้อู ่นื มหี น้าทคี่ วามรับผิดชอบเชน่ เดียวกัน ความรับผิดชอบในการสือ่ สารและแลกเปลีย่ นขอ้ มูลอย่างมีมารยาท อนิ เทอรเ์ นต็ ชว่ ยใหเ้ ราสามารถตดิ ตอ่ ส่ือสารและมปี ฏิสัมพันธก์ ับผ้อู ื่นได้อย่างสะดวกงา่ ยดาย เช่น ต้งั กลมุ่ ไลนส์ มาชิกคอนโดหรือหมบู่ ้านไวแ้ ลกเปลย่ี นข่าวสาร ใชจ้ ีเมลในการส่งอีเมลระหว่างกนั หรอื มีส่วนรว่ มแลกเปล่ยี น ความเหน็ เรอื่ งบ้านเมืองในเว็บบอร์ดพันทิป อย่างไรก็ดี การสอ่ื สารที่เกิดขน้ึ อยา่ งรวดเร็วและบางคร้ังกโ็ ดยนริ นาม อาจทำใหเ้ กิดการสอ่ื สารท่ีไร้มารยาทไดง้ ่าย พลเมืองดจิ ทิ ัลควรตระหนกั ถึงมารยาทในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต (netiquette) ส่ือสารกับผู้อื่นอยา่ งสุภาพ คดิ ถึงผลกระทบท่จี ะเกดิ กบั ผู้อื่น และเปน็ แบบอยา่ งท่ีดใี นโลกออนไลน์ ดงั นี้ - อยา่ กระพือความขัดแย้ง หลกี เลย่ี งการใช้ภาษารนุ แรงและก้าวร้าว - หลีกเล่ียงการประชดประชนั เราต้องเข้าใจว่าการสื่อสารผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ นน้ั ไม่เห็นภาษากายและสี หน้าซ่งึ ชว่ ยในการสอ่ื สาร ดงั นั้นการแสดงความเห็นเชิงประชดประชันอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้ง่าย - อย่าโกหก ซ่ือสัตย์ต่อผอู้ ืน่ และไม่เสแสรง้ ปลอมตวั เปน็ คนอ่ืน เวน้ แตก่ รณีทจ่ี ำเป็นต้องปกปดิ อัตลกั ษณ์ - ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ โดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ีต่อผอู้ น่ื เช่น ไม่แชร์ข้อมลู ส่วนตัวของเพ่ือนในหน้าเฟสบคุ๊ ไม่ ส่งตอ่ อเี มลส่วนตวั ใหค้ นอื่นโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต - อย่าโพสตห์ รอื แชรข์ ้อมลู สว่ นบคุ คลทง้ั ของตนเองและผู้อืน่ ทีอ่ าจนำภัยอันตรายมาได้ โดยเฉพาะกบั คน ไมร่ ู้จักและเว็บไซต์ทดี่ นู ่าสงสัยและไมร่ องรับการเขา้ รหสั เช่น ไม่แชร์แผนการท่องเทีย่ วท่ีอาจทำใหผ้ ู้ไมป่ ระสงค์ดรี วู้ ่า เราจะไม่อยูบ่ า้ นเวลาไหน - ใช้อินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบท เช่น ไมส่ ่งข้อความหรือเลน่ โทรศัพทม์ ือถอื ระหว่างทีส่ นทนากบั ผอู้ ่ืนหรือขณะร่วมโต๊ะอาหาร หรือเรยี นรูก้ ฎของชมุ ชนออนไลนท์ ่ีเราสนใจก่อนเขา้ รว่ ม - อยา่ โพสต์ความรู้สึกสว่ นตวั เกย่ี วกับงานหรอื ความสมั พนั ธ์ หากตอ้ งการส่ือสารในเรือ่ งท่ีมอี ารมณ์ ความรู้สกึ เขา้ มาเกี่ยวข้องมากๆ พยายามสื่อสารกับคนท่ีเกย่ี วขอ้ งโดยตรงด้วยช่องทางท่ีมีความเป็นส่วนตัว - อยา่ แชรข์ ้อมูลหรือขา่ วสารโดยไมไ่ ดต้ รวจสอบให้ดีก่อน โดยเฉพาะในกรณีท่ีอาจทำให้บุคคลหรือองค์กร ใดเสอื่ มเสียช่อื เสียง





ความรับผดิ ชอบในการใช้และอ้างองิ ผลงานของผูอ้ ืน่ อนิ เทอรเ์ น็ตกลายเป็นแหล่งข้อมลู สำคัญในการเรียนรู้ แต่การทีอ่ ินเทอรเ์ นต็ ชว่ ยให้เราเข้าถงึ แชร์ รวมถึง คัดลอกผลงานของผู้อื่นไดง้ ่าย ไม่ได้แปลว่าเรามีสิทธใิ ชผ้ ลงานของผู้อืน่ โดยไม่ตอ้ งขออนุญาต ก่อนจะใชผ้ ลงานของผอู้ ่ืน ถือเปน็ ความรบั ผิดชอบทีจ่ ะต้องตรวจสอบวา่ ผลงานชิ้นนั้นยังติดลขิ สิทธห์ิ รอื ได้ ตกเปน็ ของสาธารณะ (public domain) เนอ่ื งจากความคุ้มครองลิขสทิ ธ์ไิ ด้หมดลงแลว้ เป็นผลงานของรฐั บาลที่ใช้ เงนิ สาธารณะสร้างข้ึนมา หรือผ้สู รา้ งสรรคเ์ ลอื กทจ่ี ะมอบผลงานให้เปน็ ของสาธารณะ ในกรณที ่ีติดลิขสิทธ์ิ เราต้อง ตรวจสอบว่าการใชง้ านนั้นถือเปน็ การใชอ้ ยา่ งเปน็ ธรรมหรอื ไม่ ถา้ ไม่ ก็ถอื เปน็ หน้าท่ีของเราในการขออนุญาต ตวั อยา่ งกรณีทีถ่ ือว่าละเมดิ ลขิ สิทธิ์ เชน่ การนำผลงานทั้งหมดของผอู้ ่นื ไม่วา่ จะเป็นหนังสอื บทความ ภาพ วดิ ีโอ เพลง กราฟกิ โพสตค์ วามเห็น หรอื ผลงานสรา้ งสรรค์ของผู้อ่ืน ไปเผยแพรใ่ นเวบ็ ไซต์ อีเมล หรือโซเชยี ลมีเดยี โดย ไมไ่ ดร้ บั อนุญาต นอกจากการละเมิดลิขสทิ ธิซ์ ่ึงเป็นปญั หาดา้ นกฎหมาย การขโมยผลงานของผู้อืน่ (plagiarism) ก็ถือเป็น ปัญหาเชิงจรยิ ธรรมในแวดวงวชิ าการ นกั เรียน/นกั ศึกษา/นกั วิจยั ต้องมีความรบั ผดิ ชอบในการอ้างอิงผลงานของผอู้ น่ื ไม่วา่ แหล่งที่มาจะมาจากในออนไลน์หรอื ออฟไลน์กต็ าม เช่น ไม่นำคำพดู แนวคิด ขอ้ ค้นพบในผลงานของผู้อน่ื มาใช้ โดยไมอ่ ้างองิ ให้เหมาะสม โครงการคอมมอนเซนสเ์ อดูเคชนั่ สรุป 5 ข้ันตอนในการใช้และอ้างองิ ผลงานสร้างสรรค์อย่างรบั ผดิ ชอบ คือ 1) ตรวจสอบว่าใครเปน็ เจ้าของผลงาน 2) ขออนญุ าตก่อนใช้ 3) ใหเ้ ครดิตกับเจา้ ของผลงาน 4) ซ้ือสิทธกิ ารใช้ (ถ้า จำเป็น) และ 5) ใชอ้ ย่างมีความรับผิดชอบ8 ความรบั ผิดชอบในการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย พลเมืองดจิ ทิ ลั ทดี่ ีควรศกึ ษาว่ามกี ฎหมายและข้อบังคับอะไรบ้างที่กำกับการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตของเรา เช่น กฎหมายลขิ สิทธิ์ กฎหมายกำกบั ดแู ลเนื้อหาออนไลน์ กฎหมายวา่ ด้วยความผิดเก่ียวกับอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ รวมถึงตระหนักถึงผลกระทบจากการละเมิดกฎหมายดว้ ย ขอ้ ควรระวังดา้ นกฎหมายมีดังน้ี - ไม่ขโมยอัตลกั ษณ์ออนไลน์ - ไม่ละเมดิ ทรัพย์สินทางปญั ญาของผู้อน่ื - ไม่ดาวนโ์ หลดเพลง ภาพยนตร์ หรือผลงานสร้างสรรค์ของผอู้ ืน่ ผ่านช่องทางท่ีผิดกฎหมาย รวมถึงไม่ เผยแพร่งานทีต่ ิดลขิ สิทธิไ์ ปตามชอ่ งทางทีผ่ ดิ กฎหมาย - อยา่ สร้างหรือเผยแพร่มัลแวร์ ซอฟตแ์ วร์ เวบ็ ไซต์ หรอื แอปพลเิ คชัน่ ทีข่ โมยขอ้ มูลสำคญั ของผอู้ นื่ หรือ ทำลายระบบ - ไม่โพสต์หรือแชรเ์ น้ือหาท่สี ุ่มเสยี่ งผดิ กฎหมาย เชน่ สอื่ ลามกอนาจารเด็ก ประทุษวาจา ข้อความหมิ่น ประมาท - ไมล่ ะเมิดความเป็นสว่ นตัวของผูอ้ ื่น เช่น การดกั จับอีเมลของผ้อู ืน่ หรือแอบขโมยรหสั ผ่านเพื่อเขา้ ไปดู บัญชเี ฟสบุค๊ ของผู้อน่ื โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ความรับผดิ ชอบในการรกั ษาความปลอดภยั ออนไลน์ อนิ เทอร์เน็ตเต็มไปดว้ ยความเสีย่ ง เชน่ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ภยั คุกคามไซเบอร์ การขโมยอัตลักษณ์ ออนไลน์ พลเมืองดิจิทลั จำเป็นตอ้ งเรียนรูว้ ธิ ีป้องกันตวั เองจากความเสี่ยงออนไลน์ อาทิเชน่ - ตดิ ต้งั โปรแกรมป้องกันไวรสั และอัปเดตใหเ้ ป็นเวอรช์ นั่ ใหม่อยา่ งสม่ำเสมอ - ตรวจสอบเวลาเปิดไฟลแ์ นบทางอเี มล และระมดั ระวังก่อนจะกดคลกิ ลงิ กเ์ ช่ือมไปยงั ส่วนอื่นๆ - เปิดใชก้ ารพสิ จู น์ตัวตนสองระดับ - ตดิ ตง้ั ใชง้ านแอปพลิเคช่ันสำหรบั ติดตามและลอ็ กโทรศพั ท์มือถือระยะไกลในกรณที ่ีอปุ กรณ์สญู หาย

- สำรองข้อมลู ไวห้ ลายแหง่ เพ่ือป้องกันข้อมลู สญู หาย - การตง้ั ลอ็ กหนา้ จอบนคอมพิวเตอร์หรืออปุ กรณเ์ คล่ือนท่ีตา่ งๆ ดว้ ยรหสั ผ่าน พินโค้ด ลายน้วิ มอื ฯลฯ - การเข้ารหัสป้องกันการเข้าถงึ ข้อมลู ที่อยูใ่ นอุปกรณ์เชื่อมตอ่ ภายนอก เช่น ยเู อสบีไดร์ฟ ความรบั ผิดชอบต่อสุขภาพของตนเอง วถิ ชี วี ิตทม่ี อี นิ เทอรเ์ น็ตเข้ามาเกี่ยวข้องน้ันอาจบั่นทอนสขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ดี่ ีของเรา เราตอ้ งตระหนกั ถงึ ผลกระทบตอ่ ร่างกายและจิตใจจากการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ และเคร่ืองมือสือ่ สารในยุคดิจิทลั และหาทางคมุ้ ครอง ตวั เองและผู้อืน่ จากอันตรายเหล่านัน้ เชน่ โรคกดทับเสน้ ประสาทบรเิ วณข้อมือ ภาวะตาลา้ การนง่ั ผิดทา่ การเสพตดิ อนิ เทอรเ์ น็ต ความรบั ผดิ ชอบในการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เราต้องตระหนักถึงความเสย่ี งจากการซ้ือขายสนิ คา้ และบรกิ ารออนไลน์ การทำธุรกรรมออนไลนเ์ ป็นเรือ่ ง ง่ายและสะดวกจนบ่อยคร้ังเราไม่ไดใ้ คร่ครวญให้ดีก่อนทำ ดงั นัน้ ก่อนตัดสนิ ใจทำธุรกรรมออนไลน์ต้องหาข้อมูลให้ดี และมน่ั ใจว่าปลอดภยั รวมถึงมัน่ ใจว่าจะไมก่ ่อใหเ้ กิดหนกี้ ้อนโตในอนาคต การเข้าใจดจิ ทิ ลั (DIGITAL LITERACY) 1.1 สิทธิและความรับผิดชอบ ผู้ศึกษาจำเป็นต้องทราบสิทธิ เสรภี าพ และความรบั ผิดชอบเม่ือใชส้ ทิ ธินัน้ บนสื่อสาธารณะยคุ ดิจทิ ลั ในฐานะ เปน็ ประชากรของสังคมในระดบั ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นระดับชุมชน ระดับประเทศ ระดับโลก โดยความรบั ผิดชอบนี้ รวมถึงความรบั ผิดชอบตอ่ ตัวเอง และความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ท้งั ผลกระทบที่เกดิ จากการกระทำและทางกฎหมาย ดว้ ยการใชส้ ิทธิ เสรภี าพอยา่ งถูกต้อง จะทำใหก้ ารอยรู่ ่วมกันในสังคมเดยี วกนั เกดิ ความสงบสขุ ไม่ขัดต่อกฎหมาย จรยิ ธรรม ศีลธรรม ของสงั คม ถือเป็นพ้นื ฐานประการแรกที่จำเปน็ ต้องทราบ เพื่อจะอยใู่ นสงั คมออนไลน์ทม่ี ีการ เชือ่ มโยงประชากรจากทุกประเทศท้งั โลกเข้าไวด้ ้วยกัน 1.2 การเข้าถงึ ส่อื ดิจิทลั ผ้ศู กึ ษาจำเปน็ ตอ้ งเข้าใจอนิ เทอรเ์ นต็ และการเข้าถงึ อินเทอร์เน็ตดว้ ยชอ่ งทางต่าง ๆ รวมถึงข้อดีข้อเสยี ของ แต่ละช่องทางได้ เพ่ือใหส้ ามารถใช้ Search Engine คน้ หาข้อมูลที่ตอ้ งการจากอนิ เทอร์เนต็ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ นอกจากนีย้ งั จำเปน็ ต้องเข้าใจสือ่ ทางดจิ ทิ ัลชนดิ ต่าง ๆ รวมถึงการนำไปประยุกต์ใช้งานในปจั จุบนั 1.3 การสอ่ื สารยคุ ดจิ ิทัล ผ้ศู กึ ษาจำเป็นต้องมคี วามเข้าใจการสื่อสารผ่านทางสอ่ื และเครื่องมือทางดิจิทัลในแง่มมุ ตา่ งๆไม่ว่าจะเป็น ความเหมาะสม ความแตกตา่ ง ความเสีย่ งของสอ่ื และเครื่องมอื พร้อมทั้งสามารถส่อื สารโดยการใชข้ ้อความหรือถ่อย คำอย่างสรา้ งสรรค์ มีประโยชน์ และเคารผอู้ ืน่ เพ่ือประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมนอกจากนีย้ งั รวมถงึ ความสามารถวิเคราะห์ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทม่ี ีอยบู่ นส่อื ดิจิทลั ตา่ ง ๆ วา่ สิง่ ไหนเปน็ ข้อเท็จจรงิ สิง่ ไหนเป็นความเหน็ สิ่งไหนเป็นความจรงิ บางส่วน สงิ่ ไหนเปน็ ความจรงิ เฉพาะเหตกุ ารณ์น้นั ๆ เพอ่ื ไม่ใหต้ กเป็นเหยอื่ ของการส่ือสารทางดจิ ิทัล 1.4 ความปลอดภัยยคุ ดิจทิ ลั ผ้ศู กึ ษาจำเปน็ เข้าใจความมน่ั คง ความเป็นสว่ นตัว และการทง้ิ รอยเท้าดจิ ทิ ลั ในการใช้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ในยุคดิจทิ ัล รวมถึงภัยในรปู แบบต่าง ๆ ท้งั ในแงว่ ิธกี ารทไ่ี ดร้ บั การคุกคาม ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ การ ปอ้ งกัน การลดความเสี่ยง ต่อภยั เหลา่ นน้ั 1.5 ความเขา้ ใจสอ่ื ดิจิทลั ผูศ้ ึกษาจำเปน็ ต้องมีความเข้าใจสารสนเทศและสื่อในยคุ ดิจิทัล เพือ่ ทีส่ ามารถระบขุ ้อมลู ที่ต้องการหาข้อมูล น้นั ประเมนิ ประโยชน์ ความเก่ียวข้อง ความถูกต้อง ความนา่ เช่อื ถือ ของข้อมูลนน้ั จากแหลง่ ต่าง ๆ นอกจากนน้ั ผู้ ศกึ ษายังจำเป็นต้องสามารถนำข้อมูลเหลา่ นน้ั มาพัฒนาเปน็ ความรู้ เพ่ือนำไปใชป้ ระโยชนผ์ า่ นทางการนำเสนอได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ

1.6 แนวทางปฏิบตั ิในยคุ ดจิ ทิ ัล ผศู้ กึ ษาจำเปน็ ตอ้ งทราบ แนวทางปฏบิ ตั ใิ นสงั คม มารยาท และ พฤติกรรมอันพึงปฏิบตั ิเมอ่ื อยูร่ ่วมในสงั คม ดจิ ิทัล เพื่อไม่สร้างความเดือดรอ้ น ความรำคาญ ความเครยี ด ความกังวลใจ รวมถงึ เปน็ สาเหตุของปัญหาทางสภาพ จติ ของบุคคลอน่ื และตัวเอง การประพฤติตามมารยาทท่เี หมาะสม จะทำใหส้ ังคมยอมรับ นบั ถือ และให้เกียรตเิ รา ดังนัน้ มารยาทในสังคมดจิ ิทัล จงึ เป็นส่งิ ที่จำเป็นต้องเรยี นรู้ และปพู ้ืนฐานไว้ในการใช้งานสังคมดจิ ิทลั 1.7 สขุ ภาพดียคุ ดจิ ทิ ลั ผูศ้ กึ ษาจำเปน็ ต้องเข้าใจอนั ตรายและผลกระทบดา้ นสุขภาพในแง่มุมตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ดา้ นสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ โรคทีเ่ กดิ ข้นึ รวมถึงความสมั พนั ธแ์ ละผลกระทบต่อเยาวชน การใช้อินเทอรเ์ นต็ และสอ่ื ดจิ ิทลั เพื่อ ป้องกนั หลกี เล่ียง ลดผลกระทบ จนถึงวธิ กี ารรักษาเบ้ืองต้น ทัง้ ต่อตวั เอง และคนใกลต้ ัว เพอื่ ใหส้ ามารถ ใช้ชวี ติ อย่างมีความสุขในยุคดิจิทัลได้ 1.8 ดจิ ิทัลคอมเมริ ซ์ ผศู้ ึกษาจำเปน็ ต้องเขา้ ใจการทำธรุ กิจออนไลน์ หรือ อิคอมเมิรซ์ ประเภทตา่ ง ๆ รวมถึงอันตราย ภัย และ ความเส่ียงจากการทำธรุ กรรมนน้ั พร้อมทง้ั วธิ ีป้องกัน ลดความเสี่ยงและรับมอื กับอนั ตราย ภัย และความเสย่ี ง เหลา่ นั้น โดยรขู้ ั้นตอนปฏบิ ัตเิ มอื่ ตกเป็นเหยือการหลอกลวงเหล่านี้ 1.9 กฎหมายดจิ ิทลั ผู้ศึกษาจำเป็นตอ้ งมคี วามเข้าใจสทิ ธแิ ละข้อจำกดั ทีค่ วบคุมการใชส้ อื่ ดิจิทัลในรปู แบบต่าง ๆ ซึง่ ไดถ้ ูกกำหนด โดยภาครฐั เพอ่ื ทจ่ี ะได้สามารถปฏบิ ตั ิงานและดำเนินชีวติ ไดอ้ ยถู่ ูกตอ้ งตามกฎระเบยี บสังคม ซง่ึ จะเปน็ การเคารพ สิทธขิ องผอู้ ่นื อกี ด้วย

สว่ นที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน ผู้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทัลชุมชน หลักสูตร Digital Literacy การใชง้ าน โปรแกรมสำนกั งานเพ่ือการมีงานทำ เกบ็ รวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลดงั น้ี 1. เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการจัดกิจกรรม ข้อมลู ปฐมภมู ิ ไดจ้ ากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม ข้อมลู ทุตยิ ภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้อง 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2.1.1 ประชาชนท่วั ไปตำบลท่าสะแก 2.2 วิธดี ำเนนิ การในการติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งานไดด้ ำเนินการดังนี้ 2.2.1 เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ เปน็ แบบสอบถาม แบง่ ออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมลู สถานภาพทั่วไปเกี่ยวกับผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ความพึงพอใจในการเข้ารว่ มโครงการฯ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ 2.2.2 วเิ คราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะห์ ดำเนินการดังน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู สถานภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามวเิ คราะหผ์ ลด้วยการหาค่าร้อยละ คา่ รอ้ ยละ (%) P = F  100 n เมอ่ื p แทน ร้อยละ F แทน จำนวนผตู้ อบแบบสอบถาม n แทน จำนวนทั้งหมด ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกย่ี วกบั การดำเนินงานตามโครงการ ใช้คา่ เฉลยี่ x x = x n เมอ่ื x แทน คา่ เฉลย่ี แทน จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม x แทน จำนวนทัง้ หมด n

ตอนที่ 3 สรปุ ข้อเสนอแนะ โดยใชค้ วามถี่ ( f ) 2.2.3 การแปลผลข้อมูล ในการแปลความหมายของข้อมูล แปลผลจากค่าเฉล่ยี เลขคณิต x โดยใชห้ ลกั เกณฑ์ดังน้ี คา่ เฉลยี่ เลขาคณติ x ความหมาย 1.00 – 1.50 น้อยทส่ี ดุ 1.51 – 2.50 นอ้ ย 2.51 – 3.50 3.51 – 4.50 ปานกลาง 4.51 – 5.00 มาก มากทสี่ ุด 3. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากการจัดกิจกรรมโครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลชมุ ชน หลกั สูตร Digital Literacy การใชง้ าน โปรแกรมสำนกั งานเพ่ือการมีงานทำ ได้มกี ารสำรวจความพึงพอใจของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมทีม่ ตี อ่ รปู แบบการจัด กิจกรรม จำนวน ๑7 คน โดยวธิ กี ารตอบแบบสอบถาม จึงได้มีการนำเสนอข้อมลู ในรูปตารางประกอบคำบรรยาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (กจิ กรรมการเรยี นการสอน) ตอนที่ 3 สรุปขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเดน็ ที่สำคัญ 3.1 ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามเพศ เพศ จำนวน ( n = ๑7 ) ร้อยละ ชาย 11 64.71 หญิง 6 35.29 รวม ๑7 100.00 จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาพบวา่ ผูเ้ ขา้ ร่วมอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คดิ เปน็ ร้อยละ 64.71 รองลงมา คอื เพศหญงิ คิดเปน็ รอ้ ยละ 35.29 ตารางที่ 2 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามอายุ อายุ จำนวน ( n = ๑7) รอ้ ยละ ต่ำกวา่ 20 ปี 9 52.94 20 – 30 ปี 3 17.65 31 – 40 ปี 1 5.88 41 – 50 ปี 1 5.88 51 – 59 ปี 2 11.76 60 ปีขนึ้ ไป 1 5.88 ๑7 100.00 รวม

จากตารางท่ี 2 ผลการศึกษาพบวา่ ผ้เู ข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญ่ มชี ่วงอายุต่ำกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 52.94 รองลงมา คือ ช่วงอายุระหว่าง 20 - 30 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 17.65 ตารางที่ 3 แสดงจำนวน ร้อยละจำนวนตามระดบั การศึกษาสงู สดุ ระดับการศึกษาสูงสุด จำนวน ( n = ๑7) รอ้ ยละ ประถมศกึ ษา 8 47.06 8 47.06 มัธยมศกึ ษาตอนต้น 1 5.88 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - ๑7 - อน่ื ๆ ๑๐0.00 รวม จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบว่า ผูเ้ ขา้ ร่วมอบรมสว่ นใหญม่ รี ะดับการศึกษาสงู สุด คือ ระดับประถมศึกษาและ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ คิดเป็นรอ้ ยละ 47.06 รองลงมา คอื ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเปน็ รอ้ ย 5.88 ตารางที่ 4 แสดงจำนวน รอ้ ยละจำนวนตามอาชีพ อาชพี จำนวน ( n = ๑7) ร้อยละ นกั เรียน/นกั ศึกษา 9 52.94 ข้าราชการ/พนักงานของรฐั - 2 - เกษตรกร 5 11.76 รับจ้าง - 29.41 คา้ ขาย - แมบ่ า้ น - - ธุรกจิ สว่ นตวั 1 - ว่างงาน ๑7 - รวม 5.88 100.00 จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบว่า ผเู้ ข้าร่วมอบรมสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพนักเรยี น/นักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 52.94 รองลงมาคอื รบั จ้าง คดิ เป็นร้อยละ 29.41

3.2 ตอนท่ี 2 การวเิ คราะหข์ ้อมูลเก่ียวกับความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 6 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลย่ี ของความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการทม่ี ตี อ่ การจดั กจิ กรรม ประเด็นความคดิ เหน็ มากทส่ี ุด ระดับความพงึ พอใจ อยใู่ น (๕) ระดับ ๑.ด้านวิทยากร มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ดุ คา่ เฉล่ยี มาก ๑.๑ การถ่ายทอดความรขู้ องวทิ ยากรมี 7 (๔) (๓) (๒) (๑) มาก ความชดั เจน (41.18) มาก ๑.๒ วทิ ยากรมีความสามารถในการ 10 - - - ๔.41 มาก อธิบายเนอื้ หา 8 (58.82) - - ๔.24 มาก ๑.๓ วทิ ยากรให้ความรู้ครบถ้วนตาม (47.06) ๑ - - ๔.18 มาก เน้ือหาในหลักสตู ร 8 (5.88) - - ๔.12 ๑.๔ หลกั สูตรและเนอ้ื หาในการ 7 (47.06) - - ๔.47 มาก ฝึกอบรมนา่ สนใจ (41.18) ๑ - - ๔.18 มากท่สี ดุ 1.5 ใชเ้ วลาตามที่กำหนดไวใ้ นหลกั สูตร 9 (5.88) 6 (52.94) มาก 1.6 วิทยากรตอบข้อซกั ถามในการ (35.30) ๑ ฝกึ อบรมได้ชดั เจน 10 (5.88) น้อย ๒.ดา้ นสถานที/่ ระยะเวลา 8 (58.82) มาก ๒.๑ สถานท่สี ะอาดและเหมาะสม (47.06) - 9 มาก ๒.๒ ความพรอ้ มของอปุ กรณ์ 7 (52.94) ๑ มาก โสตทศั นปู กรณ์ (41.18) (5.88) มาก ๒.๓ ระยะเวลาในการอบรมมีความ 9 เหมาะสม 8 (52.94) 3. ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ (47.06) 3.1 ความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองนี้ 9 - - - ๔.47 “ก่อน” การอบรม 9 (52.94) - - ๔.53 3.2 ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ือง “หลงั ” (52.94) ๑ - - ๔.12 การอบรม 8 (5.88) 4.ด้านการนำความร้ไู ปใช้ 6 (47.06) 4.๑ ทา่ นคดิ วา่ สามารถนำความรูไ้ ป (35.30) ประยกุ ต์ใช้ได้ 10 4.๒ ท่านคดิ วา่ สามารถนำความรู้ไป - (58.82) เผยแพร/่ ถา่ ยทอดได้ 7 7 8 2 - 1.88 รวมท้ังสิน้ (41.18) (41.18) (47.06) (11.76) - ๔.18 ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนกั 7 10 - - (41.18) (58.82) 6 10 - - - ๔.18 (35.30) (58.82) ๔.35 ๔.12 86 11 - - - (38.91) (64.71) 120 13 2 - (54.30) (5.88) (0.91) ๔.12 ระดบั ความคดิ เหน็ มาก

จากตารางที่ 6 จากการศกึ ษาพบวา่ ผเู้ ข้าร่วมอบรมสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมโครงการพฒั นา เศรษฐกจิ ดิจิทัลชมุ ชน หลกั สูตร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรมสำนักงานเพ่ือการมีงานทำ โดยรวมอย่ใู น ระดับ ( x = 4.12 ) มาก ๑.ดา้ นวิทยากร ๑.๑ การถา่ ยทอดความรูข้ องวทิ ยากรมคี วามชดั เจน ( x = ๔.41 ) มาก ๑.๒ วิทยากรมีความสามารถในการอธิบายเน้ือหา ( x = ๔.24 ) มาก ๑.๓ วิทยากรใหค้ วามรู้ครบถ้วนตามเน้ือหาในหลักสูตร ( x = ๔.18 ) มาก ๑.๔ หลกั สตู รและเนอื้ หาในการฝกึ อบรมนา่ สนใจ ( x = ๔.12 ) มาก 1.5 ใชเ้ วลาตามท่กี ำหนดไวใ้ นหลกั สตู ร ( x = ๔.47 ) มาก 1.6 วทิ ยากรตอบข้อซกั ถามในการฝกึ อบรมไดช้ ัดเจน ( x = ๔.18 ) มาก ๒.ด้านสถานที่/ระยะเวลา ๒.๑ สถานทสี่ ะอาดและเหมาะสม ( x = ๔.47 ) มาก ๒.๒ ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ( x = ๔.53 ) มากท่ีสดุ ๒.๓ ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ( x = ๔.12 ) มาก ๓.ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ 3.1 ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองน้ี “ก่อน” การอบรม ( x = 1.88 ) น้อย 3.2 ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ือง “หลัง” การอบรม ( x = ๔.18 ) มาก 4.ด้านการนำความรู้ไปใช้ 4.๑ ทา่ นคดิ ว่าสามารถนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ ( x = ๔.18 ) มาก 4.๒ ท่านคิดว่าสามารถนำความรไู้ ปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ ( x = ๔.35 ) มาก ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ - หมายเหตุ คดิ คะแนนเฉพาะที่ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากขนึ้ ไป

สว่ นท่ี 5 สรุปผลโครงการ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจดั กจิ กรรมโครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ชุมชน หลักสตู ร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรม สำนักงานเพื่อการมงี านทำ มีจุดประสงค์ในการจัดกิจกรรมดังน้ี เพอ่ื ให้ผูเ้ ข้ารับการอบรม มคี วามรู้ ความเข้าใจ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลชุมชน หลักสตู ร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรมสำนกั งานเพ่ือการมงี านทำ ซง่ึ ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมต้องมีความตระหนักรู้ด้านความ มน่ั คงปลอดภัยทางไซเบอร์ 1. ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จำนวน ๑7 คน - เพศชาย จำนวน 11 คน - เพศหญิง จำนวน 6 คน 2. เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการอบรม ข้อมลู ปฐมภูมิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม ข้อมลู ทุติยภูมิ ศึกษาจากเอกสาร ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้อง 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละส่วน ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลสว่ นบุคคล ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ สรุปเป็นประเด็นที่สำคญั ๔. วธิ กี ารวิเคราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ผจู้ ัดได้ดำเนนิ การ 2 ลักษณะ คือ 4.1 การสังเคราะหเ์ ชิงคณุ ลักษณะ ผจู้ ดั กจิ กรรมทำการสังเคราะห์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์สังเคราะห์ 3 ด้าน คอื ข้อมูลทั่วไป ข้อมูล ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน และขอ้ เสนอแนะ 4.2 การสงั เคราะหก์ ารอบรมเชงิ ปริมาณ ในการสงั เคราะห์การจดั กจิ กรรมเชงิ ปรมิ าณ ผูจ้ ดั กิจกรรมแยกออกเปน็ คณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ใน การ สงั เคราะห์ข้อมลู ดังน้ี ๑. ข้อมูลเกยี่ วกบั เพศ / อายุ ๒. ขอ้ มูลระดับความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ๓. ข้อเสนอแนะ โดยเปรียบเทยี บจำนวนคนคิดเปน็ รอ้ ยละในแตล่ ะสว่ นของข้อมูลการอบรม พรอ้ มการบรรยายประกอบ

สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลการจัดกจิ กรรมเพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรม มคี วามรู้ ความเข้าใจ โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั ชมุ ชน หลกั สตู ร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรมสำนักงานเพอ่ื การมีงานทำ โดยใชว้ ธิ ีการวเิ คราะห์ สังเคราะห์จาก แบบประเมินความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และรูปแบบการจัดกจิ กรรม สามารถสรุปไดด้ ังนี้ การสังเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม - ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมสว่ นใหญเ่ ป็นเพศชาย ทำใหร้ ้อยละของเพศชายสูงกวา่ ร้อยละของเพศหญงิ - ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ ป็นมอี ายุต่ำกว่า 20 ปี เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นนกั เรยี น/นักศึกษา หรือ ประชาชนทั่วไป แตม่ ีนักศึกษาใหค้ วามสนใจในการเข้ารว่ มกิจกรรมเป็นสว่ นมาก จงึ ทำให้มีคา่ ร้อยละสงู การวิเคราะหข์ ้อมูลเก่ยี วกับความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จากการศึกษาพบวา่ ผู้เข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจต่อการจดั กจิ กรรมโครงการพฒั นาเศรษฐกิจ ดจิ ทิ ลั ส่ชู ุมชน หลักสูตรการเข้าใจดจิ ทิ ัล (Digital Literlacy) โดยรวมอยูใ่ นระดบั ( x = 4.12 ) มาก ๑.ด้านวทิ ยากร ๑.๑ การถ่ายทอดความรูข้ องวทิ ยากรมีความชัดเจน ( x = ๔.41 ) มาก ๑.๒ วทิ ยากรมีความสามารถในการอธบิ ายเนื้อหา ( x = ๔.24 ) มาก ๑.๓ วทิ ยากรให้ความรูค้ รบถ้วนตามเนอื้ หาในหลักสตู ร ( x = ๔.18 ) มาก ๑.๔ หลักสตู รและเนื้อหาในการฝึกอบรมน่าสนใจ ( x = ๔.12 ) มาก 1.5 ใช้เวลาตามทก่ี ำหนดไวใ้ นหลักสูตร ( x = ๔.47 ) มาก 1.6 วิทยากรตอบข้อซกั ถามในการฝกึ อบรมได้ชัดเจน ( x = ๔.18 ) มาก ๒.ดา้ นสถานท่/ี ระยะเวลา ๒.๑ สถานที่สะอาดและเหมาะสม ( x = ๔.47 ) มาก ๒.๒ ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทศั นูปกรณ์ ( x = ๔.53 ) มากทสี่ ุด ๒.๓ ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ( x = ๔.12 ) มาก ๓.ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ 3.1 ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองนี้ “ก่อน” การอบรม ( x = 1.88 ) นอ้ ย 3.2 ความรู้ ความเข้าใจในเร่ือง “หลัง” การอบรม ( x = ๔.18 ) มาก 4.ด้านการนำความร้ไู ปใช้ 4.๑ ท่านคิดว่าสามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ได้ ( x = ๔.18 ) มาก 4.๒ ทา่ นคดิ วา่ สามารถนำความรูไ้ ปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ ( x = ๔.35 ) มาก ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ - อภิปรายผล จากการดำเนินการพบประเด็นสำคัญท่ีสามารถนำมาอภิปรายผลได้ดังน้ี 1. ด้านกลุ่มเปา้ หมาย 1.1 กลมุ่ เปา้ หมายทเี่ ขา้ รว่ มโครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทัลชุมชน หลกั สตู ร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรมสำนักงานเพ่อื การมงี านทำ

๑.๒ กล่มุ เปา้ หมายมกี ารพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัลสูช่ มุ ชน หลักสตู ร Digital Literacy การใช้งาน โปรแกรมสำนักงานเพ่ือการมีงานทำ 2. ด้านงบประมาณ 2.1 จากการดำเนนิ งานพบว่างบประมาณท่ใี ช้ในจัดกจิ กรรมโครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล ชุมชน หลกั สูตร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรมสำนักงานเพื่อการมีงานทำ เพยี งพอต่อการจัดกจิ กรรม โครงการในคร้ังนี้ 3. ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอน 3.1 จากการดำเนินงานพบว่ากจิ กรรมยืดหยุ่นตามสภาพกลุม่ เป้าหมาย 4. ดา้ นสถานที่ 4.1 การดำเนนิ การเปน็ ไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย เนอ่ื งจากได้ใช้พื้นท่ีของ กศน.ตำบลปา่ แดง อำเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพิษณุโลก ซ่ึงเหมาะสมกบั การจัดกจิ กรรมโครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทลั ชุมชน หลกั สตู ร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรมสำนกั งานเพ่ือการมีงานทำ เพราะมเี คร่อื งมอื สื่อสาร เทคโนโลยี และสัญญาณ อินเทอรเ์ นต็ พร้อม 4.2 การใช้สถานท่ีของผเู้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ ารเป็นจุดเรียนรูใ้ นชุมชนทำใหเ้ กดิ ความเชื่อมโยง สมั พนั ธ์ กันระหวา่ ง กศน. ผูเ้ รียน และชุมชน ขอ้ มูลความตระหนัก ในการจัดกจิ กรรมโครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจิทลั ชุมชน หลกั สตู ร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรม สำนักงานเพ่ือการมีงานทำ ได้ดำเนินการเพอื่ ให้ประชาชนเกิดการเรียนรบู้ รู ณาการความรู้ ประยกุ ต์ใช้ดิจิทลั สำหรับ ชุมชน และนำความรู้ท่ีได้ไปจัดกระบวนการเรียนรู้ และผเู้ ข้ารับการอบรมการใช้เครอ่ื งมือดจิ ิทลั ในรปู แบบต่างๆ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ ข้อมลู การปฏิบตั ิ (ความพยายาม) นักศึกษา และประชาชน เกดิ การเรยี นรบู้ ูรณาการความรู้ สามารถประยกุ ตใ์ ช้ดจิ ิทัลสำหรับชุมชนได้ จุดเดน่ 1. กลุม่ เปา้ หมายมคี วามรับผดิ ชอบ 2. กิจกรรมตรงตามความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย 3. กลมุ่ เป้าหมายมคี วามสนใจในกิจกรรมของโครงการ 4. กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความร้ทู ไี่ ด้ไปใชใ้ นการดำเนินชีวติ ประจำวันของตนเองได้ จดุ ควรพัฒนา (จดุ ด้อย) ผ้เู รียนสว่ นใหญ่เปน็ เดก็ วัยร่นุ บางคนไม่ตง้ั ใจฟังและชอบน่ังเล่นเกมส์ในโทรศัพท์มือถอื บางคนขออนุญาต ออกนอกห้อง และไม่ทนั อบรมในบางชว่ ง จึงทำให้ไมค่ ่อยเข้าใจและชา้ กวา่ คนท่เี ข้าอบรมตลอดหลักสูตร แนวทางการพัฒนา 1. ควรมกี ารจัดให้จดั กิจกรรมทเี่ หมาะสมกับวัย 2. ควรจัดให้กิจกรรมหลากหลายรูปแบบ

วิธีการพฒั นา 1. สร้างความรู้ ความเขา้ ใจทดี่ ใี นการจัดโครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ลั ชมุ ชน หลักสตู ร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพอื่ การมีงานทำ กลุ่มเป้าหมายมคี วามรับผิดชอบในการจัดกจิ กรรมการ เรียนการสอน ให้ผู้เรยี น/ผ้รู บั บรกิ ารเห็นความสำคัญ ๒. ปรบั วธิ ีการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผ้เู รียน/ผู้รบั บริการ ใหม้ คี วามยืดหยุน่ โดยไม่เนน้ หนว่ ยการ เรยี นรู้ตามหลกั สตู ร แตใ่ ห้ยดึ ตัวผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ แลว้ จงึ นำผลการดำเนินงานมาปรับปรุงในคร้ังต่อไป ข้อเสนอแนะในการดำเนินการคร้งั ตอ่ ไป 1. ควรทำการศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้เคร่ืองมือที่หลากหลายรูปแบบ เพ่ือให้ได้ ข้อมลู ทีถ่ ูกต้อง ตรงตามความต้องการของผู้เรยี นมากทส่ี ุด 2. ควรศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในด้านต่าง ๆ ท่ีต้องการรับบริการจาก กศน. เพื่อให้ทราบ และสามารถจดั กิจกรรมตามหลักสูตรใหส้ อดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ินได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย และชุมชน 4. ควรเก็บข้อมลู ของผเู้ ข้ารบั การอบรมหลงั การอบรมด้วยทุกคร้งั

ภาคผนวก

ภาพประกอบ โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทัลชุมชน หลกั สตู ร Digital Literacy การใชง้ านโปรแกรมสำนกั งานเพื่อการมีงานทำ ระหว่างวนั ที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2565 ณ กศน.ตำบลป่าแดง อำเภอชาติตระการ จงั หวดั พิษณโุ ลก

ภาพประกอบ โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทัลชุมชน หลกั สตู ร Digital Literacy การใช้งานโปรแกรมสำนกั งานเพื่อการมีงานทำ ระหว่างวนั ท่ี 20 – 21 กรกฎาคม 2565 ณ กศน.ตำบลป่าแดง อำเภอชาติตระการ จงั หวดั พิษณโุ ลก













คณะทำงาน ทป่ี รกึ ษา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอชาตติ ระการ 1. นางพรสวรรค์ กนั ตง ครผู ้ชู ว่ ย 2. นางสาวชมพูนุช ล้วนมงคล คณะทำงาน ล้วนมงคล ครผู ูช้ ่วย 1. นางสาวชมพูนุช วันชนื่ ครูอาสาสมัครฯ 2. วา่ ที่ พ.ต.บุญส่ง ยศปญั ญา ครอู าสาสมคั รฯ 3. นางสาวภาณุมาศ บุญประกอบ ครอู าสาสมัครฯ 4. นางสาวประยูร แตง่ เนตร ครู กศน.ตำบลบ้านดง 5. นางสาวสภุ าพร พระคำสอน ครู กศน.ตำบลชาติตระการ 6. นางสาวนภิ าพร มั่นหยวก ครู กศน.ตำบลสวนเมยี่ ง 7. นางสาวกญั ญณัช พ่วงปนิ่ ครู กศน.ตำบลป่าแดง 8. นายอัษฎาพร แสงสบี าง ครู กศน.ตำบลท่าสะแก 9. นางสาวเปียทพิ ย์ จิตมัน่ ครู กศน.ตำบลบอ่ ภาค 10. นางปริศนา แฟงวชั รกุล บรรณารกั ษ์อัตราจา้ ง 11. นางสาวนำ้ ออ้ ย ผรู้ ับผิดชอบ/ผู้เรียบเรียบ/ผู้จดั รูปเล่ม/ออกแบบปก นางสาวนภิ าพร พระคำสอน ครู กศน.ตำบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook