วิธปี ฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practice) พฒั นาการอ่านและการเขยี นโดยใช้เรือ่ งราวเล่าขาน วิถีตาโงะ ในถน่ิ เจาะไอร้อง ABL & Surround Story โรงเรยี นบา้ นตาโงะ สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3 1. ความเปน็ มาและความสาคัญ หนา้ 1 หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ได้กาหนดใหภ้ าษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญใน การใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร การเรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพและเพื่อ นาไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2551 : 37) ดังนัน้ เด็กไทยทุกคนควรเรยี นรแู้ ละใช้ภาษาไทยไดอ้ ย่างถูกตอ้ งทุกโอกาส ซ่งึ การเรียน การสอนภาษาไทยเปน็ ทักษะทต่ี ้องฝกึ ฝนจนเกิดความชานาญ ในการใชภ้ าษาเพ่อื การส่ือสาร การอา่ นและการฟงั เปน็ ทักษะของการ รบั รเู้ ร่ืองราว ความรู้ ประสบการณ์ สว่ นการพูดและการเขียนเปน็ ทกั ษะของการแสดงออกดว้ ยการแสดงความคดิ เหน็ ความรู้และ ประสบการณ์ การเรยี นภาษาไทยจึงต้องเรยี นเพอ่ื การสือ่ สาร ให้ สามารถรบั รขู้ ้อมูลขา่ วสารได้อยา่ งพนิ จิ พเิ คราะห์ สามารถนาความรู้ ความคิดมาเลือกใช้เรยี บเรียงคามาใช้ตามหลักภาษาไดถ้ ูกต้องตรงตาม ความหมาย กาลเทศะและใช้ภาษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ วมิ ลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2549 : 80) โรงเรียนบ้านตาโงะ ไดม้ ีการวเิ คราะห์สภาพปัญหา ความ ต้องการ และสภาพบรบิ ทซง่ึ เปน็ ทนุ เดมิ ของสถานศึกษาและทนุ เดมิ ของสงั คมเพื่อกาหนดนโยบายในการพัฒนา ดังตอ่ ไปนี้ 1.1 ความตอ้ งการของผปู้ กครอง ชุมชน จากการใชแ้ บบสอบถาม และการประชมุ ผปู้ กครอง นกั เรยี น ผปู้ กครองมีความตอ้ งการให้นักเรยี นอ่านออกเขยี นคล่อง และ ส่อื สารได้ ต้องการให้โรงเรียนพัฒนานักเรียนเต็มศักยภาพ มีระบบดูแล ทเี่ ข้มแข็ง 1.2 ปญั หาของนกั เรียนและครูโดยภาพรวม จากผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา นกั เรียนและครูมี สภาพปญั หา ดงั น้ี 1.2.1 ปัญหาการเขยี นคา เขียนเรื่อง ดา้ นการส่ือสาร และทกั ษะการคิด 1.2.2 ครูจดั การเรียนรแู้ บบ passive learning จากผลการประเมนิ พบว่า นักเรียนจะมปี ัญหาด้านการเขยี นคา โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3
การเขยี นเรื่อง และทักษะการคิด จากสภาพปญั หาดงั กล่าวของนักเรยี น หนา้ 2 ควรไดร้ ับการแกไ้ ขอยา่ งเร่งด่วน โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ครผู ู้สอนควรมี การศึกษาหาวธิ พี ฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู หม้ ปี ระสิทธภิ าพ ทัง้ ความรู้ ทักษะกระบวนการ เทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย ทาใหผ้ ูเ้ รยี น เกดิ การเรียนรู้ เกิดความแมน่ ยา จดจางา่ ย และเข้าใจอย่างลึกซ้ึง จัดระบบเชื่อมโยงความคิดต่าง ๆ เข้าดว้ ยกัน 1.3 ทนุ เดิมของสถานศึกษาและทนุ ทางสงั คมท่ีเอ้ือต่อการ เรียนรขู้ องผ้เู รยี น ทนุ เดิมของสถานศกึ ษา นักเรียน มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ ครูจบตรงตามวชิ าเอก ครูมคี วามตง้ั ใจ และ รับผดิ ชอบ สถานศึกษามสี ภาพแวดล้อมและธรรมชาตทิ ี่สวยงาม และ เออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้ ชมุ ชนมที รพั ยากรบุคคลท่ีมีองค์ความรู้หลาย ด้าน เชน่ ด้านวฒั นธรรม ดา้ นอาชพี เปน็ ต้น มีแหลง่ เรยี นรู้ทนี่ ่าสนใจ ในชมุ ชน เช่น ฟาร์มเล้ียงแพะ แหลง่ เรยี นรเู้ กยี่ วกับเศรษฐกจิ พอเพียง วสิ าหกจิ ชมุ ชน แหลง่ เรยี นรู้เชงิ ระบบนเิ วศ ศลิ ปวัฒนธรรม เป็นต้น โรงเรียนจึงกาหนดแนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี นทเี่ นน้ พฒั นา ทักษะการอา่ น การเขยี น แลว้ สามารถนาสงิ่ ทเี่ รียนรูผ้ า่ นกระบวนการ คดิ อยา่ งมีระบบ เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถสรา้ งข้อสรปุ เกีย่ วกับส่งิ ทีไ่ ด้ เรียนรู้ แลว้ สร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ สอื่ สาร ให้ผู้อ่ืนเขา้ ใจได้ ดว้ ยการเล่าหรอื เขยี นได้ถูกต้องตามหลักเกณฑท์ างภาษาเหมาะสมกบั ระดับชน้ั หรอื วัย ของผเู้ รียน โรงเรียนควรดาเนินการพฒั นาและประเมนิ ความสามารถใน การอา่ นการเขยี น ให้เปน็ กระบวนการอย่างชัดเจนมากยิง่ ขึ้น และให้ เกดิ นวัตกรรมการเขียนคา และเรอื่ งราวของท้องถิ่นของตนประกอบใน การพฒั นาส่กู ารเรยี นรูท้ ่ยี ่งั ยืน ต่อไป (Long memories) โรงเรียนได้รวบรวมประเดน็ ต่างๆเพ่ือกาหนดเป็นนโยบาย หลัก ม่งุ หวงั ใหน้ ักเรยี นเกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื “เปา้ หมาย 3 ดี ศรตี าโงะ สู่คณุ ภาพการศึกษา” 1) นักเรียนดี 1.1 นักเรยี นดมี ีความสามารถในการอ่านการเขยี น 1.2 นกั เรยี นดมี สี มรรถนะในการสือ่ สาร 1.3 นักเรยี นดมี ที กั ษะคดิ วิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ และแกป้ ัญหาได้ 1.4 นักเรยี นดมี ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม (ตามอัตลกั ษณ์คุณธรรมของสถานศึกษา มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ พอเพียง จิตอาสา) 2) ครูดี - ครสู อนดี เห็นผล คนยกย่อง 3) ผ้บู ริหารดี - บรหิ ารโดยใชห้ ลกั PDCA ในรูปแบบ TANGOK MODEL - บริหารโดยใชห้ ลกั 4 จ. (เข้าใจ จูงใจ สานใจ และไวใ้ จ) โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3
2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพอ่ื พัฒนานกั เรยี นดา้ นความสามารถในการอา่ นการเขยี น 2.2 เพอื่ พัฒนาความสามารถในการสอ่ื สาร การคิดวิเคราะห์ และคิดสรา้ งสรรค์ 2.3 เพอ่ื พฒั นาครูด้านการจัดการเรยี นรู้ แบบ Activity-Based Learning เชื่อมโยงองค์ความรูใ้ นท้องถ่ิน เรื่องราวความเปน็ ตาโงะ ในถิ่นเจาะไอร้อง 2.4 เห็นคุณคา่ และมีความภาคภูมิใจในท้องถ่ินของตน 3. กระบวนการ/ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน กระบวนการขบั เคลื่อนการดาเนินงานพน้ื ทีน่ วตั กรรมของโรงเรยี น มดี งั นี้ 3.1 วเิ คราะห์ สภาพปัญหา ความต้องการ ทนุ เดมิ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพ่อื กาหนดเป้าหมายของสถานศึกษา 3.2 กาหนดภารกจิ ในการขบั เคล่ือนกจิ กรรม/โครงการ 3.3 กาหนดผู้รบั ผิดชอบ และบทบาทหนา้ ท่ี 3.4 ดาเนินการจัดกจิ กรรม 3.5 นิเทศ ติดตาม 3.6 กจิ กรรม PLC เพ่อื วิเคราะห์ปญั หา ให้กจิ กรรมสามารถดาเนนิ ไปได้อยา่ งต่อเน่ือง และเกิดความยง่ั ยนื ข้ันตอนการดาเนินงาน “พฒั นาการอา่ นการเขียนโดยใช้ เรอื่ งราวเลา่ ขานวถิ ตี าโงะในถนิ่ เจาะไอร้อง” ในรูปแบบของ TANGOK MODEL เป็นการพัฒนาผู้เรยี นด้านการอ่านการเขียน การ ส่อื สาร การคิด และการแก้ปัญหาในลักษณะการทางานเป็นทมี จาก โรงเรยี นสู่ชมุ ชน จากพส่ี ู่น้อง มกี ารจดั การเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning รูปแบบ ABL (Activity Based Learning) การจดั การ เรยี นรู้โดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐานเช่อื มโยงความร้ใู นทอ้ งถน่ิ ทมี่ ีอย่ดู ั้งเดมิ ในชุมชนบา้ นตาโงะ และชุมชนใกล้เคยี งในอาเภอเจาะไอร้อง รว่ มกัน สงั เกต ตรวจสอบ การเรียนรู้ทตี่ ่อเน่ืองและยง่ั ยืน TANGOK MODEL T – Team การดาเนนิ กิจกรรมเป็นทีม (ครู นร. ชุมชน ภูมิปญั ญา) A – Activity Based Learning การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม เป็นฐาน N – Natural ธรรมชาติ G – Good การแบ่งปนั ทด่ี จี ากรร.สชู่ ุมชน จากพสี่ ู่นอ้ ง O – Observe ร่วมสังเกต รว่ มตรวจสอบ การเรียนรู้ K – Knowledge การเช่ือมโยงความรู้ในทอ้ งถน่ิ โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3 หนา้ 3
โรงเรยี นดาเนนิ การพัฒนาการอา่ นการเขียนใน 5 ข้ันตอน ดงั นี้ สรา้ งความตระหนกั ประกาศนโยบายเปน็ วาระสาคญั ของโรงเรยี น ใหค้ วามรู้ จดั ประชุมชแ้ี จงแกค่ รู คณะกรรมการสถานศึกษาและผูป้ กครอง นาสกู่ ารปฏิบตั ิ อบรมและให้ความรู้ครูเกยี่ วกับเทคนิคการจัดการเรยี นรรู้ ปู แบบ ABL กาหนดกิจกรรม/โครงการ/แหล่งเรียนรู้/ภมู ิปญั ญา จัดทาแนวปฏิบตั ิในการพัฒนาการอา่ น การเขยี น การคดิ และการสือ่ สาร ดาเนนิ การสารวจขอ้ มูลนกั เรียนเพื่อเป็นข้อมลู ในการพฒั นา แบ่งกลุม่ นักเรียนและครูผรู้ บั ผดิ ชอบ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้รูปแบบ ABL โดยใชเ้ รือ่ งราวเลา่ ขาน วิถีตาโงะ ในถิ่นเจาะไอร้อง อาเภอเจาะไอร้อง จงั หวดั นราธิวาส จัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพฒั นาการเขยี น 4 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ - ร้คู าแตง่ ประโยค - เรยี งร้อยเรอ่ื งราว - สร้างภาพตานาน - เล่าขานให้เพ่ือนฟงั จดั ทาสือ่ การเรียนรู้ ได้แก่ บัตรคา แถบประโยค เกม เพลง นเิ ทศ ติดตาม กจิ กรรมนเิ ทศ ตดิ ตาม , กจิ กรรม PLC ใหค้ าปรกึ ษา ใหค้ าแนะนา สรุป/รายงานผล สรปุ /รายงานผล/เผยแพร่ โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3 หนา้ 4
4. ผลท่เี กดิ ข้นึ จากการดาเนินงาน ราย รายงานผลการอา่ น 4.1ดา้ นผ้เู รยี น 1) นักเรยี นมีความสามารถในการอ่านการเขยี นดีข้นึ เป็นลาดับ การเขียน 2) นกั เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ และแก้ปัญหาเป็น 3) นกั เรยี นได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดบั 2 การเขยี นเรื่องราว ระดับเขตพนื้ ท่ี 4) นกั เรยี นมีความสามารถในการสอ่ื สาร กล้าแสดงออกมากขึ้น 5) นักเรียนเกิดการเรียนรูอ้ ยา่ งมีความสุข 4.2 ด้านครู 1) ครจู ดั การเรยี นรเู้ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มากขนึ้ (Active Learning) 2) ครจู ดั การเรยี นรู้รปู แบบ ABL ทคี่ านงึ ถึงลักษณะนสิ ัยของผ้เู รียน ซึ่งเป็นเด็กในวัยประถมทชี่ อบเรยี นปนเลน่ สร้างแรงจงู ใจในการเรียนรูใ้ หก้ บั ผเู้ รยี นผ่านการเสรมิ แรง และการเรียนรูผ้ า่ นกิจกรรมทฝ่ี กึ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ การแก้ปัญหา และการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ที่มีสือ่ นวตั กรรม เกม เพลง ต่างๆ โดยผ่านกจิ กรรม “สื่อครู หนทู าได้” 3) ครูมที ศั นคตทิ ่ีดีต่อการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) 4.3 ดา้ นการบรหิ าร 1) สามารถพัฒนาการอ่าน การเขยี น การคิด การแก้ปัญหาและ การสอื่ สารได้ทั้งระบบ ดังนี้ - นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษา ปีที่ 5 – 6 พฒั นาการอา่ น เขยี น การ คิดวิเคราะห์และการสือ่ สาร โดยใชเ้ ร่อื งราวเลา่ ขานวิถตี าโงะ ในถนิ่ เจาะไอร้อง ใน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 - นกั เรียนชั้นประถมศึกษา ปที ่ี 5 – 6 พัฒนาทกั ษะการคิด สร้างสรรค์ และแก้ปัญหาจากการให้นักเรยี นแตง่ เรือ่ งราวต่างๆ หลากหลาย รูปแบบด้วยตนเอง และจดั ทาเป็นหนังสอื เลม่ เลก็ - ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 4 พัฒนาการอา่ นและเขียน โดยใช้หนงั สอื เสรมิ การอา่ นเกีย่ วกบั เร่ืองราวเล่าขานวิถีตาโงะ ในถิน่ เจาะไอร้อง และหนงั สือ อ่นื ๆที่นักเรียนแตง่ ขน้ึ 2) เปน็ โรงเรยี นต้นแบบจัดการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) รปู แบบ ABL และสามารถเป็นท่ีศึกษาดงู าน 4.4 ด้านผู้ปกครอง ชุมชน และภาคเี ครือขา่ ย 1) ผปู้ กครองและชมุ ชนมีความพึงพอใจในการพัฒนาการอ่าน การเขยี น ระดับมากท่ีสุด 2) ภาคเี ครอื ข่าย เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการสนับสนุนการดาเนินงาน ด้านการให้ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เป็นต้น 3) ชุมชนให้ความไว้วางใจสง่ บุตรหลานมาเขา้ เรยี นในระหวา่ ง ภาคเรียนเพิม่ ขึน้ โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3 หนา้ 5
5. ปจั จัยความสาเรจ็ • understand • attract 5.1 การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา หมายถงึ การบริหารจดั เข้าใจ จงู ใจ การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ โดยมีเปา้ หมายสาคญั ในการสรา้ งโอกาสทาง การศกึ ษาให้กับเดก็ และเยาวชนใหไ้ ด้รบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐานทีม่ ี สานใจ ได้ใจ คุณภาพได้มาตรฐานทางการศึกษาของชาติและสอดคล้องกับความ ต้องการของท้องถนิ่ เปน็ ที่ยอมรับและศรัทธาของนกั เรียน • Weave • trust ผ้ปู กครองและชุมชน โดยมีผลมาจากแนวทางการบริหารการ จัดการดังน้ี 1) บริหารโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA ในขนั้ ตอนการ พฒั นาการอ่านการเขียน P : Plan = วางแผน (ขัน้ สร้างความตระหนัก และให้ความร้)ู D : DO = ปฏบิ ัตติ ามแผน (นาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ) C : Check = ตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผล ประเมินมาวิเคราะห์ ( การนเิ ทศ ติดตาม PLC) A : Action = ปรบั ปรงุ ดาเนินการให้เหมาะสมตาม ผลการประเมิน (สรปุ /รายงาน/เผยแพร่/พัฒนา) 2) การจัดการในรูปแบบ TANGOK MODEL เป็นการพฒั นาผู้เรียนดา้ นการอ่านการเขยี น การส่ือสาร การคิด และการแกป้ ัญหาในลักษณะการทางานเป็นทีมจากโรงเรียน สู่ชุมชน จากพส่ี ่นู อ้ ง มีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning รูปแบบ ABL (Activity Based Learning) การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ กจิ กรรมเป็นฐานเชือ่ มโยงความรใู้ นท้องถ่นิ ที่มอี ยู่ด้ังเดิม ในชุมชน บา้ นตาโงะ และชุมชนใกลเ้ คียงในอาเภอเจาะไอร้อง รว่ มกนั สงั เกต ตรวจสอบ การเรียนรทู้ ่ตี ่อเน่ืองและย่ังยนื 3) บรหิ ารโดยใช้ 4 จ. (เข้าใจ จูงใจ สานใจ และไว้ใจ) การเขา้ ใจความแตกตา่ งของมนษุ ย์ ทาให้เราสามารถ เลอื กมอบหมายหน้าทีก่ ารงานให้ถกู ต้องกับคนแต่ละคน เม่ือเข้า ใจความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ยอ่ มนาไปสู่การจูงใจในการ ทางาน ร่วมกนั ไดง้ า่ ยข้นึ นาเอาความรคู้ วามสามารถของแตล่ ะคนมา เกอื้ กลู กนั จะเกิดพลงั ขึ้นอยา่ งมาก ดังนนั้ จึงจาเป็นท่ีจะต้องมีการ ส่งเสรมิ การทางานเป็นทีม โดยมี “งาน” เป็นตวั สานใจแลว้ เรายัง สามารถใช้“ความชอบ”ทเ่ี หมือนกนั ของแต่ละคนมาเป็นตวั สานใจ โดยผา่ นการทากิจกรรมร่วมกัน แมจ้ ะมีอุปสรรค แตส่ ิ่งทจี่ ะยึดเหน่ยี วให้ทุกคนในองค์กร ร่วมแรงรว่ มใจในการฝ่าฟันอุปสรรคเหลา่ นั้นไปได้ กด็ ้วยใจที่ “รกั และผกู พัน” ตอ่ สถานศึกษาเสมอื นครอบครัวเดยี วกันเกิดความไวใ้ จ ซงึ่ กนั และกนั โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3 หนา้ 6
5.2 การจดั การเรียนรขู้ องครูผสู้ อน โดยใช้ รปู แบบ ABL ทีมทา (Activity-Based Learning) ทร่ี วมศาสตร์ 4 เร่ือง คอื ทมี นา ทมี ประสาน 1) ทฤษฎกี ารเรียนรขู้ อง Bloom (Bloom’s ทีมครู Taxonomy) ทีมคดิ 2) ระบบการสร้างแรงจูงใจ (Reward System) 3) การบรหิ ารเวลา ทีม ทีมทา 4) พิระมดิ แห่งการเรยี นรู้ ทีมสื่อสาร นกั เรียน มีขัน้ ตอนในการจัดการเรยี นร้จู านวน 5 ขั้นตอน 5P ABL ดงั น้ี ทีม 1) Perceive รบั รู้เขา้ ใจ (ครูสอนเน้อื หาใหม่/ใช้สอื่ / สร้ างสรรค์ สาธติ /ใหผ้ ้เู รียนมีส่วนร่วม/นักเรียนสบื คน้ ดว้ ยตนเอง และครู ตรวจสอบการรับรู้เข้าใจของผูเ้ รียน) หนา้ 7 2) Practice ฝกึ ปฏบิ ตั ิ (ผ้เู รียนฝึกทกั ษะตามตัวชี้วัดหรอื จุดประสงค์ทวี่ างไว้) 3) Produce ผลติ ผลงาน (เสรมิ ทักษะการคดิ และปญั หา ให้ผู้เรียนไดผ้ ลิตผลงของตนเองอยา่ งอสิ ระ) 4) Present นาเสนอ (ผู้เรยี นนาเสนอผลงาน) 5) Precis สรปุ อภปิ ราย (ผ้เู รียนอภปิ รายสรุปผลการ เรยี นรู้ หรอื รว่ มสรปุ กบั ครแู ละจดบนั ทึกความคดิ รวบยอดในการ เรยี นร้)ู เพราะเปน็ กิจกรรมท่ีสามารถพัฒนาทักษะนักเรยี นได้ หลายๆด้าน ทาให้ผ้เู รยี นให้เกิดการเรียนรใู้ หบ้ รรลุเปา้ หมายที่ กาหนด สามารถพฒั นาผู้เรียนใหเ้ กดิ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษใน 21 ได้ (เป็นนวตั กรรมของ ศน.ซตี ีคอรีฟาร์ แวอาลี ศน.สพป.นธ.3) 5.3 การทางานเปน็ “ ทีม - Team ” ทีม (Team) หมายถงึ บุคคลที่ทางานร่วมกันอย่างประสานงาน ภายในกลุ่ม เป็นการรวมตวั ของกลุ่มคนที่พ่งึ พาอาศัยกันและกนั ในการทางานเพ่ือให้เกิดผลสาเร็จ การทางานของครใู นรูปแบบของทมี ประกอบด้วย ทีมนา ทมี ทา และทมี ประสาน กาทางานของทมี นักเรียนชัน้ ป.5-6 ประกอบดว้ ย ทมี คิด ทมี ทา ทีมสร้างสรรค์ ทมี สื่อสาร จากการศึกษาแหลง่ เรียนรู้ในท้องถน่ิ นกั เรียนบันทึกใน สมดุ และสามารถผลิตส่อื เองเปน็ ทมี โดยการวางแผนการ ออกแบบสื่อ ในรปู แบบของ “สื่อครู หนทู าได้” โดยใช้ภาษาทง่ี า่ ย น่าอา่ น และถา่ ยทอดผา่ นสอ่ื ในรูปแบบของสมดุ เล่มเล็ก และ หนังสอื ส่งเสริมการอา่ น pop – up ได้วางไว้ในห้องสมดุ ของ โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3
1. มหศั จรรย์ถ่ินตาโงะ หนา้ 8 2. มาร้จู ักถนิ่ เจาะไอร้อง 3. วัฒนธรรมประเพณี สวู่ ิถีตาโงะ 4. มาเช็คอิน ถน่ิ เจาะไอรอ้ ง เป็นตน้ นอกจากนนี้ กั เรยี นสามารถสื่อสารโดยการเล่าเรอ่ื งราววิถี ตาโงะในถนิ่ เจาะไอร้อง กบั น้องๆได้ดี ทาให้นักเรยี นเขา้ ใจวิถชี ีวิต ความเป็นอยู่ของชุมชน มีความภาคภมู ใิ จในท้องถน่ิ ของตนเอง ร้จู กั ทจ่ี ะอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถ่นิ ได้เปน็ อย่างดี 5.4 การใหค้ วามร่วมมือของผู้ปกครองและชุมชน - การให้ข้อมูลเกย่ี วกับวิถีชวี ิตของคนในชมุ ชน - การให้ความรขู้ องวิทยากรประจาฐานการเรยี นรู้ (ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ )เก่ียวกบั สถานทต่ี ่างๆ ไดแ้ ก่ 1) นายอารง ยูโซะ๊ ศูนยแ์ หลง่ เรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพยี งบ้านบเู กะกือจิ 2) นางรอไอดะห์ หะยแี วสาและ ฟารม์ แพะ บ้านตา โงะ-ชอมอง 3) นายสมเจตน์ สะตาปอ วสิ าหกิจชมุ ชนการทาส้ม แขกแห้งและทเุ รยี นกวนในนามของ “แฟมิลี่ เกษตรพานชิ ” 4) นายอบั ดุลรอเซะ มะรือสะ ท่องเท่ียวเชงิ นเิ วศกบั น้าตกบาตลู ีจงิ 5) นายอาบูบาคอรี เจะ๊ หลง ศลิ ปวัฒนธรรมปันจกั สีลตั ส่งผลใหน้ ักเรียนไดร้ บั ความรเู้ กี่ยวกับแหลง่ เรยี นรู้ใกล้ ตัว สามารถเป็นมัคคุเทศกน์ ้อย ภูมใิ จในการท้องถ่ินของตน และมี ความสุขกับการเรยี นรูว้ ิถีชีวิตใกล้บ้าน 6. บทเรียนทีไ่ ดร้ ับ 6.1 การพฒั นาการอา่ นการเขยี นเกีย่ วกบั บรบิ ทในทอ้ งถ่นิ ของตน สรา้ งความสนใจ เพิ่มความตัง้ ใจ สมั ผัสกบั ประสบการณจ์ รงิ ทาให้เกดิ การเรยี นร้ทู ่ีมคี ณุ คา่ การเรียนรทู้ ่คี งทน และสรา้ งเจตคตทิ ี่ ดีต่อวิถชี วี ติ อาชพี ความเปน็ อย่ขู องคนในชุมชนไดด้ ี เกิดความ ภมู ใิ จและรักในท้องถน่ิ ของตนอยา่ งลึกซึ้ง สงั เกตได้จากการเขียน เรอ่ื งราวหรือเลา่ เร่ืองราวได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ผสมผสานภาษา ทอ้ งถน่ิ เพ่ือคงรักษาไว้ในเอกลกั ษณ์อย่างนา่ มหัศจรรย์ โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3
6.2 การจัดการเรยี นการสอน Active Learning ในรปู แบบของ ABL โดยการวางแผนที่เปน็ ระบบเป็นขน้ั ตอน มีเปา้ หมายที่ชดั เจน ส่งผล ตอ่ การพฒั นาผเู้ รยี นได้ดี ได้รับการยอมรับจากทุกคน ทาใหค้ รูทกุ คน ปรบั เปลีย่ นการจดั การเรียนการสอนอย่างเต็มใจ และเตม็ ท่ี 6.3 การประสานความร่วมมือ รว่ มแรง รว่ มใจของทุกภาคส่วนท่ี เกี่ยวข้อง ทงั้ ระดับสพฐ. ระดับเขตพืน้ ที่ ระดับโรงเรียน ชุมชน สง่ ผลให้ การพฒั นาผ้เู รยี นมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล 6.4 การดาเนินกจิ กรรมอย่างตอ่ เน่อื ง สร้างความม่ันใจแก่ ผปู้ กครองและผทู้ ่ีเก่ยี วข้อง 6.5 การนเิ ทศ ติดตาม เป็นตัวขับเคล่อื นที่จะนาสู่การพฒั นา และ ต่อยอดสู่ความเป็นเลิศต่อไป 6.6 การทางานเป็นทมี สามารถเห็นของการทางานของตัวบุคคล ในบทบาทของทมี มีความคิดเหน็ ทีห่ ลากหลาย สร้างความสามัคคี ประชาธิปไตยเกดิ ขน้ึ ได้ในสถานศึกษา 6.7 กจิ กรรม PLC เป็นกจิ กรรมทร่ี ่วมกันวเิ คราะห์ปญั หา ร่วมกนั กาหนดข้นั ตอนการแก้ปัญหา และเป็นการติดตาม ช่วยเหลอื ร่วมกัน โดย ผู้มคี วามรู้ ความเข้าใจ และผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ งในการดาเนินงาน เช่น ครู วิชาการ ศึกษานเิ ทศก์ ครกู ลุ่มสาระทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เป็นตน้ ทาใหก้ าร แกป้ ญั หาไดต้ รงจุด สามารถแก้ไขไดร้ วดเรว็ และต่อเนือ่ ง โรงเรียนบ้านตาโงะ สพป.นราธวิ าส เขต 3 หนา้ 9
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: