Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่2

บทที่2

Published by Thiraphong Phongphaeo, 2021-10-10 01:37:42

Description: 2-200

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ทฤษฏแี ละเอกสารทเ่ี ก่ียวของ 2.1 ลักษณะการดาํ เนินการ 2.1.1 ระบบงานเดิม ในปจจุบันสินคาประเภทยาและสินคาที่เกี่ยวกับสุขอนามัยภายในรานขายยาสุภาวดี เภสัช จะไมมีระบบการจัดเก็บคลังสินคาทําใหไมทราบวาการจัดการสินคาที่มีอยูในรานในลําดับ ของการเขามาของสินคาที่ไมทราบวันหมดอายุท่ีแนนอนและปริมาณของสินคาคงเหลือท่ีเปน ปจจุบัน จึงทําใหเกิดปญหาเมื่อมีลูกคาท่ีจะซ้ือสินคาแลวปริมาณสินคาไมเพียงพอตอความ ตอ งการหรอื สินคา หมดอายโุ ดยไมทราบส่ิงท่ีจําเปนตอรานสุภาวดีเภสัชคือ อาการโรคตางๆ ของ ลูกคาที่เปนตามอาการ เภสัชกรจะเปนคนจายยาใหกับลูกคาตามความสามารถของเภสัชกร แต ในกรณีที่เภสัชกรไมสามารถทํางาน ณ เวลานั้นได ลูกคาที่จะมาซื้อสินคาจะตองรอเภสัชกร เทา นั้นจงึ ทําใหเสยี ผลกาํ ไรตอ รา น แตในบางกรณีมีลกู คา ท่ีเคยมีประวัติแพยาเภสัชกรก็จะจายยา ที่ไมมตี วั ยาท่ลี กู คา แพให แตอ าจจะเกดิ ความผิดพลาดไดเพราะไมมกี ารเก็บประวัติลูกคา 2.1.2 ระบบงานใหม ระบบงานฐานการจัดการรานขายยาผูจัดทําไดนําเว็บไซตมาทําพัฒนาระบบการจัดการ รานขายยา โดยเนื้อหาของระบบประกอบไปดวยขอมูลการแจงเตือน ขอมูลการชําระดานการ ขายสินคาหนาราน ขอมูลโรค ดานขอมูลจัดสง เพ่ือใหระบบมีความทันสมัยตอการตรวจสอบ ขอมูลของผูเขาใชได และอีกท้ังยังทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็วในการคนหา บันทึก แกไข และ รายงานขอมูล ที่มีความปลอดภัยในการเก็บรักษาขอมูลสูง เพื่อท่ีจะสามารถเรียกใชขอมูลราน ขายยาตอไปในอนาคต 2.3.2.1 ดา นระบบแจง เตือน 2.3.2.2 ดานการจดั การขายสนิ คาหนา เว็บไซต 2.3.2.3 ดา นการชําระ 2.3.2.4 ดา นการตดิ ตอ 2.3.2.5 ดานขอมลู ระบบจดั สงสินคา

2.2**โปรแกรมเพือ่ การพฒั นาระบบงาน 2.2.1 โปรแกรม WordPress WordPress (เวิรดเพรสส) คือ โปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชสรางและจัดการเน้ือหาเว็บไซต ประเภท Contents Management System หรือเรียกยอๆ วา \"CMS\" ซ่ึงเขียนดวยภาษา PHP และใชระบบจัดการฐานขอมูล MySQL โดยมีสวนประกอบหลักๆ คือWordPress Core เปน ซอฟตแวรหลัก ใชจัดการเว็บไซต เน้ือหาและบทความตางๆWordPress สามารถแบงไดเปน 2 แบบ คือWordpress.com Wordpress.org ภาพท่ี 2.1 หนาแสดงการเขา สโู ปรแกรม WordPress ภาพท่ี 2.2 หนา จอเขา สูโปรแกรม WordPress

ภาพท่ี 2.3 หนาโปรแกรม WORDPRESS ภาพท่ี 2.4 หนาการเขา สูโ ปรแกรม XAMPP

ภาพท่ี 2.5 หนา จอโปรแกรม XAMPP เลือกมุมขวาบนเพ่อื สรา งฐานขอมูล ภาพที่ 2.6 หนาจอโปรแกรม XAMPP เพื่อสรางฐานขอมูล

2.2.2 โปรแกรม WooCommerce เพ่ือใหเ วบ็ เราใชง านไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ และแพลต็ ฟอรม Ecommerce ออนไลน มาพัฒนาในแบบโอเพนซอรส (Open Source) ที่เราสามารถดาวนโหลดจากเว็บไซตในการชวย ทํางาน WooCommerce.com มาใชง านในระบบของ WordPress ได ภาพท่ี 2.7 การเปด หนา จอตั้งคาใชงาน WOOCOMMERCE ภาพที่ 2.8 หนาจอตงั้ คา ขอ มูลเกย่ี วกบั การสงขอมลู เเละการขายตางๆใชงาน

ภาพที่ 2.8 หนา จอเสร็จสนิ้ การต้งั คา WOOCOMMERCE 2.2.3 PHP PHP คือภาษาคอมพิวเตอรจําพวก scripting language ภาษาจําพวกนี้คําส่ังตางๆ จะเก็บอยูในไฟลท่ีเรียกวา script และเวลาใชงานตองอาศัยตัวแปรชุดคําส่ังตัวอยางของภาษา สตริปตก็เชนJavaScript,Perlเปนตน ลักษณะของ PHP ที่แตกตางจากภาษาสคริปตแบบอ่ืนๆ คือ PHP ไดรับการพัฒนาและออกแบบมา เพ่ือใชงานในการสรางเอกสารแบบ HTMLโดย สามารถสอดแทรกหรือแกไขเนื้อหาไดโดยอัตโนมัติ ดังน้ันจึงกลาววา PHP เปนภาษาที่เรียกวา Server-side หรือ HTML-embedded scripting language นั้นคือในทุกๆ คร้ังกอนที่เครื่อง คอมพิวเตอรซ่ึงใหบริการเปนWeb serverจะสงหนาเว็บเพจท่ีเขียนดวย PHP ใหเรา มันจะทํา การประมวลผลตามคําส่ังที่มอี ยูใ หเ สรจ็ เสยี กอน แลวจึงคอยสงผลลพั ธที่ไดใหเราผลลัพธท่ีไดน้ันก็ คือเว็บเพจที่เราเห็นน่ันเอง ถือไดวาPHP เปนเครื่องมือที่สําคัญชนิดหน่ึงท่ีชวยใหเราสามารถ สราง Dynamic Webpages (เว็บเพจที่มีการโตตอบกับผูใช) ไดอยางมีประสิทธิภาพและมี ลูกเลนมากขึ้น PHP เปนผลงานท่ีเติบโตมาจากกลุมของนักพัฒนาในเชิงเปดเผยรหัสตนฉบับ หรือ OpenSource ดังน้ัน PHP จึงมีการพัฒนาไปอยางรวดเร็ว และแพรหลายโดยเฉพาะอยาง ย่ิงเมื่อใชรวมกับ Apache Webserver ระบบปฏิบัติอยางเชนLinuxหรือ FreeBSD เปนตน ใน ปจจุบัน PHP สามารถใชรวมกับ WebServer หลายๆตัวบนระบบปฏิบัติการอยางเชน Windows95/98/NTขอดีของภาษาPHP 1. ใชไดฟ รี 2. งายตอ การศึกษา เพราะมรี ูปแบบโครงสรา งที่ไมซับซอน 3. เรียนรงู า ยเนือ่ งจากPHPฝงเขาไปในHTMLและใชโ ครงสรา งและไวยากรณภาษางายๆ 4. เรว็ และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมือ่ ใชก ับ Apache Webserver เพราะไมตองใช โปรแกรมจากภายนอก

2.2.4 SQL ภาษาสอบถามขอมูลหรือภาษาจัดการขอมูลอยางมีโครงสรางมีการพัฒนา ภาษาคอมพิวเตอรและโปรแกรมฐานขอมูลที่รองรับมากมาย เพราะจัดการขอมูลไดงาย เชน MySQL, MsSQL, PostgreSQLหรือ MS Access เปนตน สําหรับโปรแกรมฐานขอมูลท่ีไดรับ ความนิยมคือMySQL เปน Open Source ท่ีใชงานไดท้ังใน Linux และ Windows ใชในการ จัดการฐานขอมูลจัดเก็บขอมูล เพ่ิม ลบ แกไข และคนหา รวมทั้งการจัดเรียงขอมูลPHP MyAdmin Database ManagerphpMyAdmin เปน โปรแกรมหนึ่งที่ติดมากับ Appserv เพื่อใช สําหรับการจัดการฐานขอมูล เชนสราง/ลบฐานขอมูล สราง/ลบตาราง จัดการฟลดตางๆ ของ ขอมูล รวมทง้ั การประมวลผลคําสัง่ SQL ขอ ดีของภาษา SQL 1. เปน ภาษาใชง าย 2. ฐานขอ มลู มีขนาดเลก็ 3. มคี วามปลอดภยั ในระดบั ท่ีดี 4. มีความตอ งการทรัพยากรต่าํ 5. สามารถประยกุ ตใชไดโดยงา ย 2.2.5 AppServ คือโปรแกรมท่ีรวบรวมเอา Open Source Software หลายๆ อยางมารวมกันโดย มี Package หลกั ดังนี้ PHP MySQL โปรแกรมตางๆ ท่ีนํามารวบรวมไวท้ังหมดน้ี ไดทําการดาวนโหลดจาก Official Releaseทั้งสิ้นโดยตวั AppServ จึงใหค วามสําคัญวาทุกสิ่งทุกอยางจะตองใหเหมือนกับ ตนฉบับ เราจึงไมไดตัดทอนหรือเพิ่มเติมอะไรท่ีแปลกไปกวา Official Release แตอยางได เพยี งแตม ีบางสวนเทาน้ันที่เราไดเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการติดต้ังใหสอดคลองกับการทํางานแตละคน โดยที่การเพิ่มประสิทธิภาพน้ีไมไดเขาไปรวมในสวนของ Original Package เลยแมแตนอย เพียงแตเ ปน การกําหนดคา Config เทานั้นเชน Apache ก็จะเปนในสวนของ httpd.conf, PHP ก็จะเปนในสวนของ php.ini, MySQL ก็จะเปนในสวนของ my.ini ดังน้ันเราจึงรับประกันไดวา โปรแกรม AppServ สามารถทํางานและความเสถียรของระบบ ไดเหมือนกับ Official Release ทั้งหมดขอ ดขี อง Appserv

2.2.6 ทฤษฏี HTML คือ ภาษาที่ใชในการเขียนเว็บเพจ ยอมาจากคา วา Hypertext Markup Language โดยHypertext หมายถึง ขอความท่ีเชื่อมตอกันผานลิงก (Hyperlink) Markup หมายถงึ วิธีในการเขยี นขอ ความ language หมายถงึ ภาษา ดังนั้น HTML จึงหมายถึง ภาษาที่ใช ในการเขียนขอความ ลงบนเอกสารท่ีตางก็เช่ือมถึงกันใน Cyberspace ผาน Hyperlink นั่นเอง HTML เร่ิมข้ึนเม่ือ ป1990เพื่อตอบสนองความตองการในการส่ือสารแลกเปล่ียนขอมูลกันของ นักวทิ ยาศาสตรระหวางสถาบันและมหาวทิ ยาลัยตางๆทว่ั โลก โดย Tim Berners-Lee นักพัฒนา ของ CERN ไดพัฒนาภาษาท่ีมีรากฐานมาจาก SGML ซึ่งเปนภาษาท่ีซับซอนและยากตอการ เรยี นรู จนมาเปนภาษาท่ีใชไ ดงายและสะดวกในการแลกเปล่ียนเอกสารทางวิทยาศาสตรผานการ เช่ือมโยงกันดวยลิงกในหนาเอกสาร เม่ือWorld Wide Web เปนที่แพรหลาย HTML จึงถูก นํามาใชจนเกิดการแพรหลายออกไปยังทั่วโลกจากความงายตอการใชงานHTML ในปจจุบัน พัฒนามาจนถึง HTML 4.01และ HTML 5 นอกจากนั้นยังมีการพัฒนาไปเปน XHTML ซึ่งคือ Extended HTML มีความสามารถและมาตรฐานท่มี ากกวา เดมิ โดยอยภู ายใตก ารควบคุมของ 2.2.7 โปรแกรม SQL Server หรอื MicrosoftSQL Server คือระบบจัดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (relational database management system หรือRDBMS) ผลิตโดยบริษัท Microsoft เปนระบบฐานขอมูลแบบ Client/Server และรันอยูบนWindow NT ซึ่งใชภาษา T-SQL ในการดึงเรียกขอ มูลดวยเหตุท่ีขอมูลสวนใหญ ทั่วโลกเก็บไวบนเคร่ืองท่ีใช Microsoft Windows เปน Operating System จึงทําใหเปนการ งา ยตอ Microsoft SQL ทจ่ี ะนาํ ขอ มลู ท่ีอยใู นรูป Windows Based มาเกบ็ และประมวลผล และ ประกอบกับการที่ราคาถูกและหางาย จึงเปนปจจัยหลักที่ทํา ให Microsoft SQL จึงเปนระบบ ฐานขอ มูลทมี่ กั จะถกู เลอื กใช

2.3 ทฤษฎแี ละเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ ง 2.3.1**ทฤษฎีระบบฐานขอมูล ระบบฐานขอ มูล คือ ท่ีรวมของฐานขอมูลตาง ๆ หรือที่รวมของขอมูลท้ังหมด ซึ่งอาจจะ ไดจากการคํานวณ หรือประมวลผลตาง ๆ หรืออาจจะไดจากการบันทึกขอมูลโดยผูใช เชน ระบบฐานขอมูลงานทะเบียนนิสิตมหาวิทยาลัยทักษิณ ก็จะรวมเอาฐานขอมูลตาง ๆ เชน ฐานขอ มลู วิชาเรยี น ฐานขอ มลู นิสิต ฐานขอมลู อาจารยผสู อน และ ฐานขอมลู หลักสูตร เปนตน ซ่ึงรวมกันเปนระบบฐานขอมูลของงานทะเบียนนิสิต หรือฐานขอมูลหางรานตาง ๆ ก็จะ ประกอบดวย ฐานขอมูลสินคา ฐานขอมูลลูกคา ฐานขอมูลระบบบัญชีฐานขอมูลลูกหน้ี และ ฐานขอมูลตัวแทนจาหนา ย เปนตน 2.3.1.1 องคป ระกอบของฐานขอมลู ระบบฐานขอมูลสวนใหญเปนระบบที่มีการนําระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยใน การจัดเก็บ โดยมีโปรแกรม Software ชวยในการจัดการขอมูลเหลาน้ีเพื่อใหไดขอมูล ตามทผ่ี ูใชตองการ องคประกอบของฐานขอมลู แบง ออกเปน 5 ประเภท 1)**ฮารดแวร (Hardware) ในระบบฐานขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพควรมี ฮารดแวรตาง ๆ ท่ีพรอมจะอานวยความสะดวกในการบริหารขอมูลไดอยางมี ประสิทธิภาพไมวาจะเปนความเร็วของหนวยประมวลผลกลาง ขนาดของหนวยความจํา หลัก อุปกรณนําเขาและออกขอมูล รายงานหนวยความจําสํารองท่ีจะรองรับการ ประมวลผลขอมูลในระบบไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ 2)**ซอฟตแวร (Software) ในการประมวลผลขอมูลอาจจะใชซอฟตแวรหรือ โปรแกรมท่แี ตกตา งกัน ทั้งนขี้ ึน้ อยูกบั คอมพิวเตอรท ี่นามาใชวาเปนแบบใดโปรแกรมจะทํา หนาท่ีดูแลการสราง การเรียกใชขอมูลการจัดทารายงาน การปรับเปล่ียน แกไข โครงสรางการควบคุม หรืออาจกลาวไดอีกอยางวาระบบจัดการฐานขอมูล คือ โปรแกรมประยุกตตาง ๆ ท่ีมีอยูในฐานขอมูล ตัวอยางเชน DBASE IV, EXCEL, ACCESS, INFORMIX, ORACLE เปน ตน 3)**ซอฟตแวร (Software) ฐานขอมูลเปนการจัดเก็บรวบรวมขอมูลใหเปน ศูนยกลางขอมูลอยางมีระบบ ซึ่งขอมูลเหลาน้ีสามารถเรียกใชรวมกันได ผูใชขอมูลใน ระบบฐานขอมูลจะมองภาพขอมลู ในลกั ษณะทแี่ ตกตา งกนั เชน ผูใชบางคนมองภาพของ ขอ มูลท่ีถกู จัดเกบ็ ไดในสื่อขอ มูล ผใู ชบางคนมองภาพขอ มูลจากการใชงาน เปนตน 4)**บคุ ลากร (People) ในระบบฐานขอมลู จะมบี คุ ลากรทเ่ี ก่ียวของ ดังน้ี 4.1) ผูใชท ั่วไป (User) หมายถึง บคุ ลากรทใ่ี ชขอ มลู จากระบบ

ฐานขอมลู เพอ่ื ใหง านสําเรจ็ ลุลวงได 4.2) พนกั งานปฏบิ ตั ิการ (Operator) หมายถงึ ผูปฏิบัติการดานการ ประมวลผลการปอ นขอ มลู เขาเครอ่ื งคอมพิวเตอร 4.3) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) หมายถึง ผูท่ีมีหนาท่ีเขียน โปรแกรมประยุกตใชงานตาง ๆ เพื่อใหจัดเก็บขอมูล การเรียกใชขอมูลเปนไปตาม ตองการของผใู ช 4.4) นักวิเคราะหและออกแบบระบบ (System Analyst)หมายถึง บคุ ลากรที่ทําหนาทว่ี ิเคราะหร ะบบฐานขอ มลู และออกแบบระบบงานทจี่ ะนามาใช 4.5)**ผูบริหารฐานขอมูล (Database Administrator) หมายถึง บุคลากรทท่ี าหนา ท่ีบริการและควบคมุ การบรหิ ารงานของระบบฐานขอมลู ท้งั หมด 5)**ขั้นตอนปฏิบัติงาน (Procedure) ในระบบฐานขอมูลท่ีดีจะตองมีการจัดทา เอกสารที่ระบุขั้นตอนการทางานของหนาท่ีตาง ๆ ระบบฐานขอมูลทั้งในสภาวะปกติ และในสภาวะทรี่ ะบบเกดิ ขัดขอ งมปี ญ หา ซึ่งเปนขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงานสําหรับบุคลากร ในทุกระดับขององคก ร 2.3.1.2**ระบบการจัดการฐานขอมูล ระบบการจดั การฐานขอ มลู หมายถึง โปรแกรม หรือ ซอฟตแ วรท ี่ทําหนาที่ ในการบริหารและจัดการฐานขอมูลในการสราง การเรียกใช การปรับปรุงฐานขอมูล เปนเสมือนตัวกลางระหวางผูใชงานกับระบบฐานขอมูล โปรแกรมท่ีใชในการจัดการ ฐานขอ มลู เชน Microsoft Access, Oracle, My SQL หรอื SQL Sever 1)**ภาษาระบบจัดการฐานขอมลู 1.1)**ภาษาท่ีใชกําหนดโครงสรางหรือนิยามขอมูล (Data Definition Language : DDL) เปนภาษาท่ีใชกําหนดโครงสรางขอมูล ซ่ึง DBA เปนผูกําหนดไว ผลจากการแปลงเปน ภาษา DDL แลว จะทําใหไ ดต ารางทจ่ี ดั เกบ็ พจนานกุ รม 1.2)**ภาษาสําหรับการใชขอมูล (Data Manipulation Language DML) เปนภาษาท่ีใชติดตอกับ DBMS เพ่ือดึงขอมูล คนหาขอมูล แกไข หรือ ลบขอมลู 2.3.1.3**หนา ท่ีของระบบการจดั การฐานขอ มูล 1)**ทําหนาท่ีแปลงคําส่ังที่ใชจัดการกับขอมูลในฐานขอมูล ใหอยูใน รปู แบบท่ีฐานขอ มลู เขา ใจได

2)**ทําหนา ท่นี าํ คําสง่ั ทไ่ี ดรบั การแปลแลว ไปส่งั ใหฐานขอมูลทํางาน เชน การเรียกใชขอมูล (Retrieve) การจัดเก็บขอมูล (Update) การลบขอมูล (Delete) การ เพมิ่ ขอ มลู (Add) เปนตน 3)**ทําหนาที่ปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้นกับขอมูลภายในฐานขอมูล โดยตรวจสอบวาคําส่ังใดทํางานได คําสั่งใดทํางานไมได หรือจัดทําระบบสํารองและการ กคู ืนใหก ลบั สภาพการทํางานสูสภาวะปกติ 4) ทําหนาทรี่ กั ษาความสัมพนั ธของขอมูลในฐานขอมูลใหม ีความถูกตอง 5)**ทําหนาที่จัดเก็บรายละเอียดตาง ๆ ท่ีเก่ียวของภายในฐานขอมูลไว ใน Data Dictionary รายละเอยี ดเหลา น้เี รยี กวา “คาํ อธบิ ายขอมลู (Metadata)” 6)**ทําหนาท่คี วบคุมใหฐานขอ มลู ทางานไดอยางถูกตองและ มีประสิทธิภาพ เชน ควบคุมการใชขอมูลพรอมกันของผูใชระบบ (Concurrency Control) ควบคมุ ความบรู ณภาพของขอ มูล (Integrity Control) 7)**ทําหนาท่ีประสานงานกับระบบปฏิบัติการท่ีควบคุมการทํางานของ อปุ กรณตา ง ๆ ใหส ามารถเรยี กใช แกไ ขขอมูล หรอื ออกรายงานกับอุปกรณท ี่เกีย่ วของได 2.3.1.4**วงจรการพัฒนาระบบงาน SDLC วงจรการพัฒนาระบบงาน ( System Development Life Cycle : SDLC ) หมายถึง ข้ันตอนหรือกระบวนการในการพัฒนาระบบงาน ซึ่งมีจุดเร่ิมตนในการทํางาน และจุดส้ินสุดของการปฏิบตั ิงาน 2.3.1.5**ขัน้ ตอนการพฒั นาระบบงาน SDLC 1)**การวางแผน (Planning) เปนข้ันตอนการการวางแผนงานโดย กาํ หนดรูปแบบของซอฟตแวร ประมาณการตนทุนในการพัฒนาระบบ กําหนด แนวทางของการพฒั นาระบบ กําหนดระยะเวลา เปนตน 2)**การวเิ คราะหความตอ งการ (Analysis) เปนขั้นตอนของการคนหา ความตองการของระบบ และวิเคราะหความตองการนั้น เพ่ือใหเขาใจภาพรวม และหนาที่การทาํ งานของระบบ 3)**การออกแบบ*(Design) เปนข้ันตอนการออกแบบสวนประกอบ ตาง*ๆ*ของซอฟตแวร* เพือ่ ใหตรงกบั ความตองการท่ไี ดว ิเคราะหมาแลว 4)**การเขยี นโปรแกรม*(Development)*เปน ขนั้ ตอนการสรางระบบ โดยการเขียนโปรแกรม ตามแนวทางการออกแบบจากข้นั ตอนท่ีผานมา

5)**การทดสอบ*(Testing)*เปนข้ันตอนการนําระบบท่ีทํามาทดสอบ การใชงาน*วาทํางานถูกตองตามความตองการที่ไดหรือไม*ซ่ึงการทดสอบนี้จะ รวมถงึ การทดสอบการเชอ่ื มโยงกับระบบซอฟตแ วรอ ่ืนๆท่เี กีย่ วของดว ย 6)**การประเมิน*เปนขั้นตอนการประเมินวาระบบท่ีผานการทดสอบ แลว *เหมาะสมทีจ่ ะนําไปใชง านไดหรอื ไม 7)**การโอนยายขอมูล*(Data*Conversion) *เปนขั้นตอนการนํา ขอมูลเกาเขา ระบบใหมกอ นการนาํ ระบบไปใชจริง 8)**การนําไปใชง านงานจริง*(Production) *เปนข้ันตอนท่ีนําระบบท่ี พัฒนาสําเร็จและผานการทดสอบแลวไปใชงาน*โดยทําการติดต้ัง และสอน วิธกี ารใชงานแกผ ูใช 9)**การใหความชวยเหลือ (Support) เปนขั้นตอนของการใหความ ชวยเหลือตอผูใช*เม่ือพบปญหา*โดยหากปญหาที่เกิดไมสามารถแกไขได* จะตองทําการพัฒนาระบบเพมิ่ เติม*ก็จะเร่ิมวนไปท่ีขั้นตอนแรกใหม 3.3.2 ทฤษฎสี ี สเี ปน สงิ่ ท่มี ีความสา คญั ตอ วิถชี ีวิต นบั แตส มัยดึกด าบรรพจ นถงึ ปจจบุ นั ไดน าสมี าใชใหเกิดประโยชนโดยใชเปนสญั ลกษั ณใ นการถา ยทอดความหมายอยา ง สจี งึ เปน ส่ิงท่คี วรศกึ ษาเพ่ือใชประโยชนก บัวิถีชวี ติ ของเราเพราะสรรพส่ิงทงัหลายท่ีแวดล อม ตวเั ราประกอบไปดวย สที งัสน้ิ ในงานศลิ ปะสีเปนองคป ระกอบสําคญั อยา งหนึง่ และ ในวถิ ีชวี ิตของเราสเี ป นองคป ระกอบท่ีมีอทิ ธิพลตอ ความรูสกึ อารมณ และจิตใจแมส ี ประกอบดวย สแี ดง สเี หลืองและสีนา เงิน เมื่อนาแมส ที งัสามมาผสมกนั ในอตรั าสว น ตา ง ๆ ก็จะเกิดสนี มามากมายประโยชนจากการทเ่ี ราน าสีมาผสมกันท าใหเ รา สามารถ เลอื กสตี าง ๆ มาใชไดตามความพอใจ สรางสรรคผ ลงานศิลปะทง่ี ดงามตามความพอใจ ขอผสู รางสีทีเ่ กดิ จากการน าเอาแมสมี าผสมกัน เกิดสีใหมเม่ือมาจัดเรียงอยางเปน ระบบ รวมเรยี กวาวงจรส1ี . แดง2. สเี หลอื ง3. สีนา เงินสีขนท่ี 2 (Binary Color) คือสีท่ีเกิด จากกาท่ี 1 หรือแมส ีมาผสมกันในอัตราสว นเทา กนั จะทาใหเกดิ สใี หม 3 สีไดแก 1. สีเขยี วเกดิ จากการนา เอา สีเหลืองกบั สีนา เงนิ มาผสมกนั ในอตัราสว นเทา 2. สสี ม เกิดจากการน าเอา สีเหลอื ง กบั สีแดง มาผสมกนั ในอัตราสวนทเี่ ทา 3. สมี วง เกิดจากการนา เอา สนี า เงนิ กบั สแี ดง มาผสมกนั ในอตัราสว นท่เี ทา - สแี ดงแกมมวง เกิดจากการผสมกันระหวา งสีแดงกับสีมวงอยา งละเทา ๆกนั

- สแี ดงแกมสม เกดิ จากการผสมกันระหวางสแี ดงกับสสี มอยางละเทาๆกัน - สเี หลอื งแกมสม เกิดจากการผสมกนั ระหวางสเี หลอื งกบั สีสมอยา งละเทาๆกนั - สนี า เงินแกมเขียวเกิดจากการผสมกนัระหวา งสีนา เงินกบั สีเขียวอยา งละเทาๆ คณุ ลกั ษณะของสมี ี 3 ประการ คือ - สีแทหรือความเป นส(ี Hue) หมายถึงสีที่อยใ นวงจรสีธรรมชาติทง ั 12 สี สีท่ีเราเห็นอยทู ุกวนั นแ บงเปน 2วรรณะโดยแบง วงจรสีออกเปน 2 สวน จากสีเหลือง น้าํ าหนกั ของสี (Value) เปน การใชคานา หนกัในระดบั ตาง ๆ กนั และมีสีหลาย เปนสเี ดยี วกจ็ ะ มีลกัษณะเปน สีเอกรงคก ารองสีจะทา ใหเกดิ ความกลมกลืน ลึกถามีคา นา หนกั หลาย ๆ ระดบั สกี ็จะกลมกลนื กนั มากขน แตถ ามเี พียง1 - 2 ระดับที่ หางกนั ใหเกิดความแตกตางความรูส กึ ของสกี ารใชวรรณะรอนเชนสแี ดงสม ทา ใหเกิด ความรสู ึกอบอนุ เคล่ือนไหวส่ิงตาง ๆ ท่ีเราสมั ผัสดว ยสายตา ความรสู ึกขน ภายในตอเรา ทนั ทีที่เรามองเห็นสีไมว าจะเปน การแตง กาย บา นที่อยอู าศัย เคร่ืองใชต าง ๆ แลวเรา จะท าอยางไร จึงจะใชสีไดอยางดี 2.3.3 การเขียนผังงาน ยังไมไดท าํ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook