สถาบันวจิ ัยและพฒั นาพนั ธกุ รรมสตั วน์ ำ้ข่ า ว ก ร ม ป ร ะ ม ง . กล่มุ เผยแพร่ฝ่ ายประชาสมั พนั ธ์ สานกั งานเลขานกุ ารกรมกรมประมง โทรศพั ทแ์ ละโทรสาร 0 2562 0569 หรือ 0 2562 0600-15 ตอ่ 7710, 7711 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ www.moac.go.th กรมประมง www.fisheries.go.th “จิตรลดา 3” และ “จิตรลดา 4”จากปลานิลพนั ธพ์ุ ระราชทานส่พู นั ธป์ุ ลาเพื่อการเพาะเลีย้ งทางเศรษฐกิจ ปจั จุบนั การเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้าไดท้ วคี วามสาคญั มากยงิ่ ขน้ึ เพราะไมเ่ พยี งเป็นแหล่งอาหารโปรตนี จากเน้ือสตั ว์ท่ีราคาย่อมเยา หากยงั สามารถเพาะเล้ยี งเป็นสตั ว์เศรษฐกิจท่สี รา้ งรายได้ ดงั เช่น ปลานิลท่กี รมประมงไดท้ าการคดั เลอื กและปรบั ปรุงพนั ธุ์ และตงั้ ชอ่ื พนั ธวุ์ ่า “จติ รลดา 3” และ “จติ รลดา 4” ปลานิล มีช่อื วิทยาศาสตร์ว่า Oreochromis niloticus (Linn.) โดยท่ีมาของช่ือชนิด niloticus น้ี มาจากคาว่า Nile หรอื แมน่ ้าไนล์ ซง่ึ เป็นถน่ิ กาเนิดของปลาชนิดน้ี ปลานิลถูกนาเขา้ มาในประเทศไทยครงั้ แรกโดยสมเดจ็ พระจกั รพรรดอิ ากฮิ โิ ตะ เม่อื ครงั้ ดารงตาแหน่งพระอสิ รยิ ยศ มกุฎราชกุมารแห่งประเทศญ่ปี ุ่น ได้ทรงจดั ส่งมาทูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวายแด่พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เม่อื วนั ท่ี 25มนี าคม พ.ศ. 2508 และต่อมาในวนั ท่ี 17 มนี าคม พ.ศ. 2509 ไดพ้ ระราชทานช่อื ปลาชนิดน้ีเป็นภาษาไทยว่า\"ปลานิล\" ซง่ึ มคี วามหมายว่ามสี ดี า หรอื สนี ิล โดยออกเสยี ง nil ตามพยางคต์ ้นของช่อื ชนิด niloticus นนั่ เองในระยะแรกพระองค์ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหป้ ล่อยปลานิลลงเลย้ี งในบ่อภายในบรเิ วณพระตาหนักจิตรลดา เพ่ือทรงทดลองเล้ียงและให้กรมประมงจดั ส่งเจ้าหน้าท่ีวิชาการมาตรวจสอบการเจรญิ เตบิ โต และศกึ ษาดา้ นชวี วทิ ยาของปลานลิ เป็นประจา จนเมอ่ื ทรงเหน็ ว่าสามารถเลย้ี งไดผ้ ลดี กท็ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ยายพนั ธุเ์ พ่อื นาไปแจกจา่ ยใหร้ าษฎรเลย้ี งต่อไป นายอดศิ ร พรอ้ มเทพ อธบิ ดกี รมประมง เปิดเผยว่า ดว้ ยพระวสิ ยั ทศั น์กวา้ งไกลของพระบาทสมเดจ็พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ทต่ี อ้ งการใหป้ ระชาชนชาวไทยมีการกนิ ดอี ยดู่ ี มแี หลง่ อาหารโปรตนี ราคาถูกไวร้ บั ประทาน โดยเม่อื วนั ท่ี 17 มนี าคม พ.ศ. 2509 พระองคไ์ ดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มพระราชทานลูกพนั ธุ์ปลานิลความยาว 3 – 5 เซนติเมตร จานวน 10,000 ตวั ให้แก่กรมประมง เพ่อื นาไปขยายพนั ธุท์ แ่ี ผนกทดลองและเพาะเล้ยี ง ในบรเิ วณเกษตรกลาง บางเขน กรุงเทพฯ และสถานีประมงต่างๆทวั่ ประเทศ เพ่อื ทาการขยายพนั ธุ์และแจกจา่ ยใหก้ บั ราษฎรผสู้ นใจนาไปเลย้ี ง ซง่ึ ในเวลาต่อมาไดเ้ ป็นทร่ี จู้ กัแพร่หลายทวั่ โลกในนาม “Chitralada tilapia” หรอื “ปลานิลจติ รลดา” ทค่ี นไทยรจู้ กั นนั่ เอง ต่อมากรมประมงโดยกองวจิ ยั และพฒั นาและพนั ธุกรรมสตั ว์น้าได้ดาเนินการปรบั ปรุงพนั ธุ์ปลานิล โดยเรมิ่ ต้นจากสายพนั ธุ์จติ รลดาในระยะแรก และได้ดาเนินการมาอย่างต่อเน่ือง จนปจั จบุ นั ไดป้ ลานิลพนั ธุป์ รบั ปรงุ ทม่ี ลี กั ษณะดเี ป็นทต่ี อ้ งการของเกษตรกรผเู้ พาะเลย้ี งสตั วน์ ้าเป็นอยา่ งมาก
สถาบันวจิ ัยและพฒั นาพนั ธกุ รรมสตั วน์ ำ้ดร. พนม กระจ่างพจน์ สอดศุข รกั ษาราชการแทนผอู้ านวยการกองวจิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั วน์ ้ากล่าวว่า กรมประมงตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของปลานลิ ต่อธุรกจิ การเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้าของประเทศไทย จงึ ได้ให้การสนับสนุนงานวิจยั ด้านการพัฒนาการปรบั ปรุงพันธุ์ปลานิลมาอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้ได้ปลานิลท่ีมีลกั ษณะดี มกี ารเจรญิ เติบโตดีข้นึ ให้ผลผลติ และอัตราการรอดตายสูง ปจั จุบันมพี ันธุ์ปลานิลท่ีผ่านการปรบั ปรุงและทดสอบพนั ธุ์ โดยมกี ระแสตอบรบั ท่ีดี มคี วามต้องการอย่างต่อเน่ืองหลงั จากมกี ารผลิตและกระจายพนั ธุส์ ่เู กษตรกรผู้เพาะเลย้ี ง ได้แก่ ปลานิลพนั ธุป์ รบั ปรุงทไ่ี ดร้ บั การตงั้ ช่อื พนั ธุ์ว่า “จติ รลดา 3” และ“จติ รลดา 4” ซง่ึ มรี ายละเอยี ดการปรบั ปรงุ พนั ธุแ์ ละขอ้ มลู ประจาพนั ธุ์ ดงั น้ี “จิตรลดา 3” เป็นพนั ธุ์ปลานิลท่ไี ดร้ บั การพฒั นาปรบั ปรุงพนั ธุ์สาเรจ็ ในปี 2550 โดยปรบั ปรุงจากปลานิลสายพันธุ์ GIFT (Genetic Improvement of Farmed Tilapia) รุ่นท่ี 5 ของหน่วยงาน InternationalCenter for Living Aquatic Resource Management (ICLARM) ประเทศฟิลปิ ปินส์ (ซ่งึ มสี ายพนั ธุ์จติ รลดาดงั้ เดมิ ผสมอยู่ด้วย) “จิตรลดา 3” ผ่านการปรบั ปรุงพนั ธุ์ด้วยวธิ กี ารคดั เลอื กแบบหมู่ (Mass Selection)เพ่อื ใหม้ กี ารเจรญิ เตบิ โตดี มอี ตั รารอดและใหผ้ ลผลติ สงู มลี กั ษณะเด่น คอื หวั เลก็ ตวั หนา เน้ือแน่นและมากปจั จบุ นั หน่วยงานหลกั ท่ที าการผลติ พนั ธุ์ ไดแ้ ก่ ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั วน์ ้าในสงั กดั กองวจิ ยั และพฒั นาพันธุกรรมสตั ว์น้า 4 แห่ง คอื ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั ว์น้าอุตรดิตถ์ ศูนย์วจิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั วน์ ้าบุรรี มั ย์ ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั วน์ ้าเพชรบุรี และศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั วน์ ้าชุมพร “จิตรลดา 4” เป็นพนั ธุ์ปลานิลทไ่ี ด้รบั การพฒั นาปรบั ปรุงพนั ธุ์สาเรจ็ ในปี 2552 โดยปรบั ปรุงจากปลานิลสายพนั ธุ์ GIFT รุ่นท่ี 9 จาก WorldFish Center ประเทศมาเลเซยี (ซง่ึ มสี ายพนั ธุจ์ ติ รลดาดงั้ เดมิ ผสมอยู่ด้วยเช่นกนั ) “จิตรลดา 4” ผ่านการปรบั ปรุงพนั ธุ์ด้วยวธิ กี ารประเมนิ จากค่าการผสมพนั ธุ์ (EstimatedBreeding Value, EBV) ของน้าหนกั เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลผลติ สงู มลี กั ษณะเด่น คอื ส่วนหวั เลก็ ลาตวั กวา้ ง สนั หนาหน่วยงานท่ผี ลติ พนั ธุ์ในปจั จุบนั คอื ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั ว์น้าปทุมธานี ในสงั กดั กองวจิ ยั และพฒั นาพนั ธกุ รรมสตั วน์ ้า จากวนั นนั้ ส่วู นั น้ี ครบรอบ 50 ปีทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ไดพ้ ระราชทานปลานิลใหก้ บั ปวงชนชาวไทย ปจั จบุ นั มฟี ารม์ ปลานิลมากกว่า 300,000 แห่งทัว่ ประเทศ คดิ เป็นผลผลติ จากการเพาะเลย้ี งแต่ละปีมากกว่า 200,000 ตนั สรา้ งอาชพี ใหค้ นเป็นลา้ นคน สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั เกษตรกรไม่น้อยกว่า10,000 ลา้ นบาท และกลายเป็นปลาเศรษฐกจิ ส่งออกทส่ี าคญั ลาดบั ต้นๆ ของประเทศไทย สอบถามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ไดท้ ก่ี องวจิ ยั และพฒั นาพนั ธุกรรมสตั วน์ ้า ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทร. 0 2904 7604,0 2904 7805 และ 0 2904 7446 โทรสาร 0 2577 5061 ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ / พฤศจกิ ายน 2559
สถาบันวจิ ัยและพฒั นาพนั ธกุ รรมสตั วน์ ำ้รปู ประกอบการเผยแพร่ “จิตรลดา 3” “จติ รลดา 4”
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: