Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปิงปอง

ปิงปอง

Published by st37184, 2019-09-12 22:41:44

Description: ปิงปอง

Search

Read the Text Version

PP II NN GG PP OO NN GG

กีฬาปงิ ปอง เปน็ กีฬาสันทนาการอีกชนิดหนึ่งที่ สามารถเลน่ เพอื่ สร้างความสนกุ สนานในหมู่คณะ ขณะเดียวกนั ก็เป็นกีฬาทีม่ คี วามท้าทายที่ผ้เู ลน่ ต้อง อาศัยไหวพรบิ และความคล่องแคล่วของรา่ งกายใน การรับ-สง่ ลกู ซึ่งความท้าทายนจ้ี ึงทาใหก้ ีฬาปิงปองได้รับ ความนิยมในระดบั สากล กระท่งั ถกู บรรจใุ นการ แขง่ ขันระดบั โลก ดว้ ยความนา่ สนใจของกฬี า ปิงปองน้ี

ประวัตกิ ีฬาปงิ ปอง หรือเทเบิลเทนนิส กีฬาปิงปองได้เร่ิมข้ึนคร้งั แรกในปี ค.ศ. 1890 (พ.ศ. 2433) ที่ประเทศองั กฤษ โดยในอดีตอุปกรณ์ท่ใี ช้ เล่นปิงปองเป็นไม้ห้มุ หนังสตั ว์ ซง่ึ มีลักษณะคล้ายกบั ไมป้ ิงปองในปจั จุบัน สว่ นลกู ท่ีใชต้ ีเปน็ ลูกเซลลูลอยด์ ซ่งึ ทาจากพลาสตกิ ก่งึ สังเคราะห์ โดยเวลาที่ลูกบอล กระทบกบั พ้นื โต๊ะ และไม้ตีจะเกิดเสียง \"ป๊ิก-ปอก\" ดังนนั้ กฬี าน้จี ึงถกู เรียกชื่อตามเสยี งที่ไดย้ นิ วา่ \"ปิงปอง\" (PINGPONG) และไดเ้ รมิ่ แพร่หลายในกลมุ่ ประเทศ ยโุ รปกอ่ น ซึง่ วธิ กี ารเล่นในสมยั ยโุ รปตอนต้น จะเป็นการเลน่ แบบยนั (BLOCKING) และแบบดนั กด (PUSHING) ซงึ่ ตอ่ มาไดพ้ ฒั นามาเปน็ การเลน่ แบบ BLOCKING และ CROP หรือเรยี กว่า การเล่นถกู ตดั ซงึ่ วธิ กี ารเล่นนี้เปน็ ทีน่ ยิ มมากแถบยโุ รป สว่ นวธิ กี ารจับไม้ จะมี 2 ลักษณะ คือ จับไม้แบบจับมือ (SHAKEHAND) ซึง่ เราเรยี กกนั ว่า \"จบั แบบยุโรป\" และการจบั ไมแ้ บบจบั ปากกา (PEN-HOLDER) ซึ่ง เราเรยี กกนั ว่า \"จบั ไม้แบบจนี \"

ในปี ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) เริ่มปรากฏว่ามีการหันมาใช้ไม้ ปงิ ปองติดยางเมด็ แทนหนงั สตั ว์ ดงั น้ัน วธิ ีการเล่นแบบรุก หรือ แบบบุกโจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE) โดยใชท้ ่า หนา้ มือ (FOREHAND) และหลงั มอื (BACKHAND) เริ่ม มบี ทบาทมากข้นึ และยงั คงนิยมการจับแบบไมแ้ บบยุโรป ดงั น้นั จงึ ถอื ว่ายุโรปเป็นศนู ย์รวมของกีฬาปงิ ปองอย่างแท้จรงิ ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) ได้มบี รษิ ทั คา้ เครือ่ ง กฬี า จดทะเบยี นเครอื่ งหมายการคา้ ว่า \"PINGPONG\" ดว้ ย เหตนุ ้ี กีฬาปงิ ปองจึงตอ้ งเปล่ยี นชื่อเปน็ เทเบลิ เทนนิส (TABLE TENNIS) และในปี ค.ศ. 1926 (พ.ศ. 2469) ไดม้ กี ารประชมุ ก่อตงั้ สหพนั ธ์เทเบิลเทนนสิ นานาชาติ (INTERNATIONAL TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ข้นึ ที่กรงุ ลอนดอน ในเดือนธนั วาคม พร้อมกับมกี ารจดั การแขง่ ขนั เทเบิล เทนนสิ แห่งโลกครัง้ ที่ 1 ขน้ึ เป็นครง้ั แรก

จากนน้ั ในปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) เปน็ ยคุ ท่ีประเทศญี่ปุ่น ซงึ่ ไดห้ ันมาสนใจกฬี าเทเบิลเทนนิสมากขน้ึ และได้มกี ารปรบั วิธีการเลน่ โดยเน้นไปท่ี การตบลูกแม่นยา และหนักหนว่ ง และการใชจ้ งั หวะเตน้ ของปลายเทา้ ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ญปี่ ุ่นได้เขา้ รว่ มการ แข่งขันเทเบิลเทนนิสโลกเปน็ คร้ังแรก ทีก่ รุงบอมเบย์ ประเทศ อินเดยี และในปี ค.ศ. 1953 (พ.ศ. 2496) สาธารณรัฐ ประชาชนจนี จงึ ไดเ้ ขา้ รว่ มการแขง่ ขันเป็นครง้ั แรกทีก่ รุง บูคาเรสต์ ประเทศโรมาเนีย ทาให้จึงกีฬาเทเบลิ เทนนิส กลายเป็นกีฬาระดับโลกท่แี ท้จริง โดยในยคุ นญี้ ป่ี ่นุ ใช้การจบั ไมแ้ บบจับปากกา และมีการพัฒนาไม้ปิงปองโดยใช้ยางเมด็ สอดไสด้ ว้ ยฟองนา้ เพิม่ เติมจากยางชนดิ เมด็ เดิมที่ใชก้ ันทว่ั โลก

ในเรอ่ื งเทคนคิ ของการเลน่ นนั้ ยโุ รปรุกด้วยความแมน่ ยา และมี ชว่ งตวี งสวงิ ส้ัน ๆ ซ่ึงเม่อื เปรยี บเทยี บกับญี่ปนุ่ ท่ใี ช้ปลายเทา้ เปน็ ศูนย์กลางของการตลี กู แบบรุกอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทาใหญ้ ่ปี ่นุ สามารถ ชนะการเล่นของยุโรปได้ แม้ในช่วงแรกหลายประเทศจะมองวา่ วธิ ีการเล่นของญป่ี ุ่น เปน็ การเล่นทคี่ อ่ นข้างเสยี่ ง แตญ่ ป่ี นุ่ ก็ สามารถเอาชนะในการแข่งขนั ตดิ ต่อกนั ไดห้ ลายปี เรยี กได้ว่าเป็น ยคุ มดื ของยุโรปเลยทีเดียว ในทสี่ ุดสถานการณ์ก็เปลยี่ นไป เมอ่ื สาธารณรฐั ประชาชน จนี สามารถเอาชนะญ่ปี ่นุ ได้ดว้ ยวธิ กี ารเลน่ ทโ่ี จมตีแบบรวดเร็ว ผสมผสานกับการป้องกนั ซ่ึงจนี ได้ศกึ ษาการเล่นของญีป่ ่นุ กอ่ น นามาประยกุ ต์ให้เขา้ กบั การเลน่ แบบที่จีนถนัด กระทง่ั กลายเปน็ วิธีการเลน่ ของจนี ท่เี ราเห็นในปัจจุบัน หลังจากนั้นยโุ รปได้เริม่ ฟน้ื ตัวขนึ้ มาอกี ครง้ั เน่อื งจากนา วธิ ีการเล่นของชาวอนิ เดียมาปรับปรุง และในปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) จงึ เป็นปขี องการประจันหน้าระหว่างผูเ้ ลน่ ชาวยุโรป และผู้ เลน่ ชาวเอเชีย แต่นักกฬี าของญปี่ ุ่นได้แกต่ ัวลงแลว้ ขณะที่ นกั กีฬารนุ่ ใหมข่ องยุโรปไดเ้ รมิ่ เก่งขนึ้ ทาใหย้ ุโรปสามารถคว้า ตาแหนง่ ชนะเลศิ ชายเดยี่ วของโลกไปครองได้สาเรจ็

จากน้ันในปี ค.ศ. 1971 (พ.ศ. 2514) นักเทเบิล เทนนสิ ชาวสวีเดน ชื่อ สเตลงั เบนคส์ นั เป็นผเู้ ปดิ ศักราชใหมใ่ ห้กบั ชาวยโุ รป โดยในปี ค.ศ. 1973 (พ.ศ. 2516) ทีมสวเี ดนสามารถควา้ แชมป์โลกได้ จึงทาให้ชาวยโุ รปมีความมั่นใจในวธิ ีการเล่นท่ปี รงั ปรุงมา ดังน้นั นกั กฬี าของยุโรป และนกั กีฬาของ เอเชีย จงึ เป็นคู่แขง่ ท่ีสาคญั ในขณะที่นักกฬี าใน กล่มุ ชาตอิ าหรบั และลาตนิ อเมริกา ก็เรมิ่ กา้ วหนา้ รวดเร็วขึน้ และมีการแปลกเปล่ียนความรู้ทางดา้ น เทคนคิ ทาใหก้ ารเลน่ แบบตั้งรบั ซ่งึ หายไปตัง้ แตป่ ี ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) เรมิ่ กลับมามบี ทบาทอีก ครงั้

จากนนั้ จึงไดเ้ กดิ การพฒั นาเทคนิคการเปลย่ี นหนา้ ไม้ในขณะเล่นลกู และมกี ารปรบั ปรงุ หน้าไมซ้ ่ึงตดิ ดว้ ยยางปิงปอง ที่มีความยาวของเม็ดยางมากกวา่ ปกติ โดยการใชย้ างทสี่ ามารถเปลย่ี นวิถีการหมุน และทิศทางของลูกเข้าได้ จึงนับได้วา่ กฬี าเทเบลิ เทนนสิ เป็นกฬี าทแี่ พรห่ ลายไปทว่ั โลก โดยมีการ พัฒนาอุปกรณ์ และมีวิธีการเล่นใหม่ ๆ เกดิ ขึ้น ตลอดเวลา กระท่ังกีฬาเทเบิลเทนนสิ ได้ถกู บรรจุเป็น การแขง่ ขนั ประเภทหนงึ่ ในกีฬาโอลมิ ปกิ เม่ือปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) ซ่งึ จัดขน้ึ ทีก่ รุงโซล ประเทศ สาธารณรฐั เกาหลี

สาหรบั ประวัติกีฬาเทเบลิ เทนนสิ ในประเทศไทยนั้น ทราบ เพียงว่า คนไทยรจู้ กั คนุ้ เคย และเล่นกฬี าเทเบิลเทนนสิ มา เป็นเวลาชา้ นาน แตร่ จู้ ักกันในชอื่ ว่า กฬี าปิงปอง โดยไม่ ปรากฏหลกั ฐานแน่ชัดวา่ มกี ารนากฬี าชนดิ นเ้ี ขา้ มาเลน่ ใน ประเทศไทยต้ังแตเ่ มอื่ ใด และใครเปน็ ผนู้ าเข้ามา แตป่ รากฏ ว่ามกี ารเรยี นการสอนมานานกวา่ 30 ปี โดยในปี พ.ศ. 2500 ประเทศไทยไดม้ กี ารจัดตั้งสมาคมเทเบิลเทนนิส สมคั รเล่นแห่งประเทศไทย และมีการแข่งขนั ของสถาบันต่าง ๆ รวมทั้งมีการแข่งขนั ชิงแชมปถ์ ้วยพระราชทานแหง่ ประเทศ ไทย ตั้งแต่นน้ั เป็นตน้ มา

การเล่นกฬี าปงิ ปอง หรอื เทเบลิ เทนนสิ กฬี าปิงปอง หรอื เทเบิลเทนนิส ท่เี รารจู้ กั กนั นั้น ถอื เปน็ กีฬาทม่ี คี วามยากในการเลน่ เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องกฬี า ประเภทนี้ ถูกจากัดใหต้ ีลกู ปิงปองลงบนโต๊ะของคู่ตอ่ สู้ ซง่ึ บน ฝั่งตรงขา้ มมพี น้ื ท่เี พยี ง 4.5 ฟุต X 5 ฟุต และลูกปงิ ปองยงั มี น้าหนกั เบามาก เพยี ง 2.7 กรมั โดยความเร็วในการเคลือ่ นท่ี จากฝั่งหนึ่งไปยงั อกี ฝั่งหนึง่ ใชเ้ วลาไม่ถึง 1 วินาที ทาให้ นกั กฬี าตอ้ งตลี กู ปิงปองทกี่ าลงั เคล่ือนมากลบั ไปทันที ซ่งึ หาก ลงั เลแลว้ ตีพลาด หรือไมต่ ีเลย กอ็ าจทาให้ผูเ้ ลน่ เสียคะแนนได้

ท้ังน้ี ปงิ ปองมีประโยชนต์ อ่ ผูเ้ ล่น เนือ่ งจาก ต้องอาศยั ความคล่องแคล่ว ว่องไวในทุกสว่ น ของรา่ งกาย ดงั นี้ 1. สายตา : สายตาจะตอ้ งจ้องมองลูกอยู่ ตลอดเวลา เพ่ือสังเกตหน้าไมข้ องคู่ตอ่ สู้ และมอง ลกู ว่าจะหมนุ มาในลักษณะใด 2. สมอง : ปิงปองเปน็ กฬี าท่ตี ้องใช้สมอง ในการคดิ อย่ตู ลอดเวลา รวมถงึ ต้องวางแผนการ เลน่ แบบฉบั พลันอีกด้วย 3. มอื : มือท่ีใช้จบั ไม้ปงิ ปอง จะต้อง คล่องแคลว่ และว่องไว รวมถงึ ตอ้ งรสู้ กึ ไดเ้ มอื่ ลกู ปิงปองสมั ผสั ถูกหน้าไม้ 4. ขอ้ มอื : ในการตบี างลักษณะ จาเปน็ ต้องใชข้ ้อมอื เขา้ ช่วย ลูกจงึ จะหมนุ มาก ย่ิงขนึ้

5. แขน : ต้องมีพละกาลงั และมคี วาม อดทนในการฝกึ ซ้อมแบบสมา่ เสมอ เพื่อให้ เกดิ ความเคยชนิ 6. ลาตวั : การตลี ูกปิงปองในบาง จงั หวะ ตอ้ งใช้ลาตัวเขา้ ช่วย 7. ต้นขา : ผู้เล่นต้องมตี น้ ขาท่ี แขง็ แรง เพ่อื เตรียมความพร้อมในการ เคลอื่ นทต่ี ลอดเวลา 8. หวั เข่า : ผเู้ ลน่ ต้องย่อเข่า เพ่อื เตรยี มพร้อมในการเคลื่อนท่ี 9. เทา้ : หากเท้าไม่เคล่อื นทีเ่ ข้าหา ลกู ปิงปอง กจ็ ะทาใหต้ ามตลี ูกปงิ ปองไมท่ ัน

วธิ ีการเลน่ กฬี าปิงปอง หรือเทเบิลเทนนสิ 1. การส่งลูกทีถ่ กู ตอ้ ง ลกู จะต้องอยูท่ ฝี่ า่ มอื แลว้ โข้ึน ไปในอากาศ สงู ไมน่ ้อยกว่า 16 เซนติเมตร 2. การรบั ลูกท่ถี กู ต้อง เมอื่ ลูกเทเบิลเทนนิสถูกตี ข้ามตาข่ายมากระทบแดนของตนครั้งเดียว ต้องตกี ลับให้ ขา้ มตาข่าย หรอื ออ้ มตาขา่ ยกลบั ไป ลูกทีใ่ หส้ ง่ ใหม่ คือ ลกู เสริ ฟ์ ติดตาขา่ ย แลว้ ข้ามไปตกแดนคูต่ อ่ สหู้ รอื เหตอุ นื่ ท่ี ผตู้ ดั สนิ เหน็ วา่ จะต้องเสิร์ฟใหม่ 3. การแข่งขันมี 2 ประเภท คือ ประเภทเด่ยี ว และ ประเภทคู่ 4. การนับคะแนน ถา้ ผเู้ ลน่ ทาผิดกตกิ า จะเสีย คะแนน

5. ผเู้ ล่นหรือคู่เลน่ ท่ีทาคะแนนได้ 11 คะแนน ก่อน จะเปน็ ฝ่ายชนะ ยกเว้นถ้าผเู้ ล่นทั้งสองฝา่ ย ทาคะแนนได้ 10 คะแนนเท่ากัน จะตอ้ งเลน่ ต่อไป โดยฝา่ ยใดทาคะแนนไดม้ ากกว่าอีกฝ่าย หนึง่ 2 คะแนน จะเป็นฝา่ ยชนะ 6. การแข่งขนั ประเภททีมมี 2 แบบ คือ 6.1 SWAYTHLING CUP มี ผ้เู ล่นครั้งละ 3 คน 6.2 CORBILLON CUP มีผู้ เลน่ คร้งั ละ 2-4 คน

จดั ทาโดย ด.ญ เบญญาภา ญาติจนั อัด ม.3/6 เลขท่ี7 ด.ญ.พชิ ชาภา ไทยแชม่ ม.3/6 เลขที8 ด.ญ.อุไรรตั น์ ชานาญกจิ ม.3/6 เลขที่10


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook