Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 การบัญชีเบื้องต้น 1

หน่วยที่ 1 การบัญชีเบื้องต้น 1

Published by lalida1888, 2020-06-03 09:15:36

Description: การบัญชีเบื้องต้น 1

Search

Read the Text Version

การบญั ชีเบ้ืองตน้ 1 ครูศรดุ า คงมีเงิน ครูชานาญการ แผนกวิชาการบญั ชี วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี

ประวตั คิ วามเป็ นมาของการบญั ชี ในปี ค.ศ. 1494 ลูกา ปาชิโอลิ (Luca Pacioli) ชาวอิตาเล่ียน ได้เขียนหนังสือ เชิงคณิตศาสตร์เล่มหน่ึงชื่อ Summe de Arithmetica Geometrica Proportioni et proportionalita” เป็นตาราว่าด้วยการคานวณเกี่ยวกับเลขคณิต พีชคณิต การ แลกเปลี่ยนเงินตรา รวมทั้งการบัญชี ซ่ึงเขาได้รวบรวมกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของหลักการ บญั ชีคอู่ ย่างสมบรู ณ์ โดยกาหนดศัพท์ท่ีมาของคาว่า “Debito” หมายถึง “เป็นหนึ่ง” และ “Credito” หมายถึง “เชื่อถือ” อันเป็นพ้ืนฐานที่มาของคาว่า “Debit” และ “Credit” ตามหลกั การบัญชีคู่ซึ่งเป็นที่ยอมรบั และถือปฏิบัติมาจนถึงทุกวันน้ี ลูกา ปา ชโิ อลิ ได้รบั การยกย่องว่าเป็นบดิ าแห่งการบัญชี

ความหมายของการบญั ชี การบญั ชี หมายถึง การรวบรวมวเิ คราะหก์ ารจดบนั ทึกขอ้ มลู ที่เกิดข้ ึน จากการดาเนินงานตามเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ ึนก่อน – หลงั ในรูปของ เงินตราและจาแนกออกเป็ นหมวดหมู่ รวมถึงการสรุปขอ้ มลู ในรปู ของ รายงานทางการเงิน

การทาบญั ชี (Bookkeeping) เป็ นหนา้ ท่ีของผทู้ าบญั ชี (Bookkeeper) ซึ่งมขี น้ั ตอนการปฏิบตั ิดงั น้ ี 1. การรวบรวม (Collecting) 2. การบันทึก (Recording) 3. การจาแนก (Classifying) 4. การสรุปข้อมูล (Summarzing)

วตั ถุประสงคข์ องการบญั ชี 1. เพ่อื บันทกึ รายการคา้ ทีเ่ กิดข้นึ ตามลาดับกอ่ นหลัง โดยจาแนกประเภทของ รายการค้าเพอื่ ง่ายตอ่ การตรวจสอบและค้นหาในภายหลัง 2. เพอื่ เปน็ หลักฐานในการอา้ งองิ โดยการจาแนกและจดั ประเภทของรายการไว้เปน็ หมวดหมู่ 3. เพอ่ื เปน็ ขอ้ มูลในการตัดสินใจวางแผนการดาเนนิ งานของกิจการ 4. เพ่อื เปน็ เคร่ืองมือในการควบคุมสนิ ทรัพย์ของกิจการ โดยใหม้ ีการจดบันทึกการไดม้ า ซึง่ สินทรัพยต์ ามวนั เวลาและบนั ทึกราคาทนุ เพ่ีอคานวณหาค่าเส่อื มราคา ตลอดจน อายกุ ารใชง้ านของสนิ ทรพั ย์

วตั ถุประสงคข์ องการบญั ชี (ตอ่ ) 5. เพื่อควบคุมภายในกจิ การและการตรวจสอบป้ องกนั การทุจริต 6. เพ่อื ป้ องกนั และลดขอ้ ผิดพลาดในการปฎฺ บิ ตั ิงาน การบญั ชีเป็ นการจดั การที่มี ระบบโดยใชห้ ลกั ฐาน เอกสาร บนั ทึกบญั ชี มกี ารตรวจสอบและคุมยอด บญั ชีต่าง ๆ ดว้ ยการทางบกระทบยอดซึ่งสามารถตรวจสอบไดต้ ลอดเวลา 7. เพือ่ ทราบผลการดาเนินงานวา่ มีกาไรหรอื ขาดทุนเท่าไร โดยดจู ากงบกาไร ขาดทุน เพอื่ ใชเ้ ป็ นหลกั ฐานประกอบการเสียภาษีเงินไดแ้ ละทราบฐานะ การเงินของกจิ การ โดยดจู ากงบแสดงฐานะการเงินและสามารถนาไปใช้ ประกอบในโครงการกยู้ ืมจากสถาบนั การเงนิ อยา่ งถูกตอ้ ง 8. เพอื่ รายงานต่อบุคคลหรอื หน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งในการกาหนดนโยบายทาง เศรษฐกจิ และการจดั เก็บภาษีอากรของรฐั

ประโยชนข์ องการจดั ทาบญั ชี (The Benefits of Accounting) 1. เจา้ ของกจิ การสามารถควบคุมและดแู ลรกั ษาสินทรพั ยข์ องกิจการท่ีมอี ยู่ไมใ่ ห้ สญู หาย 2. ผบู้ รหิ ารกิจการมขี อ้ มลู เพียงพอท่ีจะนามาใชใ้ นการตดั สินใจบรหิ ารกจิ การได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3. ฝ่ายบรหิ ารตอ้ งการทราบวา่ กจิ การมีสินทรพั ยแ์ ละหน้ ีสินอยเู่ ท่าใด อะไรบา้ ง มีกาไรขาดทุนเป็ นอยา่ งไรเม่อื เปรียบเทียบกบั ปี ท่ีผ่านมา ทาใหท้ ราบผลการ ดาเนินงานและฐานะทางการเงินของกจิ การไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. บุคคลภายนอกกิจการทราบขอ้ มลู ทางการบญั ชีของกิจการ เพอ่ื ใชป้ ระโยชน์ ในการตดั สินใจเร่ืองต่าง ๆ

ขอ้ สมมตติ ามแม่บทการบญั ชี ขอบเขตของแมบ่ ทการบญั ชี แยกออกเป็ นดงั น้ ี 1. วตั ถุประสงคข์ องงบการเงิน การจดั ทางบการเงนิ เพ่ือใหท้ ราบขอ้ มลู เกย่ี วกบั ผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกจิ การ โดยจดั ทา - งบกาไรขาดทุน - งบแสดงฐานะทางการเงิน

ขอ้ สมมตติ ามแม่บทการบญั ชี 2. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินท่ีกาหนดว่าขอ้ มูลในงบการเงินมี ประโยชน์ หมายถึง คุณสมบตั ิท่ีทาใหข้ อ้ มลู ในงบการเงินมปี ระโยชน์ต่อ ผใู้ ช้ ซึ่งประกอบดว้ ยลกั ษณะต่อไปน้ ี - ความเขา้ ใจได้ (Understandability) - ความเก่ียวขอ้ งกบั การตดั สินใจ - ความเชื่อถือได้ ไดแ้ ก่ การเป็ นตวั แทนอนั เที่ยงธรรม, ความเป็ นกลาง, ความระมดั ระวงั , ความครบถว้ น, งบการเงนิ ถกู ตอ้ งและยุติธรรม - การเปรยี บเทียบได้

ขอ้ สมมตติ ามแม่บทการบญั ชี 3. คานิยาม การรบั รแู้ ละการวดั มลู ค่าขององคป์ ระกอบต่าง ๆ ที่ประกอบข้ ึน เป็ นงบการเงิน 3.1 การรบั รอู้ งคป์ ระกอบของงบการเงิน ไดแ้ ก่ - การรบั รสู้ ินทรพั ยน์ ้ันวา่ มีราคาทุนหรือมลู คา่ ท่ีสามารถวดั ไดอ้ ยา่ ง น่าเชื่อถือ - การรบั รหู้ น้ ีสิน มลู ค่าของภาระผกู พนั ที่ตอ้ งชาระน้ัน สามารถวดั ไดอ้ ยา่ ง น่าเชื่อถือ - การรบั รสู้ ว่ นของเจา้ ของ หมายถึง สว่ นของไดเ้ สียของผเู้ ป็ นเจา้ ของ คงเหลือจากสินทรพั ยท์ ี่หกั จาหน้ ีสินแลว้ เรยี กวา่ สินทรพั ยส์ ุทธิ - การรบั รรู้ ายได้ การรบั รคู้ า่ ใชจ้ า่ ย เม่ือประโยชน์เชิงเศรษฐกจิ ในอนาคต เพมิ่ ข้ นึ เนื่องจากการเพม่ิ ข้ นึ ของสินทรพั ยห์ รอื การลดลงของหน้ ีสิน สามารถวดั มลู ค่าของประโยชน์เชิงเศรษฐกจิ ในอนาคต

ขอ้ สมมตติ ามแม่บทการบญั ชี 3.2 การวดั มลู คา่ องคป์ ระกอบของงบการเงนิ การวดั มลู คา่ คือ การกาหนดจานวนท่ีเป็ นตวั เงินเพ่อื รบั รอู้ งคป์ ระกอบของ งบดุลและงบกาไรขาดทุน การวดั มลู คา่ จะเกย่ี วขอ้ งกบั การเลือกใชเ้ กณฑใ์ นการวดั ค่า ต่าง ๆ ในสดั สว่ นที่แตกต่างกนั ในลกั ษณะท่ีไมเ่ หมือนกนั ซ่ึงเกณฑใ์ นการวดั ค่าต่าง ๆ มีดงั ต่อไปน้ ี - ราคาทนุ เดมิ - ราคาทุนปัจจุบนั - มูลคา่ ทีจ่ ะไดร้ บั - มูลคา่ ปัจจุบนั

ขอ้ สมมตติ ามแม่บทการบญั ชี 4. ขอ้ สมมตกิ ารจดั ทางบการเงิน - เกณฑค์ งคา้ ง (Accrual Basis) หมายถึง รายการและเหตุการณท์ าง บญั ชี จะรบั รไู้ ด้ เมอื่ รายการน้ันเกิดข้ ึน มิใช่เมือ่ มีการรบั หรอื จ่ายเงินสด หรอื ไดร้ บั หรอื จา่ ยส่ิงท่ีสามารถเปล่ียนเป็ นเงินสดไดใ้ นอนาคต - การดาเนินงานอยา่ งตอ่ เนื่อง (Going Concern) หมายถึง งบการเงนิ ถกู จดั ทาข้ นึ ภายใตข้ อ้ สมมติหากไมม่ ขี อ้ สมมติน้ ี การกาหนดงวดบญั ชี หรือรอบ ระยะเวลาบญั ชีจะยุง่ ยากมาก เพราะไมส่ ามารถคาดการณไ์ ดว้ า่ กิจการจะเลิกเมอื่ ไร งบการเงนิ ตอ้ งจดั ทาข้ ึนตามขอ้ สมมติท่ีวา่ กิจการจะดาเนินงานอยา่ งต่อเน่ืองตลอดไป

ประโยชนข์ องขอ้ มูลทางการบญั ชี  รายงานทางบญั ชี คือรายงานที่ธุรกิจจดั ทาข้ นึ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท 1. รายงานทางการบรหิ าร เพื่อใชใ้ นการตดั สินใจและวางแผนในเร่อื งต่าง ๆ 2. รายงานเฉพาะหรอื รายงานพเิ ศษ คือรายงานที่ทาข้ นึ เฉพาะเรอ่ื งเพือ่ นาเสนอต่อหน่วยงานราชการ สถาบนั การเงิน เชน่ รายการเกีย่ วกบั ภาษีมลู ค่าเพ่มิ 3. งบการเงนิ คือรายงานท่ีทาข้ นึ เพ่ือนาเสนอต่อเจา้ ของ หน่วยงานราชการ สถาบนั การเงิน เชน่ งบกาไรขาดทุน งบดุล เป็ นตน้  ผใู้ ชข้ อ้ มูลทางการบญั ชี คือ ผใู้ ชป้ ระโยชน์จากการรายงานทางบญั ชี เพ่ือนาไปใชใ้ นการตดั สิใจ ประกอบดว้ ยหน่วยงานหรอื บุคคล 2 ประเภท คือ 1. ผใู้ ชข้ อ้ มลู ภายใน เชน่ เจา้ ของกิจการ ผบู้ ริหาร ผถู้ ือหนุ้ เป็ นตน้ 2. ผใู้ ชข้ อ้ มลู ภายนอก เชน่ หน่วยงานราชการ สถาบนั การเงิน เป็ นตน้

จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบวิชาชีพ 1. Integrity Objectivity 2. Professional Competence and Due Care 1. ความโปร่งใส 1. ความรคู้ วามสามารถ 2. ความเป็ นอิสระ 3. ความเที่ยงธรรม 2. มาตรฐานในการ 4.ความซ่ือสตั ยส์ ุจติ ร ปฏิบตั ิงาน

จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบวิชาชีพ 3. Confidentiality 4. . Professional Behavior 1. การรกั ษา 1. ความรบั ผิดชอบตอ่ ความลบั ผรู้ บั บรกิ าร 2. ความรบั ผิดชอบตอ่ ผูถ้ ือหนุ้ 3. ความรบั ผิดชอบตอ่ เพื่อน ร่วมวชิ าชีพ

หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งกบั วิชาชีพบญั ชี • สภาวชิ าชีพ • กรมสรรพากร • สานักงานคณะกรรมการกากบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ • ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย • ธนาคารแหง่ ประเทศไทย • กรมศุลกากร • กรมสรรพสามติ

ขอ้ แนะนาในการเรยี นบญั ชี 1. ขอ้ แนะนาเบ้ ืองตน้ 1. ทาแบบฝึกหดั ทุกขอ้ ดว้ ยตนเอง เพ่อื ฝึกฝนการ ทางานใหป้ ระสทิ ธิภาพ ถกู ตอ้ ง รวดเร็ว และแม่นยา 2. ในการเขียนตวั หนังสือและตวั เลข นักบญั ชีที่ดีควร เขยี นใหช้ ดั เจน อา่ นง่าย และสะอาด เรียบรอ้ ย 3. คุณสมบตั ิที่จาเป็ นในการทาบญั ชี คอื ตอ้ งมีความ ละเอียดรอบคอบ และความถกู ตอ้ งแมน่ ยาในตวั เลข

ขอ้ แนะนาในการเรียนบญั ชี 2. ขอ้ แนะนาในการเขียนตวั เลข 1นิยมเขยี นตวั เลขดว้ ยเลขอารบิค 2. ถา้ จานวนเงินเป็ นตวั เลข 3 หลกั ข้ นึ ไปใหใ้ ช้ เครื่องหมายจุลภาค (,) คนั่ ตวั เลขหลกั พนั เชน่ 1,500 3. ถา้ ตอ้ งการเขยี นตวั เลขเป็ นจานวนเงินในแนวต้งั เรียง กนั ลงมาตอ้ งเขียนใหต้ รงหลกั 4. การเขยี นตวั เลขลงในชอ่ งจานวน ใหเ้ ขยี นหลกั หน่วย ของจานวนบาทชิดเสน้ แบง่ ชอ่ งบาทและชอ่ งสตางคเ์ สมอ 5. จานวนสตางคท์ ่ีจะเขยี นลงในช่องสตางคไ์ มม่ มี ีเศษ สตางคใ์ หใ้ ช้ – หรือ 00 แตน่ ิยมใช้ – มากกวา่

ขอ้ แนะนาในการเรียนบญั ชี ตวั อยา่ งการเขียนจานวนเงิน จานวนเงนิ บาท สต. 8,500 - 12,000 00 300 00 150,000 25

ขอ้ แนะนาในการเรียนบญั ชี การแกต้ วั เลข ตามหลกั ของการทาบญั ชีเมอื่ เขียนเลขผิดจะไมใ่ ชย้ างลบ และจะไมเ่ ขียนตวั เลขที่ถูก ทนั ซ้าลงบนตวั เลขที่ผิดเป็ นอนั ขาด แต่จะใชว้ ธิ ีขีดเสน้ ขวาง ทบั ไปบนตวั เลขท่ีผิด แลว้ เขียนตวั เลข ใหมท่ ี่ถกู ตอ้ งเหนือตวั เลขท่ีผิดน้ัน และเซ็นชื่อกากบั ตวั อยา่ ง จานวนเงิน บาท สต. 8,500 - 12,000 00 300 00 105,000 25 150,000 25

ขอ้ แนะนาในการเรียนบญั ชี 3. ขอ้ แนะนาอ่ืน ๆ 1. ตอ้ งฝึ กใหเ้ ป็ นผทู้ ่ที างานไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและไม่ผิดพลาด 2. ฝึ กใหม้ ีความเช่ือมนั ่ ในตนเอง 3. ตอ้ งพยายามทาแบบฝึ กหดั ใหค้ รบถว้ นดว้ ยตวั เอง

ขอ้ แนะนาในการเรียนบญั ชี 4. การเขยี น วนั เดือน ปี ลงในแบบฟอรม์ ต่าง ๆ ตอ้ งเขยี น พ.ศ. ก่อน ตามดว้ ยเดือน และวนั ที่ พ.ศ. 2563 เลขที่ เดบิต เครดิต เดือน วนั ท่ี รายการ บญั ชี บาท สต. บาท สต . มิ.ย. 1 เงินสด 101 50,000 - ทุน – ศรุดา 301 50,000 - ศรุดานาเงินสดมาลงทุน

ขอ้ แนะนาในการเรยี นบญั ชี 5. การเขียนตวั ยอ่ ของเดือนต่าง ๆ ท่ีถกู ตอ้ ง เดือน ตวั ยอ่ เดือน ตวั ยอ่ มกราคม ม.ค. กรกฎาคม ก.ค. กุมภาพนั ธ์ ก.พ. สิงหาคม ส.ค. มีนาคม มี.ค. กนั ยายน ก.ย. เมษายน เม.ย. ตุลาคม ต.ค. พฤษภาคม พ.ค. พฤศจิกายน พ.ย. มิถนุ ายน ม.ิ ย. ธนั วาคม ธ.ค.

เรยี นจบแลว้ อยา่ ลืมทาแบบทดสอบ หลงั เรยี นนะเด็ก ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook