Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาคผนวก ข. หลักบัญชีเบื้องต้น

ภาคผนวก ข. หลักบัญชีเบื้องต้น

Published by worrakit.p, 2020-06-25 00:57:01

Description: ภาคผนวก ข. หลักบัญชีเบื้องต้น

Keywords: หลักบัญชีเบื้องต้น,ภาคผนวก

Search

Read the Text Version

ข. - 1 ภาคผนวก ข. หลกั การบัญชเี บอ้ื งตน เนอ้ื หาสาระ ทส่ี ําคัญของบทนี้ ครอบคลมุ รายละเอียดรวม 12 เร่อื ง ดังนี้ เรอ่ื ง 1 ความหมายของการบัญชี เรอ่ื ง 2 แมบทการบญั ชี เรือ่ ง 3 ผูใชประโยชนจ ากการบญั ชี เรอ่ื ง 4 งบการเงนิ เรื่อง 5 รายการคา เรื่อง 6 สมการบัญชี เร่ือง 7 บญั ชแี ละบัญชีแยกประเภท เรอ่ื ง 8 วงจรบญั ชี เรอื่ ง 9 ผังบัญชี เรื่อง 10 สมดุ รายวนั ท่ัวไปและวิธีการบันทึกรายการ เรอื่ ง 11 การผานรายการบญั ชีรายวนั ไปยงั บัญชแี ยกประเภท เรือ่ ง 12 งบทดลอง วัตถปุ ระสงค 1. อธบิ ายความหมาย ของการบญั ชไี ด 2. เขา ใจในเร่อื งแมบทของการบญั ชี 3. เขาใจและอธบิ ายถงึ ประโยชนจากการบัญชี 4. เขา ใจและสามารถอธิบายเก่ยี วกับงบการเงินได 5. อธิบายไดวารายการคาเก่ียวขอ งกบั การดําเนินธรุ กิจอยา งไร 6. เขา ใจและอธบิ ายถึงหลกั การสมการบญั ชี 7. บนั ทึกรายการเปลีย่ นแปลงในบัญชีและบัญชีแยกประเภทได 8. อธบิ ายและบันทึกรายการบัญชที เ่ี กิดข้นึ และเขา ใจถงึ วงจรทางบญั ชี 9. จัดระบบผงั บัญชีใหเปน หมวดหมูอ ยางเปน ระเบียบ 10. เขาใจถึงสมุดรายวันท่ัวไปและวิธกี ารบนั ทึกรายการ 11. ผานรายการบัญชรี ายวันไปยังบญั ชแี ยกประเภทได 12. จดั ทาํ งบทดลองได

ข. - 2 เร่ืองที่ 1. ความหมายของการบญั ชี “ การเงินมีปญหา ” เปนปญหาที่หลายองคการไมอยากใหเกิดขึ้น การปองกันปญหานี้สามารถกระทํา ไดหากกิจการมีการวางระบบบัญชีและการควบคุมทางการเงิน เพราะขอมูลทางการเงิน เพราะขอมูลทางการเงิน สามารถบงช้ีใหเห็นสถานะของกิจการไดเปนอยางดี ซึ่งผูบริหารจะใชขอมูลเพื่อตัดสินใจทางการบริหาร ดังนั้น การมีขอ มูลทางการเงินท่ีถูกตองจะทําให ผูบริหารตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิมากขึ้น กลาวไดวา “ การบัญชีคือ หูและตาของฝายบริหาร ” อยางไรก็ตาม การท่ีจะมีขอมูลทางการเงินที่ถูกตอง ยอมตองมีระบบการบัญชีที่ ถกู ตอ งและมีประสิทธิภาพดวย ซงึ่ จะขออธิบายในแตล ะสว นดงั ตอไป ความหมายของการบัญชี การบัญชีเปน ศิลปะในการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณท่ีเกี่ยวของกับ การเงินในรูปแบบของเงินตรา มีการจัดแยกหมวดของรายการที่บันทึก มีการสรุปผลและวิเคราะหความหมาย ของรายการทท่ี ําการบนั ทกึ ซง่ึ แสดงอยใู นรปู ของรายงานทางการเงนิ จากความหมายขางตนจะเห็นไดวาการบัญชี เปนงานบริการอยางหนึ่งเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมขอมูล ทางการเงินของกิจการและรายงานผลการประกอบการ ซ่ึงเปนประโยชนของกิจการท่ีจะใชวัดประสิทธิภาพใน การดําเนินงาน อยางไรก็ตามในการดําเนินธุรกิจมีหลายรูปแบบ ซึ่งแตละรูปแบบจะมีลักษณะการบันทึกรายการ ทางบัญชีที่แตกตางกันไป ดังน้ันจึงขออธิบายเก่ียวกับรูปแบบซึ่งแตละรูปแบบจะมีลักษณะการบันทึกรายการทาง บัญชที แี่ ตกตา งกันไป ดงั น้ันจึงขออธบิ ายรูปแบบของธรุ กิจดังนี้ กิจการเจาของคนเดียว ( Single Proprietorship) เปนกิจการท่ีมีบุคคลคนเดียวเปนเจาของ ซ่ึงเปนผูนําเงินมาลงทุน และทําหนาท่ีต้ังแตผูจัดการ พนักงานขาย พนักงานเก็บเงิน รวมทั้งบันทึกรายการทางการเงินเอง ดังนั้นจึงรับผิดชอบในกําไรหรือขาดทุน ของกิจการแตผูเดียว ในทางกฎหมายกิจการท่ีมีเจาของคนเดียวไมถือเปนนิติบุคคลเน่ืองจากไมมีการจดทะเบียน ดังน้ัน จึงไมตองมีการรายงานผลการดําเนินงานใหแกบุคคลอื่นทราบและการดําเนินของธุรกิจไมไดข้ึนกับกฎ ขอ บังคับพิเศษอนั ใด หางหุนสว น (Partnership) เปนกิจการที่มีบุคคลต้ังแต 2 คนขึ้นไปตกลงกันเพ่ือกระทํากิจการรวมกัน เพื่อแบงปนกําไรอันพึงจะ ไดจ ากการดาํ เนินกิจการ ซง่ึ สามารถแบง ปน 2 ประเภท คอื • หางหุนสวนสามัญ คือ หางหุนสวนที่ผูเปนหุนสวนทุคนจะตองรับผิดชอบในหน้ีสินไมจํากัดจํานวน หางหนุ สว นประเภทนจ้ี ดทะเบยี นกไ็ ดหรอื ไมจ ดทะเบยี นกไ็ ด • หางหุนสวนจํากัด คือ หางหุนสวนท่ีมีการจดทะเบียนเปนนิติบุคคล และมีหุนสวน 2 ประเภท คือ หุนสวนที่จํากัดความรับผิดชอบซึ่งรับผิดชอบในหนี้สินไมเกินจํานวนเงินที่ลงทุนไวและหุนสวนที่ไม จํากัดความรับผิดชอบ จะรับผิดชอบในหนี้สินไมจํากัดจํานวนตามกฎหมายบัญญัติหางหุนสวนจํากัด ความรับผดิ ชอบจะไดรบั สิทธิในการจักการหา งหุน สว นได

ข. - 3 บรษิ ทั จาํ กัด (Corporation) เปน กิจการทีต่ งั้ ขน้ึ โดยกลมุ บุคคลทมี่ วี ัตถุประสงคเพือ่ กระทาํ กจิ กรรมทางธุรกจิ รวมกัน ซ่ึงจะตองมีการ จดทะเบียนเปนนิติบุคคลแยกจากผูเปนเจาของคือผูถือหุน ผูถือหุนแตละคนมีสวนเปนเจาของบริษัทตามหุนท่ี ตนเองถืออยู โดยมีการแบงทุนออกเปนหุนเพื่อใชเปนเงินลงทุนในการดําเนินกิจการ เงินที่ไดจากการแบงทุน เปนหุนเรียกวา “ ทุนเรือนหุน ” ผูถือหุนไมมีสิทธิเขามาจัดการบริษัทยกเวนจะไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ เนื่องจากการจัดการบริษัทจะเปนหนาท่ีกรรมการบริษัทเทานั้น ผูถือหุนจะไดรับสวนแบงในรูปของเงินปนผล บริษัทจาํ กัดสามารถแบง ไดเปน 2 ประเภท คอื บริษทั เอกชน จํากดั หมายถึง บริษัทท่ีจัดตั้งข้ึนตามประมวลกฎหมายเพงและพาณิชยมาตรา 1095 วา “บรษิ ทั จํากัด คอื บรษิ ทั ประเภทหนง่ึ ทจ่ี ดั ต้งั ขึ้นดว ยการแบงทุนเปน หุนมีมลู คา เทา ๆกัน โดยมีผูถือหุนหน่ึงรอยคน รวมทั้งนิติบุคคล (ถามี) ผูถือหุนจะรับผิดจํากัดเพียงไมเกินจํานวนเงินท่ีตนยังสงใชไมครบ (หรือครบจํานวน) มลู คาของหุน ทตี่ นถอื ” บริษัท มหาชน จํากัด หมายถึง บริษัทท่ีจัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติจํากัดมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 15 วา “บริษัทมหาชน จํากัด คือบริษัทประเภทหนึ่งท่ีตองข้ึนดวยความประสงคที่เสนอขายหุนใหกับ ประชาชน โดยผูถือหุนมีความรับผิดจํากัดไมเกินจํานวนเงินคาหุนที่ตองชําระและบริษัทดังกลาวตองระบุความ ประสงคเ ชน นัน้ ไวใ นหนังสือบรคิ ณหสนธิ ” เร่อื งท่ี 2. แมบทการบัญชี ขอ มูลทางบญั ชนี บั เปนประโยชนแกบุคคลหลายฝาย ดังน้ันเพื่อใหขอมูลท่ีจัดทําและนําเสนอมีความนา เชื่อถอื จงึ ตองมกี ารจัดทํางบการเงนิ ข้ึนตาม “ หลักการบัญชีท่ีรับรองทั่วไป : General Accounting Principles ” ที่ จะบงช้ีถึงวิธีปฏิบัติทางบัญชี สําหรับการบัญชีท่ีนิยมกันโดยทั่วไปในประเทศสหรัฐอเมริกา The American Institute of Certified Public Accountants : AICPA เปนผูกําหนดหลักการบัญชีเพ่ือใหนักบัญชียึดถือตามเพ่ือ ใชปฏิบตั แิ ละเปนมาตรฐานเดียวกัน สําหรับประเทศไทยสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย เปนผูกําหนดขอ ปฏิบัติตาง ๆ ทางการบัญชี ซึ่งไดมีการแถลงการณเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีหลายฉบับรวมท้ังการกําหนดขอ สมมุติข้ันมูลฐานทางการบัญชี เพ่ือใชเปนหลักเกณฑในการจัดทําบัญชี ซ่ึงในปจจุบันไดมีการยกเลิกมาตรฐาน การบัญชีฉบับท่ี 1 และประกาศใช “ แมบทการบัญชี ” ต้ังแตวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2545 ซึ่งแมบทการบัญชีน้ี ไดกําหนดเกณฑสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงินในเรื่องเก่ียวกับวัตถุประสงค กลุมผูใชงบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของ งบการเงิน องคประกอบของงบการเงิน และคํานิยามขององคประกอบน้ัน รวมถึง เกณฑการรับรูรายการในงบดุล การวัดมูลคาของรายการ และแนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนที่ใช วดั ผลกําไรในงบการเงนิ โดยมีรายเอยี ดขอสมมตุ ฐิ านทางการบัญชี ดงั นี้

ข. - 4 1. เกณฑค งคา ง เพ่ือใหขอมูลแกผูใชงบการเงินเกี่ยวกับรายการคาในอดีต ที่เก่ียวของกับการรับและการจายเงินสด ภาระผูกพันที่กิจการตองจายเปนเงินสดในอนาคต และขอมูลเก่ียวกับทรัพยากรท่ีจะไดรับเปนเงินสดในอนาคต ดวย โดยจะบันทึกบัญชีและแสดงในงบการเงินตามงวดท่ีเกี่ยวของซึ่งจะเปนประโยชนตอผูใชงบการเงินสําหรับ การตัดสินใจในเชงิ เศรษฐกจิ 2. การดําเนินงานตอเนื่อง โดยทั่วไปงบการเงินจัดทําข้ึนตามขอสมมุติท่ีวากิจการจะดําเนินงานอยางตอเนื่องและดํารงอยูตอไปใน อนาคต ดังนั้นจึงสมมุติวากิจการไมมีเจตนาหรือมีความจําเปนที่จะเลิกกิจการ หรือลดขนาดของการดําเนินงาน หากกจิ การมีเจตนาหรือความจําเปน ดงั กลา วงบการเงินจะตองจัดทาํ ข้นึ โดยใชเกณฑอื่นและตองเปดเผยเกณฑที่ใช ในงบการเงนิ ดวย 3. ลักษณะเชงิ คณุ ภาพของงบการเงนิ หมายถงึ คุณสมบัติท่ีทําใหขอมูลในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงิน ซึ่งคุณสมบัติดังกลาว จะ ชวยใหผูใชงบการเงินสามารถอานงบการเงินและมีความเขาใจได และงบการเงินนั้นมีความนาเช่ือถือ สามารถ เปรียบเทียบปจจัยตางๆ ท่ีเก่ียวของและทําใหเกิดความม่ันใจตอการตัดสินใจในเร่ืองตางๆ ไดดี ความเก่ียวของ กบั การตดั สินใจ ความเชอ่ื ถือได และการเปรียบเทียบกนั ได 4. ความเขา ใจ เปนขอสมมุติเก่ียวกับความรูของผูใชงบการเงินวาจะมีความรูเก่ียวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและ การบัญชี เพ่ือมิใหเกิดการละเวนขอมูลบางอยางเพื่อเหตุวาขอมูลดังกลาวมีความยุงยากหรือซับซอนเกินกวาผูใช งบการเงินจะทาํ ความเขา ใจ 5. ความเกย่ี วของกับการตัดสินใจ จะเกี่ยวของกับประโยชนตอการตัดสินใจในเชิงเศรษฐกิจ ซ่ึงจะชวยใหผูใชงบการเงินประเมิน เหตุการณในอดีต ปจจุบัน และอนาคต รวมไปถึงบงชี้ถึงขอผิดพลาดของการประเมินที่มาของผูใชงบการเงิน เพ่ือประโยชนในการยืนยันผลคาดคะเนที่ผานมา เชน การคาดคะเนความสามารถของกิจการในการลงทุน และ เพ่ือประโยชนในการคาดคะเนฐานะทางการเงนิ ในอนาคต 6. เหตุการณมนี ัยสําคัญ หมายถึงเหตุการณซ่ึงหากท่ีผูเกี่ยวของไมไดรับราบ อาจสงผลตอการตัดสินใจ ทําใหเกิดการตัดสินใจท่ี ผิดพลาดได ดังนั้น งบการเงินจึงควรเปดเผยขอมูลนัยสําคัญที่มีผลตอการตัดสินใจ ท้ังนี้มีความนัยสําคัญจะ ขนึ้ อยกู ับขนาดของการผิพลาดทเี่ กิดข้ึน ภายใตส ภาพการณเฉพาะจึงตองมกี ารพจิ ารณา เปนกรณๆี ไป 7. ความเชอื่ ถือได เพื่อใหไดขอมูลท่ีมีความนาเช่ือถือ ดังนั้น การบันทึกขอมูลทางการเงินและการจัดทําบัญชีตองจัดทํา ข้ึน โดยอาศัยหลักฐานและขอเท็จจริงอันเท่ียงธรรม เพ่ือใหบุคคลที่เกี่ยวของเขาใจในงบการเงินของกิจการได อยางถูกตองและใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด โดยท่ัวไปงบการเงินจัดทําขึ้นตามขอสมมุติที่วากิจการจะ ดําเนินงานอยางตอเน่ืองและดํารงอยูตอไปในอนาคต ดังนั้นจึงสมมุติวากิจการไมมีเจตนาหรือความจําเปนท่ีจะ เลิกกิจการหรือลดขนาดของการดําเนินงานอยางมีในสําคัญ หากกิจการมีเจตนาหรือความจําเปนดังกลาว งบ การเงนิ จะตอ งจัดทําขึน้ โดยใชเ กณฑอ่ืนและตองเปดเผยเกณฑทใี่ ชใ นงบการเงนิ ดว ย

ข. - 5 8. การเปนตวั แทนอันเทีย่ งธรรม เพี่อใหขอ มูลเปน ตวั แทนอนั เที่ยงธรรม การบันทึกและการแสดงขอมูลตองเปนไปตามความเปนจริงใน เชิงเศรษฐกิจ เน่ืองจากบางครั้งเน้ือหาทางเศรษฐกิจอาจมีความแตกตางไปจากรูปแบบทางกฎหมาย เพื่อใหผูใช งบการเงนิ ไดท ราบขอ มลู เก่ยี วกบั กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของเหตกุ ารณน ้ันไดช ดั เจนขึ้น 9. เนอ้ื หาสาํ คัญกวารูปแบบ ขอมูลเปนตัวแทนอันเท่ียงธรรมของรายการและเหตุการณทางบัญชี ดังน้ันขอมูลจึงตองบันทึกและ แสดงตามเนื้อหาและความเปนจริงในเชิงเศรษฐกิจประกอบดวย ทําใหบางครั้งเน้ือหาของรายการและเหตุการณ ทางบัญชอี าจไมตรงกบั รูปแบทางกฎหมาย 10. ความเปนกลาง ขอมูลในงบการเงินจะมีความนาเชื่อถือ เม่ือมีความเปนกลางปราศจากความลําเอียงงบการเงินท่ีมีการ เลอื กหรือแสดงขอ มลู ในบางประเด็นเปน งบการเงนิ ทีข่ าดความเปน กลาง 11. ความระมดั ระวงั หมายถึง การใชดุลพินิจในการประมาณการภายใตความไมแนนอน เพ่ือมิใหสินทรัพยหรือรายได แสดงจํานวนสูงเกินไป และหนี้สินและคาใชจายแสดงจํานวนต่ําเกินไป แตไมไดหมายความวากิจการตั้งสํารอง ลบั หรือตัง้ คาเผ่อื หนี้ใหสงู เกินไปโดยเจตนา ซ่ึงจะสงผลตอความเปนกลางและความนา เชือ่ ถอื ของงบการเงนิ 12. ความครบถวน หมายถึง ขอ มลู ในงบการเงินจะตอ งครบถวนจึงจะทําใหง บการเงินมคี วามนาเชอื่ ถือได เนื่องจากการไม แสดงรายการในบางรายการอาจสงผลตองบการเงิน ทําใหขอมูลมีความผิดพลาดและทําใหผูใชงบการเงินมีความ เขาใจผิดและสง ผลตอการตดั สินใจที่ผิดพลาดดวย 13. การเปรียบเทียบกนั ได ผูใชงบการเงินตองสามารถเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการในรอบระยะเวลาท่ีตางกันได เพื่อ คาดคะเนแนวโนมของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการนั้น รวมถึงตองสามารถเปรียบเทียบงบ การเงินระหวางกิจการไดดังนั้นงบการเงินจึงควรแสดงขอมูลของรอบระยะเวลาที่ผามาเพ่ือประโยชนในการ เปรียบเทียบ หรืออาจกลาวไดวาการเปรียบเทียบกันไดเปนลักษณะเชิงคุณภาพที่เก่ียวของกับการตัดสินใจและ ความเช่ือถือได 14. ขอจาํ กัดของขอ มูลท่ีมีความเก่ยี วของกบั การตัดสนิ ใจและความเชอื่ ถอื ทันตอเวลา ยอมแนนอนวากิจการยอมตองการขอมูลที่มีความนาเช่ือถือเพ่ือใชในการตัดสินใจ แตบางคร้ัง การ รวบรวมรายการและรายงานขอมูลอาจลาชา ทําใหขอมูลท่ีไดมาไรประโยชนเน่ืองจากไมทันตอความตองการใช งาน ดังน้ันจงึ ตองพิจารณาความตอ งการของผใู ชง บการเงินเชงิ เศรษฐกิจเปน หลัก 15. ความสมดุลระหวางประโยชนทีไ่ ดร บั กับตนทุนทเ่ี สยี ไป ปกติแลวประโยชนที่ไดรับจากขอมูลควรมีมากกวาตนทุนในการจัดหาขอมูล ซ่ึงจัดเปนลักษณะเชิง คุณภาพที่จําเปนตองใชดุลพินิจเปนหลัก ในการประเมินประโยชนและตนทุนโดยประโยชนของขอมูลน้ันอาจมี แกบ คุ คลอ่ืนนอกเหนอื จากกิจการกไ็ ด

ข. - 6 16. ความสมดลุ ของลกั ษณะเชิงคุณภาพ ผูจัดทํางบการเงินจําเปนตองหาความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพตางๆ เพื่อใหงบการเงินบรรลุ วัตถุประสงค ซ่ึงจะมีความแตกตางกันออกไปในแตละกรณี จึงจําเปนท่ีผูจัดทํางบการเงินตองใชดุลพินิจในการ ตดั สนิ ใจเลือกความสมดลุ ดังกลาว 17. การแสดงขอมลู ทถี่ กู ตอ งตามควร แมบทการบัญชีสาํ หรับการจัดทาํ และนาํ เสนองบการเงิน วัตถุประสงค ลักษณะของงบการเงิน ใหข อ มลู ทเ่ี ปน ประโยชนต อ การตัดสนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ขอ สมมุติ เกณฑค งคา ง การดาํ เนินงานอยางตอ เนอ่ื ง ขอจํากดั ทนั ตอเวลา ความสมดลุ ระหวางประโยชนท ไี่ ดร ับ ความสมดลุ ของ กับตน ทุนท่เี สยี ไป ลกั ษณะเชิงคุณภาพ ลักษณะเชงิ คุณภาพ ถูกตอ งและยตุ ธิ รรมทถ่ี กู ตอ งตามควร ลกั ษณะแรก เขาใจได เก่ียวของกบั การตดั สินใจ เช่อื ถอื ได เปรยี บเทียบได ลกั ษณะรอง นัยสาํ คญั ตัวแทนอันเทยี่ งธรรม เนอ้ื หาสําคญั กวา รปู แบบ ความเปนกลาง ความระมดั ระวัง ความครบถว น

ข. - 7 เรือ่ งท่ี 3. ผูใชป ระโยชนจ ากการบัญชี การบญั ชีมไิ ดหมายถึงการสรุปคาใชจ ายและการรบั รองของกิจการเทาน้นั ในความเปน จริงขอมูลทางการ บัญชมี ปี ระโยชนต อ ท้ังผทู อ่ี ยภู ายในกจิ การและอยูภ ายนอกกิจการซ่ึงผูใชประโยชนภายในกิจการจะสามารถอาศัย ขอมูลทางการบัญชีจาก “ การบัญชีการเงิน ” ดังน้ันจะเห็นวาการพิจารณาตามผูใชประโยชนจากการบัญชี จะ สามารถแบง ประเภทของการบญั ชไี ด 2 ประเภท ดังกลาวขางตน และในแตละประเภทมผี ูใ ชประโยชนด งั นี้ 1. ผูใชประโยชนจากการบญั ชีบรหิ าร (บคุ คลภายในกจิ การ) การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting) เปนสาขาหน่ึงของการบัญชีท่ีเนนในเรื่องการรวบรวม ขอมูล เพ่ือใหฝายจัดการนําไปใชในการแกไขปญหาตางๆ เก่ียวกับการบริหารงานของกิจการรวมไปถึงการ เปรียบเทียบเพื่อแสดงใหเห็นความแตกตางระหวางผลท่ีเกิดขึ้นจริงและการประมาณการ ดังนั้นจึงเก่ียวของกับ บุคคลภายในระดับบริหารจัดการ เชน ผูจัดการฝายตางๆ และผูบริหารฝายระดับสูงของกิจการ เพ่ือนําขอมูลที่ ไดไ ปใชป ระโยชนด ังนี้ 1.1 เพื่อการตัดสินใจทางการเงิน ผูบริหารจะใชขอมูลทางการบัญชีท่ีมีอยูพิจารณาเกี่ยวกับการจัดหา แหลงเงินทุนมาสนับสนุนการดําเนินงานของกิจการใหเกิดความของตัว เพื่อใหเกิดประโยชนใน การบริหารสินทรพั ย โดยอาศัยขอมลู ทางการบญั ชีเปน พน้ื ฐานในการวเิ คราะหเ พ่อื การตัดสนิ ใจ 1.2 เพ่ือประโยชนในการจัดสรรทรัพยากรขององคการผูบริหารจะอาศัยขอมูลทางการบัญชีที่มีอยูใน การจดั สรรเงินทุน เพอื่ ใหเกดิ ประโยชนจากเงนิ ลงทุนท่ไี ดรับทมี่ ากท่ีสุด 1.3 เพื่อประโยชนการจัดสินใจเพื่อผลิตสินคา ผูบริหารจะนําขอมูลเกี่ยวกับยอดขาย ตนทุนการขาย และกําไรข้นั ตน ในแตละผลิตภัณฑ ไปใชใ นการวเิ คราะหเพื่อตดั สนิ ใจผลิตตอ 1.4 เพ่ือประโยชนใ นการตดั สินใจดานการตลาด โดยผูบริหารจะนาํ ขอมูลทางการบัญชีไปพิจารณาเพ่ือ ประกอบการต้ังราคาขายและนโยบายการสง เสรมิ การขายในสนิ คาแตล ะประเภท 2. ผใู ชป ระโยชนจ ากการบญั ชีการเงนิ (บคุ คลภายนอกกิจการ) บัญชีการเงิน (Financial Accounting) เปนสาขาหนง่ึ ของการบัญชีท่ีเนนในเรื่องการรายงานเก่ียวกับ ผลดําเนินงาน ฐานะการเงิน และการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินของกิจการ ดังนั้นผูใชประโยชนจาการบัญชี การเงินประกอบดว ย 2.1 เจาของหรือผูถือหุนในกิจการ จะพิจารณาขอมูลเหลาน้ีเพ่ือทราบถึงความกาวหนาของกิจการ ฐานะทางการเงิน ซ่ึงจะทําใหทราบถงึ ผลตอบแทนทจี่ ะไดร ับ 2.2 เจาหนี้ทางการคาและผูใหกูยืม จะขอมูลจากบัญชีการเงินเพื่อประกอบการพิจารณาการใหสินเช่ือ การตดิ ตามทวงถามลกู หนแ้ี ละใชประกอบพจิ ารณาความสามารถในการชาํ ระหนข้ี องลูกหนี้ 2.3 นักลงทุน ขอมูลทางการบัญชีจะชวยเพื่อความมั่นใจใหกับผูลงทุน โดยพิจารณาจากฐานะทาง การเงนิ และผลการดาํ เนินงานของกิจการ 2.4 หนวยงานรัฐบาล เชนกรมสรรพากร จะใชขอมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการพิจารณาวางแผน กําหนดนโยบายการจดั เก็บภาษี เปน ตน 2.5 บุคคลท่ัวไป เชน พนักงานหรือลูกคาของกิจการ กลุมบุคคลทั่วไปมักจะใชขอมูลทางการบัญชี เพื่อประเมินความสามารถของกิจการในการจายคาตอบแทน บําเหน็จ บํานาญและโอกาสในการ จางงาน ในขณะที่ลูกคาตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อเพ่ิมความม่ันใจเกี่ยวกับความม่ันคง ของกจิ การ เปน ตน

ข. - 8 เรอื่ งที่ 4. งบการเงนิ (Financial Statement) งบการเงิน คือ งบที่กิจการจัดทําข้ึนมาเพ่ือแสดงผลการดําเนินงานจองกิจการ ตลอดจนฐานะของ กิจการในวนั ใดวันหนึง่ ดงั นั้นงบการเงนิ คือผลติ ผลของงานบญั ชี โดยปกติแลวงบการเงนิ แบงเปน 1. งบดลุ 2. งบกาํ ไรขาดทนุ 3. งบกาํ ไรสะสม 4. งบแสดงการเปล่ียนแปลงฐานะการเงนิ ในประเทศไทยสวนใหญงบการเงินท่ีจัดทําข้ึนจะประกอบดวยงบดุลและงบกําไรขาดทุนเทาน้ัน โดย กิจการจะจัดทํางบการเงินขึ้นมาตามงวดบัญชี (Accounting Period) ที่กําหนดข้ึน ซ่ึงในการจัดทํางบการเงินจะ สามรถจัดทําได 2 รูปแบบ คือ รายงาน(Report Form) และแบบบญั ชี/แบบตัวที (Account Form) โดยแบบรายงาน งบการเงินจะแสดงรายการเรียงตอกันไปเปนลําดับ สําหรับตัว T นั้นจะแสดง รายการออกเปน 2 ดาน โดยงบกําไรขาดทุนคาใชจายจะอยูดานซาย รายไดจะอยูดานขวา สวนผลตางท่ีเกิดข้ึน หากเปนกําไรผลตางนั้นจะอยูดายซาย หากขาดทุนผลตางจะอยูดานขวา สําหรับงบดุลสินทรัพยจะอยูดานซาย หน้ีสินและสวนของเจาของจะอยูดานขวา ท้ังงบกําไรขาดทุนและงบดุลยอดรวมทั้งสองขางจะตองเทากัน ซ่ึงจะ สามารถแสดงรายละเอยี ดสว นประกอบของงบการเงินแตล ะประเภทไดดงั ตอ ไปน้ี 1. งบกาํ ไรขาดทุน (Income Statement) คือ งบที่แสดงผลการดําเนินงานของกิจการ ณ งวดบัญชีหนึ่งๆ วากิจการมีรายไดและคาใชจายเทาไร ถามีรายไดมากวาคาใชจาย ผลตางที่ไดคือกําไร ในทางตรงกันขามถาคาใชจายมากกวารายได ผลตางที่ไดคือ ขาดทุน สว นประกอบที่มีในงบกาํ ไรขาดทุน ประกอบดว ย งวดบัญชี รายได และคา ใชจาย 1.1 งวดบญั ชี (Accounting Period) คือ ระยะเวลาในการแบงหาผลการดําเนินงานทางการบัญชีออกเปนงวดๆ งวดละเทาๆ กัน งวดบัญชี แตละกิจการจะกําหนดระยะเวลาเทาใดก็ได แลวแตละฝายจะเห็นสมควรซึ่งโดยมากจะกําหนดตามปปฏิทิน (Calendar Year) และมีรอบระยะเวลา 1 ป คือ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ในปเดียวกัน หรือกิจการอาจ กําหนดงวดบัญชีไดเปนงวด ๆ เชน งวด 1 เดือน งวด 3 เดือน (รายไตรมาตร) หรือ งวด 6 เดือน ก็ได นอกจากนี้ในการกําหนดงวดบัญชีอาจกําหนดตามรายปการเงิน (Fiscal Year ) ซึ่งหมายถึงงวดบัญชีที่มี ระยะเวลา 12 เดือน แตโ ดยเร่ิมตนและสิน้ สดุ เม่อื ใดกไ็ ดแตระยะเวลาตองครบ 12 เดือน 1.2 รายได (Revenue) หมายถึงผลตอบแทนที่ธุรกิจไดรับจากการขายสินคาและบริการใหกับลูกคา ซ่ึงคํานวณเงินไดเปน จํานวนเงินที่แนนอนจากลูกคา และรวมถึงผลกําไรท่ีไดจากการขายแลกเปล่ียนสินทรัพย ดอกเบ้ียท่ีไดรับจาก การกยู มื เงนิ ปนผลจากการลงทุนซื้อหนุ ในกิจการอื่น ซึ่งสามารถแบงรายได ดงั น้ี - รายไดทางตรง (Direct Revenue) หรือรายไดจากการดําเนินงาน (Operating Revenue) คือรายไดที่ เกิดข้ึนตามวิถีทางการคาโดยปกติของกิจการ เชน ธุรกิจท่ีซ้ือสินคามาขายตอ รายไดโดยตรง คือรายไดจาการ ขายสินคา ธุรกจิ ใหสินเช่ือ รายไดโดยตรงคอื ดอกเบี้ย เปน ตน - รายไดอ่ืน (Other Revenue) คือ รายไดท่ีมิไดเกิดขึ้นตามวิถีทางการคาโดยปกติของกิจการ เชน กาํ ไรจากการขายสินทรัพยท กี่ ิจการไมต อ งการใชแ ลว เปน ตน

ข. - 9 มีขอพึงสังเกตวาเงินสดท่ีกิจการรับมาไมใชรายไดท้ังหมด เนื่องจากเงินสดท่ีรับเขามาในกิจการในแต ละวันอาจมีเงินรับจากการขายสินคาหรือบริการ เงินสดรับจากลูกหน้ีการคา หรือเงินสดรับจากการกูยืม เงินสด รับท่ีถือวาเปนรายไดของกิจการจะหมายถึง เงินสดรับที่เกิดจาการขายสินคาหรือบริการเทาน้ัน หากกิจการไดมี การขายสินคาหรือบริการไปแลวแตยังเก็บเงินไมได ยังถือวาเปนรายไดประจํางวดเนื่องจากนักบัญชีจะตอง บันทกึ รายไดและคา ใชจ ายตามหลกั เงินคงคาง ในธุรกิจหน่ึงๆ อาจมีการจัดทําบัญชีรายไดแยกออกเปนหลายๆ บัญชีก็ได ทั้งน้ีแลวแตความประสงค ของกจิ การเชน บัญชีขาย (Sales Account) ใชบันทึกรายการที่เกิดข้ึนจากการขายสินคา โดยกิจการที่ขายสินคา เมื่อมี การนําสินคาสง ใหลกู คาและลูกคาไดลงนามในใบสง ของแลว ถอื วาเกิดรายไดจากการขายแลว บัญชีรายไดจากการใหบริการ (Service Revenue Account ) เชน ธุรกิจรับสงสินคา มีรายไดคือ คา บริการจากการขนสง สินคา บัญชีดอกเบี้ยรับ (Interest Earned Account) สําหรับบันทึกรายการรายไดท่ีเกิดจาการใหกูยืมเงิน ไดแ กสถาบนั การเงินตา ง ๆ หรอื ดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากการฝากเงินประเภทตา ง ๆ นน่ั เอง บัญชีรายไดคาธรรมเนียม (Fee Earned Account) สําหรับบันทึกรายการรายไดของผูประกอบอาชีพ อสิ ระ เชน แพทย ทนายความ ผูสอบบญั ชี และสาํ นักงานท่ีปรกึ ษา เปน ตน 1.3 คาใชจ า ย (Expense) คือ ตนทุนสินคาหรือบริการที่กิจการไดจายไปเพื่อกอใหเกิดรายได ตนทุนในที่นี้ หมายถึง ตนทุนที่ ตองจายไปเปนคาสินคาหรือบริการ บวกดวยคาใชจายตางๆ ที่ทําใหสินทรัพยหรือบริการอยูในลักษณะท่ี สมบูรณพรอมขายหรือใชประโยชนได คาใชจายสวนใหญจะอยูในรูปของเงินสด แตมีคาใชจายบางประเภทไม อยูใ นรปู ของเงนิ สด เชน คา เสื่อมราคาสนิ ทรพั ย พึงระวงั วาการจายเงินสดในบางคร้ังไมจําเปนตองเปนคาใชจาย เชน การจายเงินสดเพื่อชําระหน้ีทางการคา ซ่งึ สามารถแบง ประเภทของคา ใชจ า ยสาํ หรับกจิ การซื้อสินคา ไดดังนี้ • ตนทุนขาย (Cost of Sales) หมายถึง ตนทุนของสินคาหรือบริการที่ขาย ซึ่งรวมราคาสินคาที่ซ้ือ และคา ใชจ ายเก่ียวกับการซอ้ื และการผลติ ท่ีจาํ เปน เพอ่ื ทาํ ใหส ินคา อยูในสภาพทพ่ี รอ มขาย ดังนนั้ ตน ทนุ ขาย = สินคาสาํ เรจ็ รูปตน งวด + ซอื้ สทุ ธิ – สินคาสาํ เรจ็ รูปปลายงวด • คาใชจายเกี่ยวกับการขาย (Selling Expenses) หมายถึง คาใชจายท่ีเกิดจากการขายสินคาหรือ บรกิ ารโดยตรง เชน เงินเดือนพนักงานขาย คาโฆษณา คาขนสง เปนตน • คาใชจายเกี่ยวกับการบริหาร (Administrative Expenses ) คาใชจายที่เกิดข้ึนจากการบริหารงาน อันเปนสวนรวมของกิจการน้ัน เชน เงินเดือนเจาหนาท่ีฝายบริหาร คาเชาอาคารสถานท่ี คาใชจาย ในสาํ นักงาน เปน ตน • คาใชจายอื่นๆ (Other Expenses ) หมายถึง คาใชจายที่ไมไดเกิดจากการคาโดยปกติของกิจการ เชน ดอกเบ้ยี จา ย เปนตน • ภาษีเงินได ( Income Tax ) หมายถึง ภาษีเงินไดนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ซ่ึงจะแสดงใน รายการคาที่คํานวณจากกําไรสุทธิกอนหักภาษีเงินได หลังจากกิจการหักภาษีเงินไดแลวสวนท่ี เหลอื คอื กําไรหลังหักภาษีเงินไดข องกจิ การ

ข. - 10 • กําไรกอนรายการพเิ ศษ ในภาวะปกติกําไรกอนรายการพิเศษก็คือ กําไรสุทธิน่ันเองแตบางครั้งการ ดําเนินงานของกิจการอาจเกิดภาวการณบางอยางที่สงผลตอการดําเนินงานของกิจการทําใหกิจการ ตองมกี ารแสดงรายการเหลา น้ีตอ จากกาํ ไรกอนรายการพิเศษ • รายการพิเศษ หมายถึง รายไดหรอื คาใชจ า ยท่ีมีลักษณะดังน้ีคือ มิไดเกิดขึ้นจาการดําเนินงานปกติ ของกิจการและไมสามารถคาดการณไดวาจะเกิดข้ึนบอยหรือเปนประจําหรือไม เชน ขาดทุนจาก ไฟไหม นํ้าทวม หรือภัยธรรมชาติอยางอ่ืน กําไรหรือขาดทุนจาการขายโรงงาน (เนื่องจากเลิก ผลิต/หยุดดําเนินการ) กําไรจาการขายเงินลงทุนในกิจการอ่ืนท่ีมิไดมีวัตถุประสงคในการจัดการ เพื่อจําหนายตอ สินทรัพยท่ีถูกเวนคืน/ถูกยึด การลดคาของเงินตราตางประเทศท่ีไมได เปล่ียนแปลงในอัตราปกติ หรือการตัดบัญชีคาความนิยม และสินทรัพยไมมีตัวตนอื่นที่มิใช เหตกุ ารณปกติในงวดบญั ชีนน้ั เปน ตน ตวั อยาง งบกําไรขาดทุน (แบบรายงาน ) บริษัท บัว จํากัด งบกําไรขาดทุน สาํ หรับสินป สิ้นสดุ เพียงวนั ที่ 31 ธนั วาคม 25xx รายได 1,108,000 หนว ย : บาท รายไดจาการขาย 12,000 1,120,000 รายไดอ นื่ คา ใชจ าย 620,000 977,000 ตน ทุนขาย 204,000 143,000 คา ใชจ ายในการขายและบริหาร 36,000 117,000 ดอกเบ้ยี จาย ภาษเี งนิ ได กําไรสทุ ธิ

ข. - 11 2. งบกําไรสะสม ( Statement Of Retained Earnings ) เปนงบการเงนิ ทแี่ สดงการเปล่ียนแปลงกําไรของบริษัท ระหวางตนงวดบัญชีถึงวันสินงวดบัญชีวากําไร สะสมท่ีเปล่ียนแปลงนั้นมาจากสาเหตุใด รายการหลักซึ่งกระทบกําไรสะสม ไดแก กําไรขาดทุนท่ีเกิดขึ้นใน ระหวา งงวดบญั ชี เงินสํารองและเงินปนผลจายท่ีประกาศจายใหกับผูถือหุนของกิจการ เปนตน งบกําไรสะสมท่ี เปนตัวเชื่อมระหวางงบกําไรขาดทุนกับงบดุล เนื่องจากสวนของผูถือหุนที่ปรากฏในงบดุลจะประกอบดวยทุน และกาํ ไรสะสม ตวั อยาง งบกาํ ไรสะสม (แบบรายงาน) บริษัท บัว จํากัด งบกาํ ไรสะสม สาํ หรบั ป สิน้ สุดเพียงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25xx กําไรสะสม 1 มกราคม 25xx หนวย : บาท บวก กําไรสทุ ธปิ ระจําป 266,500 143,000 หัก สํารองตามกฎหมาย 7,200 409,000 เงินปน ผลจาย 100,000 (107,000) 302,300 กําไรสะสม 31 ธันวาคม 25xx 3. งบดลุ (Balance Sheet ) คอื งบท่แี สดงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหน่ึงวากิจการมีสินทรัพย หนี้สินและทุนเทากับ เทาไร ขอมูลที่ปรากฏในงบดุลเม่ือนํามาวิเคราะหงบการเงินจะช้ีใหเห็นสภาพคลองของกิจการไดซึ่งสามารถ อธิบายในแตละองคประกอบสาํ คัญไดดังนี้ 3.1 สินทรพั ย ( Assets ) คือ สิ่งท่ีมีตัวตนหรือไมมีตัวตน มีมูลคาวัดเปนเงินได ซ่ึงบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลเปนเจาของ และแสดงถึงการมีกรรมสทิ ธิใ์ นสินทรพั ยน น้ั ซ่งึ เปนไปไดทั้งอสังหาริมทรัพย สังหาริมทรัพยและสินทรัพยที่ไม มีตัวตน ไดแก เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ คาใชจายลวงหนา ท่ีดิน อาคาร สิทธบิ ตั ร เปน ตน สินทรัพยทางบัญชีแบงเปน 5 ประเภทใหญๆ คือ สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาว ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ สินทรพั ยอนื่ ๆ และสนิ ทรพั ยไมม ีตวั ตน ดังรายละเอียดดงั นี้ • สินทรพั ยห มุนเวียน (Current Assets ) คือ สินทรัพยที่เปล่ียนเปนเงินสดไดงาย หรือหมุนเวียนจากกิจการหน่ึงไปเปนของอีกกิจการหน่ึง ซึ่ง อาจกระทําไดโดยการซื้อขายแลกเปลี่ยนหรือใชหมดไปในระยะเวลาหน่ึง หรือในรอบระยะเวลาการดําเนินงาน ตามปกติของกิจการ ไดแก เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินลงทุนระยะส้ันหรือหลักทรัพยตามความตองการของ ตลาด เงนิ ลงทุนชว่ั คราว ตัว๋ เงนิ ลูกหนี้ สนิ คาคงเหลือ รายไดคางรบั และรายจายลวงหนา เปนตน

ข. - 12 - เงินสดและเงินฝากธนาคาร คือ ธนบัตรและเหรยี ญกษาปณทีก่ ิจการมีอยู เช็คที่ยังไมไดนําไปฝาก ธนาคาร เช็คเดินทาง ดราฟท ธนาณตั ิ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท - หลักทรัพยตามความตองการของตลาด คือ หลักทรัพยท่ีกิจการซื้อไวโดยหวังดอกผลจากเงิน ลงทุน หรือหากําไรเมื่อหลักทรัพยน้ันราคาเพิ่มข้ึน และกิจการตองการเงินสดอาจนําหลักทรัพยนั้นไปขาย ณ ตลาดหลักทรัพย ดังน้ันเงินลงทุนประเภทน้ีตองเปนหลักทรัพยท่ีอยูในความตองการของตลาด เชน หุนของ บริษทั ตางๆ หรอื หนุ กู จึงอาจเรียกเงินลงทุนประเภทนีไ้ ดออี ยา งหนึ่งวาเงนิ ลงทุนระยะสั้น - ลูกหน้ีการคาและตั๋วเงินรับ ลูกหน้ีการคา คือ ลูกคาที่ซ้ือสินคาไปจากกิจการแลวยังไมไดชําระเงิน ต๋ัวเงินรับเกิดจากลูกคาท่ีซื้อสินคาจากกิจการไป และมีการรับรองต๋ัวเงินเปนการคํ้าประกันหน้ี ทั้งลูกหนี้การคา และตั๋วเงินรับมีการกําหนดชําระไมเกิน 1 ป การแสดงรายการลูกหน้ีและต๋ัวเงินรับ ในงบดุลจะแสดงเปน 2 รายการคอื ลูกหนก้ี ารคาและต๋ัวเงินรบั - หนี้สงสัยจะสญู คือ การต้ังสํารองรายการไวสําหรับหนี้ที่คาดวาจะเก็บเงินไมไดหรือคาดวาจะสูญ จึงตองสาํ รองไว โดยนาํ มาหกั จากลกู หนก้ี ารคา ในงบดลุ - เงินที่ใหกูยืมแกบริษัทในเครือและบริษัทรวม หมายถึง การที่กิจการนําเงินไปใหบริษัทในเครือ กยู ืมโดยคดิ ดอกเบ้ียทบตน โดยมกี ารกําหนดการชําระเงนิ ภายใน 1 ป - สินคาคงเหลือ คือ สินคาสําเร็จรูปที่มีไวเพื่อใชในกิจการหรือซ้ือมาไวเพ่ือขาย และมีอยูในวันปด บัญชีของกิจการ หากเปนกิจการท่ีผลิตสินคาเอง สินคาคงเหลือจะประกอบดวยงานระหวางทําคงเหลือและ วัตถุดบิ คงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น คือ สินทรัพยอ่ืนๆ นอกเหนือจากรายการขางตน เชน คาใชจายจาย ลวงหนา รายไดคา งรับ เปนตน - ลูกหน้ีและเงินใหกูแกกรรมการและลูกจางบริษัท รวมทั้งหน้ีสินท่ีกรรมการและลูกจางมีตอ กิจการ โดยเกิดจากการซื้อสินคาไปจากกิจการ เงินใหกูยืมน้ีไมรวมถึงเงินที่กิจการจายลวงหนาเพ่ือดําเนินธุรกิจ ปกติและการใหกูเปนสวัสดิการ ควรแยกตางหากอีกรายการหนึ่งในงบดุล และแสดงแยกตางหากจากสินทรัพย หมนุ เวียน • เงนิ ลงทุนระยะยาว ( Long-Term Investments) คือ เงินทก่ี ิจการนําไปลงทุน เพอื่ หาประโยชนใหแกกิจการในระยะเวลาเกินกวา 1 ป ไดแก เงินลงทุน ที่ซ้ือหุนในบริษัทตางๆ พันธบัตรรัฐบาลกําหนดไถถอนเกินกวา 1 ป ท่ีดินท่ีซ้ือไวเพื่อขยายกิจการในอนาคต สรางอาคารใหเชา เงินกูยืมกําหนดไถถอนเกินกวา 1 ป เงินกันไวเพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึงโดยเฉพาะ เงินลงทุนในเครือหรือบริษัทรวมและบริษัทอื่น ต๋ัวเงินรับท่ีบริษัทนําไปรวมลงทุนกับบริษัทในเครือหรือบริษัท อ่นื โดยการซอื้ หนุ ของบรษิ ัทเหลา น้นั แสดงอยู • ทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ (Property-Plant and Equipment/Fixed Assets) คือ ที่ดินที่กิจการซ้ือมาสรางอาคารท่ีทําการโดยปจจุบันของกิจการในปจจุบัน อาคารที่กิจการสราง เสร็จแลวเปดใชเปนท่ีทําการ สิ่งปลูกสราง เครื่องจักร เคร่ืองตกแตง อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ เครื่องมือ ตางๆ และสิทธิการเชาอสังหาริมทรัพย ซ่ึงมีไวใชเพ่ือเปนสถานท่ีสําหรับประกอบธุรกิจหรือท่ีพักหรือ สวัสดิการสงเคราะหข องพนักงานและลูกจางของกิจการ สินทรัพยดังกลาวยกเวนที่ดิน และสิทธิการเชาระยะยาว แสดงยอดเตม็ หักดวยคา เสื่อมราคาสะสม และสิทธกิ ารเชาตดั บัญชเี ปนคา ใชจายแลว

ข. - 13 • สินทรัพยอ ื่น คือ สินทรัพยรอการตัดบัญชี เชน คาใชจายในการจัดต้ังบริษัทและสินทรัพยอ่ืนที่ไมแสดงอยูใน สินทรัพยท่ีกลาวมาตั้งแตตน สําหรับสินทรัพยไมมีตัวตน หรือสินทรัพยท่ีไมอาจเห็นดวยตาเปลาแตสามารถวัด คาเปนเงินได และใหประโยชนแกการดําเนินงานของกิจการ เชน คานิยม คาสิทธิบัตร ลิขสิทธ์ิ และ เครื่องหมายการคา สินทรพั ยไมมีตวั ตนบางกจิ การอาจนําไปแสดงภายใตหวั เรอื่ ง “ สินทรพั ยอนื่ ” ได • สินทรพั ยไมมีตัวตน คือ สินทรัพยท่ีไมอาจมองเห็นไดดวยตาเปลาแตสามารถวัดคาเปนเงินได และใหประโยชนแกการ ดาํ เนนิ งานของกิจการ เชน คานิยม สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการคา สินทรัพยไมมีตัวตน บางกิจการอาจ นาํ ไปแสดงภายใตห วั เร่อื ง “ สินทรพั ย ” ได 3.2 หนส้ี ิน (Liabilities) คือ สิทธิเรียกรองท่ีบุคคลภายนอกท่ีเปนเจาหนี้มีตอกิจการ หน้ีสินเปนพันธะท่ีกิจการจะตองชดใช ใหแกบุคคลท่ีเปนเจาหน้ี เมื่อหนี้นั้นถึงกําหนดที่จะตองชดใชตามสัญญาที่ไดกระทําตอกัน หนี้สินทางการบัญชี แบง เปน 3 ประเภท คอื 1. หน้ีสนิ หมุนเวยี น ( หน้ีสนิ ระยะส้นั ) 2. หนี้สินระยะยาว 3. หน้หี นส้ี นิ อ่ืน ดงั รายละเอยี ดตอ ไปน้ี • หนสี้ นิ หมนุ เวยี น (Current Liabilities) คือ หน้ีสินท่ีถึงกําหนดชดใชภายในระยะเวลาอันส้ัน ไดแก เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมจากธนาคาร เจาหน้ีการคา เจาหน้ีเงินกูท่ีมีเง่ือนไขคืนภายใน 1 ป ต๋ัวเงินจาย คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนา เปนตน ดงั รายละเอยี ดตอไปน้ี - เงินเบิกเกินบัญชีและเงนิ กยู ืมจาธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี เปนเงินท่ีกิจการเปนหนี้ธนาคารโดยมีขอตกลงกับธนาคารขอเบิกเงินในบัญชี เดินสะพัด ( กระแสรายวัน ) ไดเกินกวาเงินที่มีอยูในบัญชีของกิจการ วงเงินเบิกเกินบัญชีจะเปนเงินเทาใดตอง เปนไปตามขอตกลงท่ีกิจการไดทําไวกับธนาคารวาจะเบิกเกินบัญชีไดเทาใดก็ตองเปนตามวงเงินนั้น อัตรา ดอกเบ้ียก็เปนไปตามขอตกลงเชนกัน ขอพึงระวังสําหรับผูรับผิดชอบ คือ อยาเบิกเกินจํานวนเงินที่ไดตกลงไว กบั ธนาคาร มิฉะน้ันอาจถกู ปรับในอัตราดอกเบี้ยท่ีสูงสงผลตอ การดาํ เนนิ งานของกจิ การได เงินกูยืมจากธนาคาร กิจการอาจขอกูเงินจากธนาคาร ซึ่งธนาคารอาจจะคิดดอกเบ้ียทุกวัน โดย กิจการจะตองชําระดอกเบี้ย ณ วันสิ้นเดือน การชําระดอกเบ้ียอาจชําระเปนเช็คหรือใหธนาคารหักจากบัญชี กระแสรายวนั ทก่ี จิ การมีอยูกับธนาคารกไ็ ด - เจาหน้ีการคา ( Account Payable ) คือ เจาหนี้อันเกิดจาการซ้ือสินคาหรือบริการโดยกิจการมี พนั ธะท่ีจะตอ งชดใชภ ายใน 1 ป - ต๋ัวเงินจาย (Notes Payable) คือ เอกสารท่ีกิจการออกใหเจาหน้ีอันเกิดจากการซื้อสินคาหรือ บริการ โดยรับรองตั๋วเงินใหเปนการรับประกันหนี้ เมื่อต๋ัวเงินถึงกําหนดกิจการจะตองจายเปนเงินตามท่ีเงื่อนไข ทกี่ ําหนดไวใ นหนาตั๋วเงนิ จา ยน้นั ๆ

ข. - 14 - หน้ีสินระยะยาวที่ตองจายภายใน 1 ป (Current Portion of Long-term Debt ) คือ สวนหน่ึง ของหนี้สนิ ระยะยาว ท่ถี งึ กําหนดในสญั ญาจะชําระคืนแกเจาหนใ้ี นรอบ 1 ปบัญชถี ดั ไป - เงนิ ปนผลคา งจาย ( Accrued Dividends) คือ เงินปนผลที่กิจการประกาศจายแลวแตยังจายเงินสด แกผ ูถือหนุ ไมครบตามจํานวนในวันปด บญั ชี ดังนน้ั กจิ การจึงตองตั้งเปน เงนิ ปน ผลคา งจา ยไวใ นงบการเงิน - เงินกูยืมจากบริษัทในเครือและบริษัทรวม (Loans from Subsidiaries and Associated Companies) คือ เงนิ ที่กจิ การขอ กเู งินจากบรษิ ัทในเครือหรอื บรษิ ัทรวมมาใชในการดาํ เนนิ ธุรกิจ - เจาหนี้และเงินกูยืมจากกรรมการและลูกจาง (Payable and Loans from Directory and Employees) และรวมท้ังนี้หนี้สินที่กิจการมีตอกรรมการและลูกจางไมวาจะเปนการซ้ือสินคา หรือการซื้อสินทรัพยจากบุคคล ดังกลา ว - เงินกูจากบริษัทในเครือและบริษัทรวม (Loan from Subsidiaries and Associated Companies ) คือ เงินท่ีกิจการไปกูจากบริษัทในเครือหรือบริษัทรวม เปนการกูระยะยาวมีกําหนดการคืนเงินกู กวา 1 ป ขน้ึ ไป แสดงในงบดลุ เปนหน้สี ินระยะยาว - เงินทุนเล้ียงชีพและบําเหน็จ ( Provident and Pension Fund ) คือเงินสะสมของลูกจางที่หักจาก เงินเดือนหรือคาจางแรงงาน และเงินที่กิจการจายสมทบใหอีกสวนหนึ่งตามโครงการสวัสดิการท่ีกิจการกําหนด ไว รวมทัง้ บําเหนจ็ ท่ีกจิ การตองจา ยใหพนักงานตามเงือ่ นไขเวลาท่ีกาํ หนดไว - หน้ีสินหมุนเวียนอื่น ( Other Current Liabilities ) คือ คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนาและ หนส้ี ินหมุนเวยี นอนื่ ๆ ทไ่ี มอ าจแสดงไดตามรายงานขน้ั ตน • หนสี้ ินระยะยาว ( Long-Term Liabilities ) คือ เงินที่กิจการทําการกูเงินจากสถาบันการเงินหรือจากบุคคลธรรมดา โดยสัญญากูยืมมีกําหนดเวลา ใชคืนเกินกวา 1 ป โดยไมรวมการกูยืมจากบริษัทในเครือและบริษัทรวมและเงินกูจากกรรมการและลูกจาง สามารถแบงหนส้ี ินระยะยาวออกเปน - หุนกู (Bond Payable ) เปนการจัดการหาเงินทุนอยางหนึ่งของกิจการจากบุคคลภายนอกเพื่อ นํามาใชขยายกิจการและดําเนินงาน โดยแบงจํานวนเงินท่ีตองการกูออกเปนหุนราคาแตละหุนเทากัน เรียกวา “หุนกู” ซ่ึงกิจการจะออกเปนหลักฐานการกูยืม และจะจายผลตอบแทนใหแกบุคคลภายนอกในรูปของดอกเบี้ย สวนใหญแ ลวหุนกูจะมกี ารกําหนดระยะเวลาในการไถถอนเกินกวา 1 ป ในระหวางที่หุนกูยังไมครบกําหนดการ ไถถอน ผูถือหุนมีฐานะเปนเจาหนี้ของกิจการและกิจการตองจายดอกเบี้ยใหตามที่กําหนดไว สําหรับในประเทศ ไทย กิจการทีจ่ ะออกหนุ กไู ดต อ งมีลกั ษณะเปนบริษัทมหาชนเทาน้นั - เงินกูระยะยาวโดยมีการจํานอง (Mortgage Payable ) เปนการกูยืมเงินจากบุคคลภายนอกหรือ สถาบันการเงิน โดยนําสินทรัพยของกิจการไปจํานองไวเปนหลักประกันหรือเพ่ือคํ้าประกันการกู โดยกิจการมี หนาท่ีตองจายเงินตนและดอกเบี้ยเมื่อครบกําหนดเวลา หากกิจการไมสามารถชําระเงินตนและดอกเบี้ยไดตาม กาํ หนด ผูร บั จาํ นองสามารถยึดหรอื นําสนิ ทรัพยทจ่ี าํ นองไวไปขายทอดตลาดได - เงินกูระยะยาวโดยไมมีการจํานอง ( Long-Term Loan ) เปนการกูยืมเงินจากบุคคลภายนอกหรือ สถาบนั การเงนิ โดยไมต องนําหลักทรพั ยมาค้ําประกันหรอื จาํ นอง ซึ่งมรี ะยะเวลาจา ยชาํ ระคนื เงนิ ตนเกนิ กวา 1 ป • หนี้สินอื่น คือ หน้ีสินท่ีไมอาจแสดงรวมในรายการขางตนได ดังน้ันจึงแสดงเปนยอดรวม และมี รายละเอยี ดประกอบงบดุลภายหลัง

ข. - 15 3.3 สวนของเจา ของ คือ สวนที่เปนของผูลงทุน หากกิจการเจาของคนเดียว สวนของเจาของคือสวนท่ีเปนสินทรัพยและ หนี้สินท่ีเจาของนํามาลงทุนในกิจการของตน เจาของกิจการอาจนําเฉพาะสินทรัพยมาลงทุนหรืออาจนําท้ัง สินทรัพยและหนี้สินมาลงทุนพรอมกันก็ได สําหรับหางหุนสวน สวนของผูเปนหุนสวน คือ สวนท่ีผูเปน หุนสวนนํามาลงทุน ซึ่งมักจะเปนเงินสดมากกวาสินทรัพยอื่น แตถาเปนบริษัทจํากัด สวนของเจาของเรียกวา “สวนของผูถือหนุ ” ซึ่งหมายถึง เงินทผ่ี ถู อื หุนนาํ มาลงทนุ โดยการซื้อหนุ • ทนุ เรอื นหนุ - ทุนจดทะเบียน ( Authorized Share Capital ) คือ จํานวนเงินทุนท่ีบริษัทไดนําไปจดทะเบียนไว กบั กรมทะเบียนการคา กระทรวงพาณชิ ยว า บรษิ ัทจะมี หนุ สามัญ หนุ บุรมิ สทิ ธิ จํานวนกี่หุน มูลคาหุนละเทาใด รวมเปนเงินทั้งสินเทาใด ภายหลังการจดทะเบียนทุนไวแลวหากตองการเพิ่มทุนก็สามรถทําได โดยไปทําการจด ทะเบียนเพิ่มทุนอีก - ทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ( Issued and Paid up Share Capital ) เมื่อบริษัทจดทะเบียนแลว ตองมีการแบงทนุ ออกเปน หนุ ๆ ละเทา ๆ กัน เพื่อจําหนา ยและเรยี กชาํ ระมูลคา หุน โดยแสดงหุนแตละชนิดแยก ออกจากกันใหชัดเจน ท้ังทุนหุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ ถากิจการจําหนายหุนไวโดยไมระบุวาเรียกเงินชําระ มูลคา หนุ ไดค รบแลว อาจเรยี กเงินครัง้ แรกไมค รบ 100% กไ็ ด แตตอ งไมต าํ่ กวา 25% ตามกฎหมายกําหนด - สวนเกินมลู คาหุน (Premium on Share Capital ) คือ เงินสวนท่ีจําหนายไดสูงกวามูลคาท่ีตรา ไวในใบหนุ ท้ังหุนสามัญและหนุ บุริมสิทธิ - กําไรสะสม ( Retained Earning ) คือสวนกําไรสุทธิท่ีกิจการไดสะสมไวต้ังแตเริ่มดําเนินกิจการ จนถึงปจจบุ นั เมือ่ นํากําไรสทุ ธงิ วดน้ีมาบวกแลว สามารถนําไปจัดสรรได เชน สํารองตามกฎหมาย สํารองเพ่ือ ขยายกิจการ สํารองเพื่อสง ชดใชห นุ กู หรือสาํ รองเพ่ือรักษาระดับเงินปนผล เปน ตน ตวั อยาง งบดุล ( รายงาน ) บรษิ ทั บวั จํากัด งบดลุ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25xx สินทรัพย 5,000 120,000 หนวย : บาท 200,000 657,000 สนิ ทรพั ยห มุนเวยี น 150,000 เงินสดและเงินฝากธนาคาร 145,000 เงินทนุ ระยะส้นั 190,000 ลกู หนี้การคา หกั คา เผ่อื หนีส้ งสยั จะสูญ 2,000 สนิ คาคงเหลือ คาเบ้ียประกันภัยจา ยลวงหนา รวมสินทรัพยหมุนเวียน

ทดี่ ิน อาคาร และอุปกรณ ข. - 16 ท่ีดิน 400,000 1,020,000 580,000 80,000 อาคาร 700,000 40,000 1,757,000 หกั คา เส่ือมราคาสะสม 120,000 50,000 2,100 73,500 อปุ กรณสาํ นักงาน 220,000 21,400 300,000 หัก คา เสอื่ มราคาสะสม 180,000 1,000,000 1,383,500 1,000,000 1,757,000 รวมท่ดี ิน อาคาร และอปุ กรณ 383,500 สนิ ทรัพยอน่ื ๆ คา ใชจ า ยลวงหนาระยะยาว รวมสินทรพั ยทง้ั หมด หนีส้ นิ และสว นของผูถือหนุ หนสี้ ินหมุนเวียน เจา หน้กี ารคา คาภาษเี งนิ ไดคางจาย เงินปน ผลคา งจาย รวมหนสี้ ินหมุนเวียน เงินกยู ืมระยะยาว เงนิ กูดอกเบย้ี 12% ครบกําหนดชําระป 25xx สวนของผถู อื หุน ทุนเรือนหนุ ทนุ จดทะเบียน หุนสามัญ 10,000 หนุ ๆ ละ 100 บาท ทนุ ทอี่ อกและเรียกชาํ ระแลว หุน สามญั 10,000 หนุ ๆ ละ 100 บาท กาํ ไรสะสม จดั สรรแลว สาํ รองตามกฎหมาย 81,200 ยงั ไมไดจ ดั สรร 302,300 รวมหนส้ี นิ ของผถู อื หนุ

ข. - 17 ความสมั พนั ธข องงบกําไรขาดทุน งบกําไรสะสมและงบดลุ จากงบการเงินท้ัง 3 ประเภทขางตน จะเห็นไดวางบการเงินท้ัง 3 แบบมีความสัมพันธกันหากผูใชงบ การเงินตองการทราบถึงผลการดําเนินงานที่ผานมาของกิจการ จะพิจารณาจากงบกําไรขาดทุน แตถาตองการ ทราบฐานะทางการเงินของกจิ การ ณ วันใดวันหน่ึงจะพิจารณาไดจากงบดุลสวนงบกําไรสะสมจะเปนตัวบอกถึง กําไรทั้งหมดของกิจการ ซง่ึ งบกําไรสะสมจะเปนตัวเช่ือมโยงระหวา งงบกําไรขาดทุนและงบดุลเขาดวยกนั รายกการยอ ของงบดลุ สินทรพั ย 1. สินทรพั ยห มนุ เวียน 1.1 เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร 1.2 เงินลงทุนระยะสั้น 1.3 ลูกหนี้การคา และต๋ัวเงินรบั หกั หนส้ี งสัยจะสญู ลูกหน้ีการคาและต๋ัวเงินรับสทุ ธิ 1.4 เงนิ ใหกยู มื แกบ ริษัทในเครอื และบรษิ ทั รว ม 1.5 สนิ คาคงเหลอื 1.6 สนิ ทรัพยหมุนเวียนอนื่ รวมสินทรพั ยห มนุ เวยี นอ่ืน 2. ลกู หน้ีและเงินใหก ูยมื แกกรรมการและลกู จาง 3. เงนิ ลงทนุ และเงินใหกูยืมแกบ ริษทั ในเครือ บริษทั รวมและบรษิ ัทอ่ืน 4. ท่ดี ิน อาคาร และอปุ กรณ 5. สินทรัพยอื่น รวมสนิ ทรพั ย หนี้สนิ และสว นของผถู ือหนุ 1. หนสี้ ินหมนุ เวียน 1.1 เงินเบิกเกินบญั ชีและเงินกยู มื จากธนาคาร 1.2 เจาหน้ีการคา 1.3 เงนิ ปนผลคางจา ย 1.4 สวนของหนส้ี ินระยะยาวทก่ี ําหนดชําระภายใน 1 ป 1.5 เงนิ กยู มื จากบรษิ ัทในเครอื และบริษัทรวม 1.6 หน้สี ินหมุนเวยี นอืน่ รวมหนีส้ ินหมุนเวยี น 2. เจา หนีแ้ ละเงินกูยมื จากกรรมการและลกู จาง 3. เงินกูยืมจากบริษัทในเครอื และบรษิ ัทรวม 4. เงนิ ลงทุนเลี้ยงชีพและบาํ เหนจ็

ข. - 18 5. เงินกยู มื ระยะยาว 6. หน้ีสนิ รวมหน้สี ิน 7. สว นของผูถ ือหุน 7.1 ทนุ เรือนหุน 7.1.1 ทนุ จดทะเบยี น 7.1.2 ทุนทอ่ี อกและเรียกชาํ ระแลว 7.2 สว นเกินมูลคาหุน 7.3 กําไรสะสม 7.3.1 จดั สรรแลว 7.3.1.1 สาํ รองตามกฎหมาย 7.3.1.2 สาํ รองอนื่ 7.3.2 ยังไมไ ดจดั สรร รวมหน้ีสินและสว นของผถู ือหุน รายการยอ ของงบกําไรขาดทุน 1. รายได 1.1 รายไดจ ากการขาย 1.2 ราไดอ น่ื รวมรายได 2. คาใชจ าย 2.1 ตน ทนุ ขาย 2.2 คาใชจ ายในการขายและการบรหิ าร 2.3 ดอกเบ้ียจา ย 2.4 ภาษเี งินได รวมคาใชจ า ย 3. กาํ ไรหรือขาดทุนกอนหักรายการพิเศษ 4. รายการพเิ ศษ 5. กาํ ไรหรอื ขาดทุนสทุ ธิ 6. กาํ ไรตอ หุน 6.1 กาํ ไรกอ นรายการพเิ ศษ 6.2 รายการพิเศษ 6.3 กาํ ไรสุทธิ

ข. - 19 เรื่องท่ี 5. รายการคา (Business Transaction) คือรายการอันเกี่ยวกับการเงินท่ีเกิดขึ้นจาการดําเนินงานของกิจการ เปนรายการซึ่งกอใหเกิดการ เปล่ียนแปลงในสินทรัพย หน้ีสิน และทุนของกิจการ กิจการจะตองนํารายการเหลานี้มาบันทึกไวในบัญชี เชน การซ้ือขายสินคา การจายเงนิ ชําระเจาหนี้การคา การจา ยภาษี หรอื การเกบ็ เงนิ จากลูกหน้ี เปน ตน รายการคาทกี่ ระทบตอธุรกจิ ประกอบดวย 1. รายการที่มผี ลกระทบตอสินทรัพยแ ละหน้สี ิน ไดแก 1.1 การรบั ชําระหนี้จากลูกหน้ี 1.2 การจายซอ้ื สนิ ทรัพยอ่นื เชน ที่ดิน อาคาร และอปุ กรณ 1.3 การจา ยชําระหนี้ 1.4 การกอหนี้ 2. รายการที่มีผลกระทบตอ สนิ ทรัพยหรือหน้ีสนิ และทุน ไดแ ก 2.1 การจาํ หนายทนุ เรือนหุน 2.2 การเกิดข้ึนของรายได 2.3 การเกิดขึน้ ของคาใชจาย 3. รายการทไ่ี มกระทบสินทรัพย หนสี้ ิน แตกระทบทุน ไดแก 3.1 จา ยปนผลเปนหุนสามญั 3.2 จัดสรรกาํ ไรสะสม เรื่องท่ี 6. สมการบญั ชี (Balance Sheet Equation Accounting Equation) เปนส่ิงท่แี สดงถึงความสัมพันธร ะหวางสนิ ทรัพย หนี้สนิ และสวนของเจาของกิจการซง่ึ สามารถแสดง ในรปู ของสมการไดด ังนี้ สินทรพั ย = หน้สี ิน + สวนของเจาของ Assets Liabilities Owner’s Equity เนื่องจากทุนหรือสวนของเจาของ คือ สวนของสินทรัพยภายหลังหักหนี้สินออกหมดแลว ดังน้ัน หากกจิ การไมม ีหน้สี ิน ทนุ (สว นของเจา ของ) ของกิจการจะเทากับสนิ ทรพั ยทั้งหมด อาจเขยี นเปนสมการไดว า สินทรัพย = ทนุ ตวั อยาง นายพีท นําเงินสวนตัวมาลงทนุ เพอ่ื ขายหมูปง 500 บาท สมการบัญชีจะเปนดงั นี้ จาก สินทรพั ย = ทุน ดงั นี้ 500 = 500

ข. - 20 แตถา นายพีท ไปกูเงินจากบุคคลภายนอกมาลงทุนเพื่อใชในการดําเนินกิจการ 300 บาทดังน้ัน สินทรัพยของกิจการจะมี 800 บาท แตกิจการของนายพีทจะมีบุคคลอื่นเขามาเก่ียวของในฐานะเจาหนี้ ซึ่งจะมี สทิ ธิในการเรียกรอ งในสนิ ทรัพยข องกจิ การเพมิ่ จากนายพที ได สมการบัญชีทีไ่ ดจ ะทําใหเปลยี่ นจากเดมิ เปน สนิ ทรัพย = หน้สี นิ + ทุน 800 = 300 + 500 แมวาในแตละวันกิจการจะมีรายการคาเกิดข้ึนมากมาย การเกิดข้ึนของรายการเหลานั้นจะทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในสินทรัพย หน้ีสินและทุน (สวนของผูเปนเจาของ) แตอยางไรก็ตามสินทรัพยจะเทากับหนี้สิน บวกทุนเสมอ ซึ่งจะขอยกตัวอยางการเปล่ียนแปลงของรายการคาที่สงผลกระทบและไมสงผลกระทบตอทุนของ กจิ การดังนี้ ตัวอยาง การเปล่ียนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินแตละชนิด โดยไมมีผลกระทบตอทุนของกิจการ ไดแก การเปล่ียนแปลงที่ทําใหสินทรัพยชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นและสินทรัพยอีกชนิดหน่ึงลดลงหรือสินทรัพยเพ่ิมข้ึน และหนส้ี ินเพ่ิมขึ้น หรือสนิ ทรพั ยลดลงและหนส้ี นิ ลดลงในจํานวนทเี่ ทากนั เชน วันท่ี 1 มกราคม 25xx นายกบ เจาของรานรุงบริการ ไดนําเงินมาลงทุน 600 บาท และกูเงินจาก นายไกเ พือ่ ใชในกจิ การอีก 400 บาท ในงบดลุ จะแสดงรายการตอ ไปนี้ รานรุงบริการ งบดลุ ณ วันท่ี 1 มกราคม 25xx หนว ย:บาท สนิ ทรพั ย หนี้สินและทนุ เงนิ สด 1,000 เจาหนีก้ ารคา 400 ทุน 600 รวมสินทรัพย 1,000 รวมหนีส้ นิ และทนุ 1,000 ตอ มาวนั ที่ 2 มกราคม 25xx จายเงินสดซ้ืออุปกรณสํานักงาน 700 บาท รายการดังกลาวมีผลให สนิ ทรพั ยอยางหน่งึ ลดลงและสินทรัพยอยา งหนึ่งเพมิ่ ขึ้น โดยท่หี นี้สินและทุนยังเทาเดิม รา นรงุ บรกิ าร งบดลุ ณ วันที่ 2 มกราคม 25xx หนว ย:บาท สินทรัพย หนส้ี ินและทนุ เงินสด 300 เจาหน้กี ารคา 400 อปุ กรณส าํ นักงาน 700 ทนุ 600 รวมสนิ ทรัพย 1,000 รวมหนส้ี นิ และทุน 1,000 ในวันที่ 3 มกราคม 25xx ไดขายเช่อื อุปกรณสาํ นักงานช้นิ หน่งึ ไปในราคาทุน 200 บาท รายการคา น้สี งผลใหส ินทรพั ยช นดิ หนงึ่ ลดลง และสินทรัพยอ กี ชนิดหนึ่งเพิม่ ขึ้นเชน กนั โดยมีหน้ีสินและทนุ เทาเดิม

ข. - 21 สนิ ทรัพย รานรุง บริการ หนวย:บาท เงินสด งบดุล ลกู หนีก้ ารคา 400 อปุ กรณส าํ นักงาน ณ วันท่ี 3 มกราคม 25xx 600 รวมสนิ ทรัพย หนส้ี นิ และทุน 1,000 300 เจาหน้ีการคา 200 ทนุ 500 1,000 รวมหนสี้ ินและทนุ วันที่ 4 มกราคม 25xx จายเงินสดชําระเงินกู 100 บาท รายการคาน้ีทําใหสินทรัพยลดลงและ หน้ีสนิ กล็ ดลงในจํานวนเทา กนั งบดุลจะเปนดงั นี้ สนิ ทรัพย รา นรุงบรกิ าร หนวย:บาท เงินสด งบดุล ลูกหน้ีการคา 300 อปุ กรณสํานักงาน ณ วันที่ 4 มกราคม 25xx 600 xxx รวมสินทรพั ย หนส้ี นิ และทนุ 900 200 เจา หนกี้ ารคา 200 ทุน 500 900 รวมหนสี้ นิ และทุน วันที่ 5 มกราคม 25xx ซ้ืออุปกรณสํานักงานอีกช้ินหน่ึงราคา 200 บาท รายการคาน้ีมีผลทําให สินทรพั ยเพมิ่ ขน้ึ และหน้สี นิ เพมิ่ ข้ึนในจํานวนเทากนั งบดุลจะเปนดังนี้ สินทรพั ย รานรุงบริการ หนว ย:บาท เงินสด งบดุล ลูกหนก้ี ารคา 500 อุปกรณส ํานักงาน ณ วันที่ 5 มกราคม 25xx 600 xx xx รวมสนิ ทรัพย หนสี้ ินและทุน 1,100 200 เจา หนกี้ ารคา 200 ทุน 700 1,100 รวมหนี้สนิ และทุน

ข. - 22 ตัวอยาง การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหน้ีสินในแตละชนิด และมีผลกระทบตอทุนของกิจการ ไดแก การโอนสินทรัพยอยางหนึ่งออกไป โดยไดรับสินทรัพยท่ีมีมูลคามากข้ึนหรือนอยลงมาแทน หรือการ เพ่ิมทนุ หรือการถอนทนุ ของกิจการ เปน ตน (รายการคาท่ีกระทบตอการดาํ เนินธุรกจิ แสดงไวแ ลวขา งตน) วันที่ 6 มกราคม 25xx นายกบ ไดขายอุปกรณสํานักงานซ่ึงมีราคาทุน 200 บาท ไปในราคา 300 บาท มีผลใหท ุนเพิม่ ขนึ้ 100 บาท สินทรัพย รานรุง บรกิ าร หนว ย:บาท เงินสด งบดลุ ลูกหนก้ี ารคา 500 อุปกรณสาํ นักงาน ณ วันท่ี 6 มกราคม 25xx 700 xx xx รวมสินทรัพย หนสี้ ินและทนุ 1,200 500 เจา หน้กี ารคา 200 ทนุ 500 1,200 รวมหน้ีสินและทนุ วันที่ 7 มกราคม 25xx ขายอุปกรณสํานักงานอีกช้ินหนึ่งท่ีมีราคาทุน100 บาทไปในราคา 50 บาท สงผล ใหส ินทรัพยช นิดหนึง่ ลดลง 100 บาท แตสนิ ทรพั ยอกี ชนิดหนง่ึ จะเพ่มิ ขน้ึ เพยี ง 50 บาท ทนุ จึงลดลง 50 บาท สนิ ทรัพย รา นรุงบรกิ าร หนวย:บาท เงนิ สด งบดุล ลูกหนี้การคา 500 อปุ กรณสํานักงาน ณ วันท่ี 7 มกราคม 25xx 650 xx xx รวมสนิ ทรพั ย หน้ีสนิ และทนุ 1,150 550 เจาหนีก้ ารคา 200 ทนุ 400 1,150 รวมหน้สี นิ และทุน วันท่ี 1 กุมภาพันธ 25xx นายกบ ไดจายเงินสด 250 บาท เพ่ือชําระหน้ีเงินกู รายการน้ีมีผลให สนิ ทรพั ยลดลง 250 บาท และหน้ีสนิ ลดลง 250 บาท

ข. - 23 สนิ ทรัพย รา นรงุ บริการ หนว ย:บาท เงนิ สด งบดุล ลกู หนกี้ ารคา 250 อุปกรณสํานักงาน ณ วันท่ี 1 กุมภาพนั ธ 25xx 650 xxx รวมสนิ ทรัพย หน้สี นิ และทุน 900 300 เจา หนก้ี ารคา 200 ทุน 400 900 รวมหนี้สนิ และทนุ วันท่ี 2 กุมภาพันธ 25xx นายกบ นําเงินสด 200 บาท และสินคา 300 บาท มาลงทุนเพิ่ม รายการ คา น้ีทาํ ใหสนิ ทรัพยเ พิ่มข้นึ 500 บาท และทุนเพิ่มขนึ้ 500 บาท สนิ ทรัพย รา นรุงบริการ หนว ย:บาท เงินสด งบดุล ลูกหนกี้ ารคา 250 สนิ คา ณ วันที่ 2 กมุ ภาพันธ 25xx 1,150 อุปกรณสาํ นักงาน หนีส้ ินและทุน x xx x รวมสนิ ทรัพย 500 เจา หน้ีการคา 1,400 200 ทนุ 300 400 1,400 รวมหนสี้ ินและทนุ วันท่ี 3 กุมภาพันธ 25xx นายกบ ถอนทุนออกมาใช 100 บาท เปนเงินสด ดังน้ันยอดเงินสดจะ ลดลงและทนุ ลดลง 100 บาท เทา กัน รานรงุ บรกิ าร งบดลุ ณ วันที่ 3 กุมภาพนั ธ 25xx หนว ย:บาท สินทรพั ย หนีส้ นิ และทุน เงนิ สด 400 เจา หนก้ี ารคา 250 ลกู หนีก้ ารคา 200 ทุน 1,050 สนิ คา 300 อปุ กรณสํานักงาน 400 x xx x รวมสินทรพั ย 1,300 รวมหนีส้ ินและทนุ 1,300

ข. - 24 เรื่องที่ 7. บัญชแี ละบญั ชีแยกประเภท บัญชี เปนแหลงสําหรับบันทึกรายการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของใน ระยะเวลาใดเวลาหน่ึง โดยมีการจัดหมวดหมูแยกเปนประเภทตางๆ ซึ่งเรียกวา “บัญชีแยกประเภท (Ledger)” ประกอบดวย บัญชีแยกประเภทสินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และคาใชจาย รูปรางของบัญชีแยก ประเภทจะมีลักษณะคลายรูปตัว T (T Account) ซ่ึงแบงออกเปน 2 สวน คือ ดานซายและดานขวา ดานซาย ของบัญชีเรยี กวา เดบติ (Debit/Dr.) และดา นขวาของบญั ชเี รยี กวา เครดิต (Credit/Cr.) แสดงไดด ังน้ี ชอื่ บัญชี เดบติ (Debit/Dr.) เครดติ (Credit/Cr.) 1. สินทรพั ยเพ่ิมข้นึ 1. สินทรพั ยลดลง 2. หนส้ี ินลดลง 2. หนส้ี ินเพ่ิมข้ึน 3. สว นของผถู ือหุนลดลง 3. สวนของผถู ือหุน เพิ่มข้นึ 4. รายไดลดลง 4. รายไดเพิม่ ข้ึน 5. คา ใชจ ายเพิม่ ขึ้น 5. คา ใชจ ายลดลง จากขอ มลู ขางตนสามารถสรุปไดว า 1. การเพิ่มข้ึนในสินทรัพย บันทึกทางซายมือ (เดบิต) การลดลงในสินทรัพยบันทึกดานขวามือ (เครดิต) 2. การเพิม่ ขน้ึ ในหนสี้ ิน บนั ทกึ ดา นขวามือ (เครดติ ) การลดลงในหน้ีสิน บันทกึ ดา นซา ยมือ (เดบติ ) 3. การเพ่ิมขึ้นในสวนของเจาของ บันทึกดานขวามือ (เครดิต) การลดลงในสวนของเจาของบันทึก ดานซา ยมือ (เดบติ ) สาํ หรบั บัญชีรายไดแ ละคา ใชจ าย จะแยกตา งหากจากบัญชีสวนของผูเปนเจาของ เพื่อใหเห็น ผลการดาํ เนนิ งานอยางชดั เจน แตยงั ใชห ลักการบันทึกบญั ชแี บบเดย่ี วกบั สวนของผเู ปน เจา ของ 4. รายไดเพ่ิมข้ึน มีผลใหสวนของเจาของเพ่ิม ดังน้ันจึงบันทึกดานขวามือ (เครดิต) ถารายไดลดลง แสดงวาสว นของเจาของ บนั ทกึ ดา นซายมือ (เดบติ ) 5. คาใชจายเพ่ิมข้ึน ทําใหสวนเจาของลดลง จึงบันทึกดานซายมือ (เดบิต) ถาคาใชจายลดลงทําให สว นของเจาของเพิม่ ขนึ้ บนั ทกึ ดานขวามอื (เครดิต) หลักการบญั ชีคู (Double-Entry Accounting) คือ การบันทึกรายการคาทุกรายการที่เกิดขึ้นจะบันทึกบัญชี 2 ดาน ในจํานวนเงินท่ีเทาๆกัน แต จํานวนบัญชีที่บันทึกอาจไมเทากันได เชน การบันทึกในดานเครดิต 2 บัญชี และมีผลรวมเทากับจํานวนเงินที่ บันทึกลงในดานเดบิตบัญชีเดียว รายการเชนน้ีเรียกวา Compound Entry ดังน้ันการบันทึกรายการบัญชีจะยึด ตามหลักการบญั ชคี ูแ ละสมการบัญชี สวนผลรวมของดา นเดบติ และเครดิตจะตอ งเทากนั เสมอ

ข. - 25 เรอ่ื งท่ี 8. วงจรบญั ชี (Accounting Cycle) คือ ลําดับขั้นตอนทางการบัญชี เริ่มจากการบันทึกรายการบัญชีท่ีเกิดข้ึน จนถึงการเสนอรายงาน ทางการเงนิ ของรอบระยะเวลาบัญชีหนง่ึ ๆ ซงึ่ มลี ําดบั ขนั้ ตอนดงั น้ี 1. การวเิ คราะหร ายการคา 2. บันทกึ รายการลงในสมดุ รายวนั 3. ผานรายการไปยงั บัญชีแยกประเภท 4. เม่ือสิ้นงวดบัญชีจัดทํางบทดลอง เพื่อทดสอบดูวา จํานวนเงินทางดานเดบิตและเครดิตในบัญชี แยกประเภทเทา กนั หรือไม 5. ลงรายการปรบั ปรุง ในสมดุ รายวนั ทั่วไปแลวผานไปยังบญั ชแี ยกประเภท 6. ลงรายการปดบัญชี ในสมดุ รายวนั ท่ัวไปแลว ผานไปยังบญั ชแี ยกประเภท 7. หายอดดุลของบัญชที ย่ี งั ไมไ ดป ดทกุ รายการ 8. จัดทาํ งบการเงิน วธิ กี ารบนั ทึกบญั ชขี นั้ ตน 1. การวเิ คราะหร ายการบญั ชี คือ การวิเคราะหรายการคาที่เกิดข้ึนวามีผลกระทบตอสินทรัพย หน้ีสิน หรือสวนของผูเปน เจาของเปลีย่ นแปลงไปอยางไร รายการท่ีเกิดขึ้นแตละรายการอาจจะกระทบเฉพาะสินทรัพย หรืออาจกระทบทั้ง สินทรัพยและหนี้สิน หรืออาจกระทบสินทรัพยและสวนผูเปนเจาของก็ได ดังรายการที่เคยกลาวไปแลวขางตน ในหวั ขอรายการคากบั สมการบญั ชี 2. บัญชีแยกประเภทและหลักการบนั ทกึ รายการ ตามที่ไดกลาวมาขางตนเกี่ยวกับประเภทบัญชี 5 ประเภทหลัก คือ สินทรัพย หน้ีสิน สวนของ ผูเปนเจาของ รายได และคาใชจาย อยางไรก็ตามในแตละประเภทบัญชียังสามารถที่จะแยกเปนบัญชียอยไดอีก เชน บญั ชีคา ใชจ าย อาจแยกตามประเภทของคา ใชจายตาง ๆ เชน บัญชีคาโฆษณา บัญชีคาสาธารณูปโภค บัญชี เงินเดือนบัญชีดอกเบ้ียจาย เปนตน บัญชีแตละบัญชีหลายๆบัญชีรวมกันเรียกวา บัญชีแยกประเภท (Ledger) แบบของบัญชีแยกประเภทที่นิยมใชกันโดยทั่วไปมีลักษณะคลายตัวอักษรภาษาอังกฤษ คือ ตัว T เรียกวา T Account ใชบันทึกรายการของธุรกิจ โดยแบงเปน 2 ดาน คือดานขวามือและดานซายมือ ดานขวาเรียกวา เครดิต ดานซายเรียกวา เดบิต แบบบัญชีแยกประเภทที่สมบูรณนิยมใชกันโดยท่ัวไปมี 2 แบบ คือแบบบัญชี มาตรฐาน (Standard Account Form) และแบบแสดงยอดดลุ (Balance Account Form) บญั ชแี บบมาตรฐาน ชือ่ บัญชี เลขท่บี ัญชี วนั /เดือน/ป รายการ อางองิ จํานวนเงิน วัน/เดือน/ป รายการ อางองิ จํานวนเงิน

ข. - 26 บัญชีแบบมาตรฐาน (Standard Account Form) มีลักษณะเหมือนตัว T บัญชีมีการแบงออกเปน 2 ดาน เพอ่ื บันทกึ จํานวนเงนิ ที่เพ่มิ ข้ึนดานหน่งึ และบันทึกจํานวนเงินท่ีลดลงอีกดานหน่ึง แตละดานมีชองสําหรับ บันทกึ ขอความ ดังนี้ 1. ชอง วนั เดอื น ป ใชสําหรบั ลงวันเดอื นป ท่นี ํารายการนน้ั ๆ มาลงบญั ชี โดยเรียงลําดับกอน-หลงั 2. ชองรายการ เปนชองสําหรับเขียนอธิบายถึงลักษณะรายการหรือเหตุผลในการนํารายการน้ันมา ลงบัญชอี ยา งยอ บางครงั้ ใชแสดงช่ือบญั ชีทีอ่ ยูดา นตรงขาม 3. ชองหนาบัญชี เปนชองสําหรับลงเลขที่หนาของสมุดรายการเบื้องตน ท่ีใชบันทึกรายการน้ันเพื่อ ประโยชนที่จะคน หาท่ีมาและหลกั ฐานประกอบรายการน้นั 4. ชองจํานวนเงนิ เปน ชอ งสาํ หรบั ลงจํานวนเงินของรายการทน่ี ํามาบนั ทกึ บัญชแี บบแสดงยอดดลุ วนั /เดือน/ป รายการ ชอ่ื บญั ชี เดบิต เลขท่บี ัญชี อา งการผาน เครดติ ยอดดลุ บญั ชี บัญชีแบบแสดงยอดดลุ ตางจากแบบมาตรฐาน คือ ไมไดแบงเปน 2 ดาน แตม ีชอ งจํานวนเงิน 3 ชอ ง เรียงไวตดิ กันเพื่อบนั ทกึ จํานวนเงนิ ทเ่ี พิม่ ข้นึ จํานวนเงนิ ทล่ี ดลง และยอดดุล บัญชแี บบนท้ี ําใหทราบยอดดลุ ได ทุกครงั้ ท่ีมีรายการเกดิ ข้ึน สวนชอ งวนั เดอื นป รายการและหนาบัญชี ใชสําหรับบันทึกขอความเหมือนแบบแรก ตัวอยาง การบันทึกบญั ชีข้ันตน 1) วนั ที่ 1 มกราคม 25xx บริษัท แกว จาํ กัด ไดจ ัดต้ังและไดรบั เงินสดจากการจําหนา ยหนุ 5,000 หุน ในราคาหุน ละ 100 บาท วเิ คราะหรายการ สินทรพั ยของบรษิ ทั คือ เงินสดเพิ่ม เดบิต บญั ชีเงนิ สด 500,000 บาท สว นของผถู อื หุน คอื ทุน-หนุ สามญั เพ่ิม เครดิต บัญชีทุน-หนุ สามัญ 500,000 บาท

ข. - 27 2) เน่ืองจากบริษัทเปนกิจการท่ีซื้อสินคาเพ่ือขาย ดังนั้นเมื่อมีสินคามาจะนํามาลงบัญชีดานเดบิต ใน ราคาทุนของสินคาที่ซื้อมา โดยจะบันทึกในบัญชีซ้ือซึ่งมีลักษณะเปนบัญชีประเภทคาใชจาย ซึ่งจะบันทึก จํานวนเงนิ ทีเ่ พ่มิ ขึน้ ทางดา นเดบติ เมอ่ื บริษทั ซ้ือสนิ คา เปน เงินสด 80,000 บาท จะบันทึกบัญชีไดด ังนี้ วเิ คราะหรายการ คาใชจ ายของบริษัทเพม่ิ ขึ้น(ซอ้ื สนิ คา ) เดบติ บัญชีซอื้ 80,000 บาท สินทรัพย คอื เงนิ สดลดลง เครดติ บญั ชีเงินสด 80,000 บาท 3) วันท่ี 5 มกราคม 25xx ซือ้ อุปกรณสํานักงานเปนเงินเชอ่ื 20,000 บาท วิเคราะหรายการ คา ใชจายของบรษิ ทั เพม่ิ ขนึ้ คือ อปุ กรณสาํ นักงานเพิม่ ขน้ึ เดบิต บัญชีอุปกรณส ํานกั งาน 20,000บาท หนี้สนิ ของบรษิ ัท คือ เจา หนก้ี ารคาเพิ่มข้ึน เครดิต บญั ชเี จา หน้ีการคา 20,000บาท 4) วันท่ี 7 มกราคม 25xx ซ้ือรถยนตเพ่ือใชงาน 1 คัน ราคา 300,000 บาท จายเงินสดเพียง 50,000 บาท ทเ่ี หลือออกเปน ตั๋วเงนิ จาย วิเคราะหรายการ สนิ ทรัพยข องบริษทั คือ รถยนตเ พ่มิ ขน้ึ เดบิต บัญชีรถยนต 300,000 บาท สินทรพั ยข องบรษิ ัท คอื เงินสดลดลง เครดติ บัญชีเงนิ สด 50,000 บาท หน้สี นิ ของบริษทั คอื ต๋ัวเงนิ จาย เครดิต บญั ชีตว๋ั เงนิ จา ย 250,000 บาท 5) วนั ที่ 8 มกราคม 25xx ขายสินคาเปน เงนิ สด 55,000 บาท รายไดจาการขายสินคาจะนํามาบันทึกในบัญชีขายดานเครดิตในราคาท่ีขายได เพราะบัญชีขายเปนบัญชีประเภท รายได วเิ คราะหรายการ สนิ ทรัพยข องบริษทั คือ เงนิ สดเพิ่ม เดบิต บญั ชเี งินสด 55,000 บาท รายไดของบริษทั คือ คา ขายเพม่ิ ขนึ้ เครดิต บัญชขี าย 55,000 บาท 6) วนั ท่ี 10 มกราคม 25xx จายคาเชา อาคาร 5,000 บาท และคาโฆษณา 1,000 บาท วเิ คราะหรายการ คา ใชจ า ยของบริษัท คอื คา เชาเพิม่ ขึน้ เดบติ บัญชีคาเชา 50,000 บาท คา ใชจ า ยของบริษทั คือ คา โฆษณาเพิม่ ข้ึน เดบติ บัญชีคาโฆษณา 1,000 บาท สนิ ทรพั ยของบรษิ ัท คือ เงินสดลดลง เครดติ บัญชีเงินสด 6,000 บาท 7) วนั ท่ี 12 มกราคม 5xx จายชาํ ระหนคี้ า อปุ กรณส าํ นักงานทไี่ มไ ดใ ชแ ลวในราคาทุน เปนเงิน 400 บาท วเิ คราะหร ายการ หนส้ี นิ ของบริษทั คอื เงนิ สดเพิ่มขนึ้ เดบติ บญั ชเี งินสด 400 บาท สินทรัพยของบรษิ ัท คอื อปุ กรณสาํ นกั งานลดลง เครดิต บญั ชีอุปกรณส าํ นกั งาน 400 บาท

ข. - 28 เรอื่ งท่ี 9. ผงั บญั ชี (Chart of General Ledger Accounts / Chart Account) คือ รายการบัญชีแยกประเภทเก่ียวกับสินทรัพย หน้ีสิน สวนของผูเปนเจาของ รายได และคาใชจาย ที่กจิ การมอี ยใู นระบบบญั ชขี องกิจการ โดยจัดใหม ีชื่อและบญั ชเี ปนหมวดหมูอ ยา งเปนระเบยี บ ผังบัญชีของแตละกิจการไมจําเปนตองมีบัญชีท่ีเหมือนกัน ขึ้นกับลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจ ขนาดของธุรกิจ การดําเนินงาน ความละเอียดของรายการบัญชี เพื่อใชในการตัดสินใจของฝายบริหาร เปนตน การจัดหมูและการแยกประเภทบัญชีโดยทั่วไปท่ีนิยมกันจะเริ่มที่บัญชีแยกประเภทสินทรัพย หน้ีสิน สวนของ เจาของ รายได และคาใชจาย โดยแทนบัญชีแยกประเภทแตละหมวดดวยตัวเลข เริ่มจาก 1 ไปถึง 5 ซ่ึงแตละ หมวดบญั ชอี าจมรี ายการบญั ชียอ ยๆ กไ็ ด โดยใชตัวเลขกํากับเชนเดียวกัน และที่นิยมกันโดยทั่วไปเลขท่ีบัญชีตัว แรกนนั้ จะหมายถงึ ประเภท/หมวดบัญชี สวนตัวเลขที่สองหมายถึงชนิดของบัญชีแตละประเภทน้ันๆ ซึ่งสามารถ กาํ หนดไดด ังนี้ เลขที่ 11-19 เปน บัญชปี ระเภทสินทรัพย เลขที่ 20-29 เปน บัญชปี ระเภทหนส้ี ิน เลขที่ 30-39 เปน บญั ชปี ระเภทสว นของผูเ ปนเจาของ เลขที่ 40-49 เปน บญั ชปี ระเภทรายได เลขที่ 50-59 เปน บญั ชปี ระเภทคาใชจ าย ตวั อยางในการทําผงั บญั ชี จะเปนดงั นี้ ชือ่ บญั ชี เลขที่บัญชี สนิ ทรพั ย บญั ชเี งินสด 11 บัญชลี กู หน้ีการคา 12 บญั ชตี ๋วั เงินรบั 13 บัญชคี า เบี้ยประกันจายลวงหนา 14 บัญชีท่ีดิน 15 บญั ชอี าคาร 16 บญั ชอี ปุ กรณสาํ นกั งาน 17

ข. - 29 ชอื่ บัญชี เลขที่บัญชี หน้ีสนิ 21 บัญชีเจาหนีก้ ารคา 22 บัญชตี ๋ัวเงินจา ย 23 บัญชีคา ภาษอี ากรคางจาย 27 บญั ชเี จาหนเี้ งินกู 31 ทุน 34 บญั ชีทุนเรือนหุน บญั ชีกาํ ไรสะสม 41 42 รายได บญั ชีขาย 51 บัญชคี าเชารบั 52 53 คาใชจา ย 54 บัญชซี ้อื 55 บญั ชเี งนิ เดอื น 56 บญั ชีดอกเบ้ียจา ย 57 บัญชคี าโฆษณา 58 บญั ชีคานํา้ คา ไฟ บญั ชีคาโทรศพั ท บัญชีคา เผื่อหนส้ี งสัยจะสญู บัญชีคาเส่ือมราคา-อาคาร เรอ่ื งที่ 10. สมดุ รายวนั ทว่ั ไปและวธิ กี ารบันทกึ รายการ สมุดรายวัน (Journal) เปนสมุดสําหรับบันทึกรายการเบื้องตนภายหลังจากการวิเคราะหรายการคาแลววา ควรเดบิตหรือเครดิตบัญชีอะไรบาง ซึ่งจะชวยลดความผิดพลาดของการบันทึกบัญชีไมครบตามหลักการบัญชีคู ได โดยบันทึกตามหลักเหตุการณท่ีเกิดข้ึน และมีคําอธิบายรายการยอๆ เพ่ือใหทราบถึงท่ีมาของรายการนั้น สมดุ รายวนั สามารถแบง ไดเปน 2 ประเภท คอื 1. สมดุ รายวนั ท่วั ไป (General Journal) รายการคาทุกรายการท่ีเกิดขึ้นจะตองนํามาบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปเสียกอน การบันทึกในสมุด รายวันท่ัวไป เปน การวเิ คราะหผลของรายการนั้นวาจะลงบัญชีใดทางดานเดบิต และบัญชีใดทางดานเครดิต การ บันทึกสมุดรายวันท่ัวไป จึงเปนการบันทึกเร่ืองราวเก่ียวกับรายการแตละรายการอยางครบถวน หรือบอกให ทราบวารายการนั้นเกดิ ขึ้นเมือ่ ใด และจะตอ งนาํ ไปลงบญั ชใี ดบา ง

ตวั อยาง สมดุ รายวนั ทั่วไป ข. - 30 วนั เดอื น ป รายการ เลขทบี่ ัญชี เดบิต เครดติ Date Debit Credit Account Titles and Explanation Ref. วิธีการบนั ทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไป 1. ชองวัน เดือน ป ใชบันทึกวันที่ที่เกิดรายการนั้นๆ โดยเขียน พ.ศ. ไวตอนบน เขียนชื่อเดือนไว บรรทดั แรกของทุกๆ หนา และตอ ดว ยวนั ที่ 2. ชองรายการ ใชแสดงช่ือบัญชีท่ีจะลงดานเดบิตและเครดิต โดยเขียนชื่อบัญชีท่ีจะเดบิตไวทางดาน ซายมือชิดเสนชองวันที่ 3. ชอ งเลขท่บี ญั ชี ใชส ําหรับอางถึงการผานบัญชี จากสมุดรายวันท่ัวไปไปยังบัญชีแยกประเภทโดยนํา เลขท่บี ญั ชีมาใสไว ภายหลังจากทีผ่ านบญั ชีไปแลว 4. ชอ งเดบติ และเครดิต ใชใ สจาํ นวนเงินท่ตี อ งการบนั ทึกบัญชี โดยใหอ ยบู รรทัดเดียวกับชอ่ื บญั ชี การลงรายการในสมุดรายวันท่ัวไป เม่ือลงรายการหนึ่งเสร็จแลว ควรขีดเสนค้ันเพื่อไมใหปนกับ รายการท่ีจะลงตอไป หรืออาจใชก ารเวน บรรทดั กไ็ ด 2. สมดุ รายวนั เฉพาะ (Special Journal) ใชบันทึกรายการใดรายการหน่ึงโดยเฉพาะ เนื่องจากมีรายการคาที่เกิดขึ้นซ้ํากันเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงในกิจการขนาดใหญ การผานรายการไปยังสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภทยอม เสียเวลาและคาใชจายในการลงบัญชีมาก ดังนั้นนักบัญชีจึงใช “สมุดรายวันเฉพาะ”แทน เพ่ือใหการลงบัญชี เปนไปดวยความรวดเรว็ ประหยดั แรงงานและคา ใชจาย สําหรับการบันทึกรายการที่มีลักษณะอยางเดียวกัน อาจ แบงไดดังนี้ - สมดุ รายวนั เงนิ สดรับ Cash Receipt Journal ใชบ ันทกึ รายการรับเงินสด - สมดุ รายวนั เงินสดจาย Cash Disbursement Journal ใชบันทกึ รายการจา ยเงินสด - สมดุ รายวันซื้อ Purchase Journal ใชบ นั ทึกรายการซ้อื สนิ คา เปน เงินเชื่อ - สมมดุ รายวันขาย Sale Journal ใชบันทกึ รายการขายสินคาเปนเงินเช่อื ในกรณีท่ีกิจการมีสมุดรายวันเฉพาะ รายการคาดังกลาวขางตนจะตองบันทึกลงในสมุดรายวันเฉพาะ เทานนั้ และรายการคาทีน่ อกเหนือไปจากน้ีใหบ นั ทึกลงในสมุดรายวนั ทว่ั ไปกอ นผา นบญั ชแี ยกประเภทตามปกติ

ข. - 31 ประโยชนของสมดุ รายวัน 1. ชวยใหการลงบัญชีมีความสะดวก รวดเร็ว เนื่องจากมีการวิเคราะหรายการคาที่เกิดข้ึนควรจะลงบัญชี อะไร ทางดานใด ทาํ ใหค วามผดิ พลาดนอยลง 2. สะดวกตอการอางอิงในภายหนา เน่ืองจากมีการนํารายการคาตางๆ ที่เกิดขึ้นในกิจการในแตละวันมา ลงไวตามลาํ ดับวนั ท่ี 3. ชว ยใหเขาใจรายการแตละรายการไดดีเนื่องจากมคี ําอธิบายรายการ ตวั อยา ง การบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันทัว่ ไป บริษัท พานิช จํากัดเริ่มจัดตั้งบริษัทเดือนมกราคม 25xx ไดกําหนดเลขที่บัญชีแยกประเภทตางๆ ของ บริษทั ดงั นี้ ชื่อบัญชี เลขที่ ช่ือบัญชี เลขท่ี บัญชีเงินสด 11 บญั ชกี ําไรสะสม 33 บัญชีลูกหน้ีการคา 12 บญั ชขี าย 41 บญั ชวี ัสดุสาํ นักงาน 13 บัญชีซอื้ 51 บัญชสี นิ คา คงเหลือ 14 บัญชคี าโฆษณา 52 บญั ชีรถยนต 17 บัญชีคา เชา 53 บัญชอี ุปกรณส าํ นกั งาน 18 บัญชคี าซอ มแซม 54 บัญชตี ั๋วเงินจาย 21 บัญชีคา นํา้ คาไฟ 55 บัญชเี จาหน้ี 22 บญั ชีเงนิ เดือนและคา แรง 56 บัญชที ุน-หุนสามัญ 31 บญั ชคี าโทรศัพท 57 บัญชีกาํ ไรขาดทุน 32 โดยมีรายการคาท่ีเกิดขึ้นในเดือนมกราคม ดังน้ี มกราคม 1 ไดร ับเงนิ สดจากการจาํ หนายหุน 8,000 บาท ในราคาหุนละ 100 บาท 2 ซอ้ื สนิ คาเปนเงินสด 90,000 บาท 4 ซ้อื อปุ กรณส าํ นักงานเปนเงินเชอ่ื 7 ขายสินคาราคา 50,000 บาท ไดเ งินสด 30,000 บาท ทเ่ี หลือลกู คา จะ นํามาชําระภายหลัง 10 ซอ้ื รถยนตมาไวใชในบริษทั 1 คัน ราคา 200,000 บาท โดยจา ยเงินสด 50,000 บาท ที่เหลือคา งชําระ 12 จายเงินสดซือ้ วสั ดสุ าํ นักงาน 500 บาท 15 จา ยคาเชาอาคารประจําเดือนมกราคม 5,000 บาท 17 ขายสินคา เปน เงินสด 90,000 บาท 18 จายคาซอ มแซมรถยนต 20 จายคาโฆษณา 1,200 บาท 25 จายชําระหนีค้ าซอื้ อปุ กรณสาํ นกั งานไปสวนหน่ึง เปนเงิน 15,000 บาท 29 จายคา นํา้ คาไฟ 300 บาท และคาโทรศพั ท 450 บาท 30 จายเงนิ เดอื นและคาแรง 28,000 บาท

ข. - 32 สมุดรายวันท่ัวไป วัน เดือน ป รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต บญั ชี 25xx 11 800,000 - ม.ค. 1 บญั ชเี งนิ สด 31 800,000 บัญชที ุน-หุน สามัญ 51 จาํ หนายหนุ 8,000 หุน ๆละ 100 บาท 11 90,000 - 2 บญั ชซี ื้อ 18 90,000 - บญั ชีเงินสด 22 ซอื้ สินคา เปนเงินสด 25,000 - 4 บญั ชอี ปุ กรณส ํานกั งาน 11 12 25,000 - บญั ชีเจาหนี้ 41 ซือ้ อปุ กรณสาํ นักงานเปน เงินเช่ือ 30,000 - 7 บัญชีเงินสด 17 20,000 - บญั ชีลกู หนี้การคา 11 22 50,000 - บญั ชขี าย ขายสนิ คา ราคา 50,000 บาท ไดรบั เงนิ 13 200,000 - สด 30,000บาท 11 ที่เหลือคา งชาํ ระ 50,000 - 10 บัญชีรถยนต 53 150,000 - 11 บัญชีเงินสด 500 - 500 - บัญชีเจาหนก้ี ารคา 5,000 - 5,000 - ซ้ือรถยนต 200,000 บาท เปนเงนิ สด 50,000 บาท ทีเ่ หลอื คางชําระ 12 บัญชีวสั ดุสํานักงาน บัญชีเงนิ สด ซอ้ื วสั ดสุ ํานกั งานเปน เงินสด 15 บัญชคี า เชา บญั ชีเงนิ สด จา ยคา เชาอาคารประจําเดอื น

ข. - 33 วนั เดอื น ป รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต บญั ชี 25xx 90,000 - 90,000 - ม.ค. 17 บัญชเี งินสด 11 1,500 - 1,500 - 41 1,200 - 1,200 - บัญชขี าย 15,000 - 15,000 - ขายสนิ คา เปนเงินสด 54 300 - 18 บัญชีคา ซอ มแซม 11 450 - 750 - 28,000 - 28,000 - บัญชีเงนิ สด 25 จา ยคาซอ มแซมรถยนต 11 20 บัญชคี า โฆษณา 22 บัญชเี งนิ สด 11 จา ยคาโฆษณา 25 บัญชีเจาหนกี้ ารคา 55 57 บัญชีเงินสด 11 จายเงินสดชาํ ระหนคี้ า อุปกรณสํานกั งาน 29 บญั ชีคาน้าํ คาไฟ 56 บัญชีคา โทรศัพท 11 บัญชีเงินสด จายคาน้าํ คาไฟ และคา โทรศพั ท 30 บัญชีเงินเดอื นและคาแรง บัญชีเงนิ สด จายเงินเดือนและคาแรง เร่ืองที่ 11. การผานบัญชีรายวนั ไปยงั บญั ชแี ยกประเภท การผานรายการ (Posting) คือ การนํารายการท่ีลงไวในสมุดรายวันท่ัวไป ไปบันทึกลงในบัญชีตาง ๆ ตามที่ระบุไวในสมุดรายวันท่ัวไปในบัญชีแยกประเภท รายการที่มีการบันทึกไวดานเดบิตใหผานไปยังบัญชีแยก ประเภทดานเดบิต และรายการท่ีบันทึกดานเครดิตใหผานบัญชีแยกประเภทดานเครดิต โดยนําวันที่จากสมุด รายวันท่ัวไป มาลงในบัญชีแยกประเภทชองวันท่ีผานช่ือบัญชีไปยังบัญชีแยกประเภท โดยนําช่ือบัญชีเก่ียวของ แตอยูคนละดานมาใส เชนในบัญชีเงินสด ใหเขียนวา “บัญชีทุน” สวนในบัญชีทุนใหเขียนวา “บัญชีเงินสด” เพื่อใหทราบวาทุนที่นํามาลงเปนเงินสดนําเลขท่ีบัญชีของบัญชีแยกประเภทไปใสไวในชอง “เลขท่ีบัญชี” ของ สมุดรายวันท่ัวไป มาใสไวในชอง “อางถึง” ของบัญชีแยกประเภท เพ่ือใหทราบวารายการน้ีผานจากสมุด รายวันหนาใด โดยเขียนตัวยอ วา “รว.ตามดวยเลขหนา” ซ่ึงทําใหสะดวกในการติดตามหากมีขอผิดพลาดผาน ชอ งจาํ นวนเงินจากสมุดรายวันทัว่ ไปมายังบญั ชแี ยกประเภททางดา นเดบติ และเครดิต

ข. - 34 หมายเหตุ: การเปดบัญชีแยกประเภท มักนิยมเรียงตามลําดับ คือ สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูเปน เจาของ รายได และคาใชจาย การผานบัญชีจะบันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไปทันที หรืออาจบันทึกตอนส้ิน เดอื นกไ็ ดแ ลวแตป รมิ าณรายการ หากรายการคาที่บันทกึ ไวใ นสมุดรายวันท่ัวไป มีลักษณะเปน Compound Entry คือ มีการบันทึกบัญชี มากกวา 2 บัญชีข้ึนไป และมีผลรวมของจํานวนเงินดานเดบิตและเครดิตเทากัน เชน ขายสินคาเปนเงินสด แต ไดรับเงินสดสวนหน่ึง อีกสวนหนึ่งคางรับ เม่ือผานไปยังบัญชีแยกประเภทในชอง “รายการ” จะตองนําบัญชีที่ เกี่ยวขอ งแตอ ยูคนละดานมาใส แตเ นอ่ื งจากบญั ชีขายเก่ียวของกับบัญชีมากกวา 1 บัญชีขึ้นไป คือ ลูกหน้ีการคา และบัญชเี งินสด จึงใหใ ชคําวา “บัญชตี างๆ” (Sundry Account) แทน ตวั อยาง การผา นรายการจากสมุดรายวันทัว่ ไป ไปยงั บญั ชแี ยกประเภท จากตัวอยา งการลงบญั ชีในสมุดรายวนั ท่ัวไป ของ บรษิ ทั พานิช จํากัด ขา งตน สามารถผา นรายการ จากสมุดรายวันท่วั ไป ไปยังบัญชแี ยกประเภทไดด ังน้ี บัญชีเงินสด เลขที่ 11 วันที่ รายการ อางถึง เดบติ วันท่ี รายการ อางถึง เครดิต 25xx บัญชีทนุ -หนุ สามัญ รว.1 25xx บัญชซี ้อื รว.1 90,000 - ม.ค. 1 บัญชีขาย รว.1 บญั ชรี ถยนต รว.2 50,000 - 7 บัญชขี าย รว.2 800,000 - ม.ค. 2 บัญชีวสั ดุสาํ นกั งาน รว.2 500 - 17 บัญชีคาเชา รว.2 5,000 - 30,000 - 10 บัญชีคา ซอ มแซม รว.2 1,500 - บญั ชคี าโฆษณา รว.2 1,200 - 90,000 - 12 บญั ชเี จา หน้ี รว.2 15,000 - บญั ชตี างๆ รว.2 750 - 15 บญั ชีเงนิ เดอื นและ คา แรง รว.2 28,000 - 18 20 25 29 30

ข. - 35 บัญชีลูกหน้ีการคา เลขที่ 12 อางถึง เครดิต วันท่ี รายการ อางถึง เดบติ วนั ที่ รายการ 25xx รว.1 20,000 - ม.ค. 7 บัญชีขาย บัญชวี สั ดุสาํ นกั งาน เลขท่ี 13 อา งถึง เครดติ วันที่ รายการ อา งถงึ เดบิต วนั ที่ รายการ 25xx ม.ค. 12 บญั ชีเงินสด รว.2 500 - บญั ชีรถยนต เลขที่ 17 อา งถงึ เครดติ วนั ท่ี รายการ อา งถงึ เดบติ วันท่ี รายการ 25xx บญั ชีตา งๆ ม.ค. 10 รว.2 200,000 - บญั ชีอุปกรณสํานกั งาน เลขที่ 18 อางถึง เครดติ วนั ที่ รายการ อางถึง เดบติ วันท่ี รายการ 25xx บัญชเี จาหนี้ ม.ค. 5 รว.1 25,000 - บญั ชเี จาหนีก้ ารคา เลขท่ี 22 อา งถงึ เครดิต วนั ท่ี รายการ อางถึง เดบิต วันที่ รายการ 25xx บัญชีเงนิ สด รว.1 25,000 - ม.ค. 25 25xx รว.2 150,000 - รว.2 15,000 - ม.ค. 5 บญั ชีอุปกรณ 10 สํานักงาน บญั ชรี ถยนต

ข. - 36 บญั ชีทนุ -หนุ สามญั เลขท่ี 31 วนั ท่ี รายการ อางถึง เดบติ วันที่ รายการ อา งถึง เครดิต 25xx ม.ค. 1 บัญชเี งนิ สด รว.1 800,000 - บญั ชขี าย เลขท่ี 41 วนั ท่ี รายการ อา งถึง เดบติ วันท่ี รายการ อา งถึง เครดิต 25xx ม.ค. 7 บัญชีตา งๆ รว.1 50,000 - 17 บญั ชเี งินสด รว.2 90,000 - บญั ชีซื้อ เลขที่ 51 อางถงึ เครดิต วนั ที่ รายการ อางถงึ เดบติ วันที่ รายการ 25xx บญั ชเี งนิ สด ม.ค. 4 รว.2 90,000 - บญั ชคี า โฆษณา เลขท่ี 52 อา งถึง เครดติ วันที่ รายการ อางถึง เดบิต วันที่ รายการ 25xx ม.ค. 20 บญั ชีเงนิ สด รว.2 1,200 -

ข. - 37 บญั ชคี าเชา เลขที่ 53 อางถงึ เครดิต วันท่ี รายการ อางถงึ เดบิต วันท่ี รายการ 25xx ม.ค. 15 บัญชีเงนิ สด รว.2 5,000 - บัญชคี าซอ มแซม เลขที่ 54 อางถึง เครดติ วนั ที่ รายการ อา งถึง เดบติ วันท่ี รายการ 25xx ม.ค. 18 บัญชเี งินสด รว.2 1,500 - บัญชคี า นาํ้ คา ไฟ เลขที่ 55 อา งถงึ เครดติ วนั ที่ รายการ อา งถึง เดบิต วันที่ รายการ 25xx ม.ค. 29 บญั ชีเงินสด รว.2 300 - วนั ท่ี รายการ บัญชีเงินเดอื นและคา แรง รายการ เลขที่ 56 25xx บญั ชีเงินสด อา งถึง เดบติ วันท่ี อา งถงึ เครดติ ม.ค. 30 รว.2 28,000 - บัญชคี าโทรศัพท เลขที่ 57 อา งถึง เครดิต วนั ที่ รายการ อา งถึง เดบติ วันท่ี รายการ 25xx ม.ค. 29 บัญชีเงินสด รว.2 450 -

ข. - 38 เรอื่ งที่ 12. งบทดลอง (Trial Balance) คอื งบท่ีกิจการจัดทําขึ้นเพ่อื สรุปหายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททกุ บัญชที ่กี ิจการมอี ยูและได บนั ทึกรายการตามหลกั บญั ชีคูและมีขอมูลเพยี งพอในอนั ท่จี ะนาํ มาทํางบการเงิน ดังน้ันงบทดลองเปน ตวั ตรวจสอบความถกู ตอ งในการบันทกึ รายการทางบญั ชี การหายอดดลุ / ยอดคงเหลือในบญั ชี เนื่องจากบัญชีแยกประเภทแบงเปน 2 ดาน คือ ดานเดบิตและดานเครดิต โดยลงจํานวนเงินที่เพิ่มขึ้น ไวดานหน่ึง และจํานวนเงินที่ลดลงไวอีกดานหน่ึง ในการบันทึกรายการคาจะตองบันทึกตามหลักบัญชีคูดังท่ีได กลาวมาขางตน ดังนั้นผลรวมดานเดบิตและเครดิตจะตองเทากันเสมอ เมื่อนํามาจัดทํางบทดลองเรียกวา “งบ ทดลองลงตัว” แสดงวาการบันทึกบญั ชีเปน ไปตามหลกั บญั ชีคู ถาจํานวนเงินที่ลงไวดานเดบิตและเครดิตไมเทากัน จํานวนท่ีตางกันเรียกวา “ยอดดุล:Balance/ยอด คงเหลือ” บัญชีใดมีจํานวนเงินทางดานเดบิตมากวาจํานวนเงินดานเครดิต ผลตางท่ีเกิดข้ึนเรียกวา “ยอดดุลเดบิต (Debit Balance)” ในทางตรงขามถาบัญชีใดมีจํานวนเงินดานเครดิตมากกวาดานเดบิต ผลตางที่เกิดข้ึนเรียกวา “ยอดดุลเครดติ (Credit Balance)” โดยปกติแลว บญั ชีแยกประเภทตางๆ มกั มยี อดดุลดังน้ี - บญั ชปี ระเภทสนิ ทรพั ย มียอดดุลเดบิต - บญั ชปี ระเภทหนีส้ ิน มียอดดุลเครดติ - บญั ชีประเภทรายได มยี อดดลุ เครดติ - บญั ชีประเภทรายได มยี อดดุลเครดิต - บญั ชปี ระเภทคาใชจาย มียอดดลุ เดบิต ข้ันตอนการหายอดดุล / ยอดคงเหลอื รวมจํานวนเงินทางดานเดบิตและเครดิตของบัญชี แลวเขียนผลรวมไวใตจํานวนเงินรายการสุดทาย โดยใหอ ยูเ หนือเสน ของบรรทดั ข้ึนไป เขียนผลรวมดวยดนิ สอไวใ ตจาํ นวนเงินรายการสดุ ทาย โดยใหอยูเหนอื เสน ของบรรทัดข้ึนไป หาผลตางระหวางจํานวนเงินรวมของดานเดบิตและเครดิต ถาผลตางเปนยอดดุลเดบิตใหเขียนดินสอไว ในชองรายการดานเดบิต ในแนวเดียวกับยอดรวมดานเดบิต ถาผลตางเปนยอดดุลเครดิต ใหเขียนผลตางน้ันลง ในชองรายการดานเครดติ ในเดยี วกบั ยอดรวมเครดิต บัญชใี ดมีรายการดานเดบิตหรือเครดติ ดานใดดา นเดยี วไมจ ําเปน ตอ งเขยี นยอดดุลไว

ข. - 39 ตัวอยาง การหายอดดลุ วนั ท่ี รายการ อา งถึง บัญชเี จาหนีก้ ารคา รายการ เลขท่ี 22 25xx บญั ชเี งนิ สด รว. 2 ม.ค. 25 เดบิต วันที่ บัญชีอุปกรณส ํานักงาน อา งถึง เครดิต 25xx บญั ชรี ถยนต รว.1 25,000 - 15,000 - ม.ค. 5 160,000 รว.2 150,000 - 25 175,000 วันท่ี รายการ บญั ชีซอ้ื รายการ เลขท่ี 51 25xx อา งถึง เดบิต วนั ท่ี อางถึง เครดติ ม.ค. 4 บัญชีเงินสด รว.2 90,000 - 90,000 90,000 - การจัดทาํ งบทดลอง จากท่ีไดกลาวมาในข้ันตนแลววารายการคาทุกรายการที่เกิดข้ึนของกิจการ ตองนําไปบันทึกรายการ เบื้องตนที่สมุดรายวันท่ัวไปตามหลักบัญชีคู แลวจึงผานรายการไปยังบัญชีแยกประเภท ดังนั้นยอดดุล / ยอด คงเหลือเดบิตในบัญชีตาง ๆ ยอมเทากับยอดดุล / ยอดคงเหลือเครดิต การจัดทํางบทดลองก็เพ่ือพิสูจนในขั้นแรก วาการลงบัญชีไดทําไปอยางถูกตองตามหลักบัญชีคู การจัดทํางบทดลองจะทําข้ึนเมื่อตองการพิสูจนวา ยอดดุล เดบิตของบัญชีตาง ๆ เทากับยอดดุลเดบิตหรือไม แตปกติแลวจะจัดทํางบทดลองกอนทํางบการเงิน เพ่ือชวยให การจัดทาํ งบการเงินจดั ทาํ ไดง า ย งบทดลองประกอบดวยชองตางๆดังนี้ - ชอ งชือ่ บัญชี สําหรบั ลงชอ่ื บัญชีแยกประเภทตา งๆ - ชอ งเลขที่บญั ชี สาํ หรับเขยี นเลขทบี่ ญั ชีแยกประเภท - ชอ งเดบิต สําหรับลงจํานวนเงนิ ของบญั ชที ี่มยี อดดลุ เดบิต - ชอ งเครดิต สาํ หรบั ลงจํานวนเงนิ ของบัญชที ี่มยี อดดุลเครดติ

ข. - 40 ข้ันตอนในการจัดทํางบทดลอง - หายอดคงเหลือของบญั ชีแยกประเภททุกบัญชี ตามวธิ ีทกี่ ลาวมาขา งตน - เขยี นชือ่ บญั ชใี นชอ งบญั ชี - เขยี นเลขที่บัญชีของแตละบัญชีในชอ งเลขท่บี ัญชี - เขยี นจํานวนเงนิ ทีเ่ ปนยอดคงเหลอื ของแตละบัญชี ถาบัญชีใดมยี อดดลุ เดบิต จะนาํ ลงในชอ งเดบิต บัญชีใดมียอดดุลเครดติ จะนาํ ลงในชอ งเครดิต - ภายหลังจากลงยอดดลุ ในงบทดลองครบถวนแลว จะรวมเงินชองเดบติ และเครดิตซ่งึ สดุ ทายแลว ผลรวมทั้งสองชองนจี้ ะตองเทากัน แสดงวา “งบทดลองลงตัว” อยางไรก็ตามการท่ีงบทดลองลงตัว ไมไดหมายความวาการลงบัญชีถูกตองท้ังหมด เพราะอาจมี ขอผิดพลาดอ่ืนท่ีไมอาจทราบได เชน รายการท่ีไมมีการลงบัญชี หรือลงบัญชีแตไมลงในสมุดรายวันหรือการ ลงบัญชีผิดพลาดทง้ั ดานเดบติ และดานเครดิตพรอ มกนั ทง้ั 2 ดา น เปน ตน บริษทั พานชิ จํากดั งบทดลอง ณ วันท่ี 31 มกราคม 25xx ชือ่ บัญชี เลขท่บี ญั ชี เดบติ เครดิต เงินสด 11 728,050 - ลกู หน้กี ารคา 12 20,000 - วสั ดุสาํ นักงาน 13 500 - รถยนต 17 200,000 - อปุ กรณสํานักงาน 18 25,000 - เจาหนก้ี ารคา 22 160,000 - ทนุ -หุนสามญั 31 800,000 - ขาย 41 140,000 - ซ้ือ 51 90,000 - คา โฆษณา 52 1,200 - คาเชา 53 5,000 - คา ซอมแซม 54 1,500 - คา น้าํ คา ไฟ 55 300 - เงนิ เดอื นและคาแรง 56 28,000 - คาโทรศัพท 57 450 - 1,100,000 - 1,100,000

ข. - 41 บทสรุป 1. รายการคา คือ รายการที่เกิดข้ึนแลวมีผลใหสินทรัพย หนี้สิน หรือสวนของเจาของ (ทุน) มีการ เปลีย่ นแปลง สาํ หรบั รายการอน่ื ๆ ทไ่ี มกระทบสมการบญั ชี ยอ มไมใชรายการคาจึงไมตองบันทึกบัญชี เชน การ นดั ประชุมกรรมการบรษิ ทั การออกไปเยย่ี มลกู คา การรบั พนักงานขายใหมก ารจัดเลีย้ งประจาํ ป เปน ตน 2. รายการบัญชีที่เกิดขึ้นแตละรายการ ยอมทําใหผลรวมสะสมของสินทรัพย เทากับผลรวมสะสม ของหน้ีสินกบั สว นของเจา ของเสมอ ตามหลกั ของสมการบญั ชี 3. รายการคาไมจําเปนตองใหเกิดการเปลี่ยนแปลงท้ังสองดานของสมการบัญชีพรอมกันแตอาจ กระทบเพียงดานใดดานหน่ึงของสมการบัญชีก็ได โดยผลกระทบมีท้ังเพิ่มข้ึนและลดลง จึงทําใหเกิดการหักลาง กนั ไป เชน การรบั ชาํ ระเงนิ จากลกู หน้ี 4. รายการท่ีเพ่ิมข้ึนจะทําใหสวนของผูเปนเจาของ (ทุน) เพิ่มข้ึน คาใชจายที่เพ่ิมขึ้นทําใหสวนของ (ทนุ ) เจา ของลดลงก็ได 5. รายการวิเคราะหรายการคาแตละรายการทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงอยางนอย 2 บัญชี ซึ่งในทาง บญั ชเี รียกวา “หลักการบัญชี” (Double-Entry Accounting) โดยรายการคาท่ีเกิดข้ึนตองนํามาบันทึกอยางนอย 2 รายการเสมอ ซ่ึงสามารถสรุปการเปล่ียนแปลงรายการคาท่ีสําคัญที่สงผลตอสมการบัญชีไดดังตารางที่แสดงไว ดงั น้ี รายการคา สมการบญั ชี สญั ลกั ษณทางการบัญชี สนิ ทรัพย = หนี้สิน + สวนของผถู ือหุน การรับชาํ ระหนี้การลกู หน้ี เงนิ สดเพม่ิ ลกู หนล้ี ด = หนสี้ ิน +สวนของผูถ อื หนุ เดบติ เงินสด การจา ยเงินซ้อื เคร่อื งจักร เครดิตลกู หนี้ การจายชําระเจาหน้ี เงนิ สดลด เคร่อื งจกั รเพ่ิม = หนีส้ นิ เดบิตเครอื่ งจกั ร +สวนของผถู ือหุน เครดติ เงนิ สด เดบติ เจา หน้ี เงินสดลด = หน้ีสนิ เพิ่ม + สว นของผูถือหนุ เครดิตเงินสด เดบิตเงินสด การกอหนี้ไดร ับเงินสด เงินสดลด = หนส้ี นิ เพมิ่ + สวนของผถู ือหุน เครดิตเจาหน้ี เดบติ เงินสด ออกจําหนายทุนเรือนหนุ เงินสดเพิม่ = หน้ีสิน + สวนของผูถือหุน เพิ่ม เครดติ ทุนเรือนหุน-หุนสามญั หุนสามัญไดรับเงินสด เดบิตทุนเรอื นหุน-หุน สามัญ เครดิตเงนิ สด เรยี กคืนทุนหนุ สามัญโดยคืนเงิน เงินสดลด = หนสี้ นิ + สวนของผูถอื หนุ ลด เดบติ เงนิ สด เครดิตรายไดค า บรกิ าร การเกิดข้ึนของรายได เงินสดเพม่ิ = หนี้สนิ + สว นของผถู ือหนุ เพม่ิ รบั เงินรายไดค า บรกิ าร ลกู หน้เี พิม่ = หนี้สิน + สวนของผถู ือหนุ เพิม่ เดบิตลูกหน้ี ใหบริการลกู คาแลว เงินสดลด = หน้สี ิน + สว นของผูถอื หุนลด เครดติ รายไดคาบรกิ าร แตยงั ไมไ ดร ับการชาํ ระเงิน (รายไดค า งรบั ) เดบติ เงินเดือน การเกิดขึ้นของคาใชจา ย เครดิตเงนิ สด จา ยเงนิ เดือน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook