[พมิ พท์ น่ี ่ี]
ประกาศโรงเรยี นวัดทงุ่ นาใหม่ เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ทุง่ นาใหมพ่ ทุ ธศักราช 256๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) ---------------------------------------------------------- กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามคำส่ัง กระทรวง ศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวนั ท่ี 7 สิงหาคม 2560 และคำสงั่ สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ท่ี 30/2561 ลงวนั ท่ี 5 มกราคม 2561 ให้เปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรยี นรู้และ ตวั ช้ีวัด กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ. ศ. 2560) โดยมีคำสง่ั ให้ โรงเรียน ดำเนินการใชห้ ลกั สตู รในปกี ารศึกษา 2561 โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ตัง้ แต่ปี การศึกษา 2561 เป็นต้นมา ในปกี ารศึกษา 2562 ให้ใช้หลักสตู รในชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 2 3 4 และ 5 และในปี 2563 ให้ใชท้ กุ ระดับชั้น โรงเรยี นวัดทุง่ นาใหม่ สังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) และเอกสารประกอบ หลกั สูตรขนึ้ เพอื่ ใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นวัดทงุ่ นาใหม่ โดยจัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการ เรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคน สามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ ทง้ั น้ี หลกั สตู รโรงเรยี นได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เม่ือ วันท่ี 20 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2565 จึงประกาศให้ใชห้ ลักสตู รโรงเรียนตง้ั แต่บดั นีเ้ ป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 20 เดอื นเมษายน พ.ศ. 2565 (นายยุทธนากร ปรีชา) (นางสาวเพชรลดา สมเพชร) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั ทงุ่ นาใหม่ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ก
คำนำ หลักสูตรโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ได้จัดทำขนึ้ ตามแนวทางที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และเป็นไปตามมาตรา 27 วรรค สอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ซ่ึง กำหนดให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักการ จุดหมายของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด เพื่อตอบสนองต่อความต้องการในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาใน ชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในหลักสูตรโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ ประกอบด้วย ความสำคัญ คณุ ภาพผเู้ รียน โครงสรา้ งเวลาเรียน สาระมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วัดรายปี คำอธิบายรายวิชา การจัดหน่วยการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สื่อการเรียน แหล่ง เรียนรู้ ซ่ึงทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในหลักสูตรโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบบั น้ี เพือ่ ใหผ้ ทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ งได้เข้าใจ และสามารถนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและบรรลผุ ลตามท่ีต้องการ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในหลักสูตรโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไป ด้วยดีก็ด้วยความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วมดำเนินการ ทางโรงเรียนจึงขอขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสน้ี คณะผจู้ ดั ทำ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ข
สารบญั หน้า ก เร่อื ง ข ประกาศโรงเรยี นวัดทงุ่ นาใหม่ ค คำนำ สารบญั 1 สว่ นท่ี 1 4 ความนำ 32 สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดชัน้ ปี 46 สว่ นท่ี 2 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา 78 โครงสรา้ งรายวชิ าคณติ ศาสตร์ สว่ นที่ 3 99 คำอธิบายรายวชิ า 101 ส่วนท่ี 4 102 แนวการจัดการเรยี นรู้ ๑๐๙ การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ คำอภธิ านศัพท์ ภาคผนวก คำสงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการกล่มุ สาระการเรียนรู้ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ สว่ นท่ี 1 ความนำ ทำไมต้องเรยี นคณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคญั ย่ิงตอ่ การพฒั นาความคดิ มนุษย์ ทำใหม้ นุษย์มีความคิดสรา้ งสรรค์ คิด อย่างมีเหตผุ ล เปน็ ระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหป์ ัญหาหรอื สถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้ คาดการณ์ วางแผน ตดั สินใจ แกป้ ัญหา และนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากน้ี คณิตศาสตร์ยังเปน็ เคร่ืองมือในการศกึ ษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละศาสตรอ์ ื่น ๆ คณติ ศาสตรจ์ งึ มี ประโยชน์ตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ให้ดขี ้ึน และสามารถอยูร่ ว่ มกับผู้อื่นได้อยา่ งมคี วามสุข เรียนรอู้ ะไรในคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เปิดโอกาสให้เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ตาม ศักยภาพ โดยกำหนดสาระหลกั ที่จำเป็นสำหรับผเู้ รยี นทุกคนดังน้ี • จำนวนและการดำเนินการ: ความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจำนวน ระบบจำนวนจริง สมบัติ เกี่ยวกับจำนวนจริง การดำเนินการของจำนวน อัตราส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน และการใช้ จำนวนในชวี ิตจรงิ • การวัด: ความยาว ระยะทาง นำ้ หนกั พน้ื ที่ ปรมิ าตรและความจุ เงนิ และเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรโี กณมิติ การแก้ปัญหาเกีย่ วกับการวัด และการนำความรู้เก่ียวกับการ วัดไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ • เรขาคณิต: รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณติ ทฤษฎีบททางเรขาคณติ การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation)ใน เรือ่ งการเล่ือนขนาน (translation) การสะทอ้ น (reflection) และการหมนุ (rotation) • พีชคณิต: แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซตและการดำเนินการของเซต การให้เหตุผล นิพจน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนุกรม เรขาคณิต • การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น: การกำหนดประเด็น การเขียนข้อคำถาม การกำหนดวิธี การศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การนำเสนอข้อมูล ค่ากลางและการกระจายของข้อมูล การวเิ คราะหแ์ ละการแปลความข้อมลู การสำรวจความคดิ เห็น ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้เกยี่ วกับสถิติและ ความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการตดั สนิ ใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน • ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์: การแกป้ ญั หาดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย การให้เหตผุ ล การ สอื่ สาร การสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตรแ์ ละการนำเสนอ การเช่อื มโยงความร้ตู ่างๆ ทางคณติ ศาสตร์ และการ เชือ่ มโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตรอ์ ื่นๆ และความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑
คณุ ภาพผูเ้ รียน จบช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ • มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ และการดำเนินการของจำนวน สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้ง ตระหนักถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ เวลาและเงิน สามารถวดั ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม และนำความรูเ้ กยี่ วกบั การวัดไปใช้แกป้ ัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก รวมท้ัง จุด ส่วนของเสน้ ตรง รังสี เส้นตรง และมุม • มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั แบบรูป และอธบิ ายความสัมพนั ธไ์ ด้ • รวบรวมข้อมูล และจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่พบเห็นใน ชวี ิตประจำวนั และอภปิ รายประเด็นตา่ ง ๆ จากแผนภูมริ ปู ภาพและแผนภมู ิแท่งได้ • ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง เชื่อมโยงความรูต้ ่าง ๆ ในคณติ ศาสตร์และเช่อื มโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อน่ื ๆ มีความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ จบชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ • มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับและศูนย์ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน สามตำแหน่ง ร้อยละ การดำเนินการของจำนวน สมบัตเิ กย่ี วกบั จำนวน สามารถแก้ปัญหาเก่ียวกับการบวก การ ลบ การคูณ และการหารจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง และร้อยละ พร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตสุ มผลของคำตอบท่ไี ด้ สามารถหาค่าประมาณของจำนวนนบั และทศนิยมไม่เกินสามตำแหนง่ ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผงั และขนาดของมมุ สามารถวดั ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม และนำความรู้เกีย่ วกับการวดั ไปใช้แก้ปัญหา ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม ทรง ส่เี หลย่ี มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปรซิ มึ พรี ะมดิ มมุ และเสน้ ขนาน • มีความร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับแบบรูปและอธบิ ายความสัมพนั ธ์ได้ แกป้ ัญหาเก่ยี วกบั แบบรปู สามารถ วิเคราะห์สถานการณ์หรือปัญหาพร้อมทั้งเขียนให้อยู่ในรูปของสมการเชิงเส้นที่มีตัวไม่ทราบค่าหนึ่งตัวและแก้ สมการนั้นได้ • รวบรวมข้อมูล อภิปรายประเด็นต่าง ๆ จากแผนภมู ิรปู ภาพ แผนภมู แิ ท่ง แผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ แผนภูมริ ปู วงกลม กราฟเสน้ และตาราง และนำเสนอข้อมูลในรปู ของแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง เปรียบเทียบ และกราฟเส้น ใชค้ วามรู้เกี่ยวกับความนา่ จะเปน็ เบื้องต้นในการคาดคะเนการเกดิ ข้ึนของเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ได้ • ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่าง เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒
ถูกต้องและเหมาะสม เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมี ความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ สาระมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัดชั้นปี สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของ จำนวน ผลทเี่ กดิ ขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะหร์ ปู แบบ ความสมั พนั ธ์ ฟงั ก์ชนั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีต้องการวัด และ นำไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณติ สมบัตขิ องรปู เรขาคณติ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งรูป เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระที่ ๓ สถติ ิและความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้สถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลกั การนบั เบอื้ งต้น ความน่าจะเปน็ และนำไปใช้ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวนผลท่ีเกดิ ขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้ ค 1.1 ป.1/1 บอกจำนวนของสงิ่ ตา่ ง ๆ จำนวนนบั 1 ถงึ 100 และ 0 แสดงส่ิงต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อา่ นและ - การนับทีละ 1 และทีละ 10 เขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดง - การอา่ นและการเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบิก จำนวนนบั ไมเ่ กิน 100 และ 0 ตวั เลขไทยแสดงจำนวน ค 1.1 ป.1/2 เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกนิ - การแสดงจำนวนนบั ไม่เกิน 20 ในรูปความสมั พนั ธ์ ของจำนวนแบบสว่ นย่อย – ส่วนรวม 100 และ 0 โดยใช้เครื่องหมาย = > < (Part – Whole Relationship) - การบอกอันดับที่ ค 1.1 ป.1/3 เรยี งลำดบั จำนวนนับไม่เกนิ - หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และ 100 และ 0 ต้ังแต่ 3 ถงึ 5 จำนวน การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย - การเปรยี บเทยี บจำนวนและการใช้เครอ่ื งหมาย =>< - การเรยี งลำดบั จำนวน ค 1.1 ป.1/4 หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ใน การบวก การลบ จำนวนนบั 1 ถงึ 100 และ 0 ประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวกและประโยค - ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ สญั ลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไมเ่ กนิ การหาผลบวก การหาผลลบ และความสมั พันธ์ 100 และ 0 ของการบวกและการลบ ค 1.1 ป.1/5 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ - การแก้โจทย์ปญั หาการบวก โจทย์ปญั หาการลบ และการสรา้ งโจทย์ปัญหา พร้อมทงั้ หาคำตอบ ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบของ จำนวนนบั ไม่เกิน 100 และ 0 สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค. 1.2 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั กช์ ัน ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.2 ป.1/1 ระบจุ ำนวนท่ีหายไปในแบบรูป แบบรปู ของจำนวนทีเ่ พิม่ ข้ึนหรือลดลงทลี ะ 1 และทีละ - แบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่ิมขึ้นหรอื ลดลงทีละ 1 10 และระบรุ ปู ท่หี ายไปในแบบรูปซ้ำของรปู และทีละ 10 เรขาคณิตและรูปอ่นื ๆ ท่ีสมาชกิ ในแตล่ ะชุดที่ - แบบรูปซ้ำของจำนวน รปู เรขาคณิตและรปู อื่น ๆ ซำ้ มี 2 รูป เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔
สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพน้ื ฐานเกี่ยวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ท่ตี ้องการวดั และนำไปใช้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้ ค 2.1 ป.1/1 วดั และเปรียบเทียบความยาว เปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร ความยาว - การวัดความยาวโดยใชห้ น่วยทไ่ี ม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน ค 2.1 ป.1/2 วดั และเปรียบเทียบนำ้ หนกั เป็น - การวัดความยาวเปน็ เซนตเิ มตร เป็นเมตร กโิ ลกรัม เป็นขีด - การเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนตเิ มตร เป็นเมตร - การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกย่ี วกับ ความยาวท่มี หี นว่ ยเปน็ เซนตเิ มตร เป็นเมตร นำ้ หนกั - การวัดน้ำหนกั โดยใชห้ นว่ ยท่ไี มใ่ ช่หนว่ ยมาตรฐาน - การวัดน้ำหนักเปน็ กิโลกรัม เปน็ ขีด - การเปรียบเทยี บน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั เปน็ ขีด - การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก การลบเกีย่ วกับนำ้ หนัก ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรมั เปน็ ขดี สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค. 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณติ สมบัตขิ องรูปเรขาคณติ ความสัมพันธร์ ะหว่างรปู เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ ค 2.2 ป.1/1 จำแนกรูปสามเหล่ียม รปู รูปเรขาคณิตสองมติ ิและรูปเรขาคณิตสามมติ ิ ส่ีเหล่ยี ม วงกลม วงรี ทรงสเี่ หล่ยี มมมุ ฉาก - ลกั ษณะของทรงส่เี หลย่ี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ทรงกระบอก กรวย - ลักษณะของรปู สามเหลย่ี ม รูปสเ่ี หล่ยี ม วงกลม และวงรี สาระที่ 3 สถติ ิและความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค. 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการแกป้ ัญหา ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ ค 3.1 ป.1/1 ใชข้ ้อมูลจากแผนภูมริ ปู ภาพใน การนำเสนอขอ้ มูล การหาคำตอบของโจทย์ปญั หา เมื่อกำหนดรูป - การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ 1 รูปแทน 1 หนว่ ย เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๕
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 สาระ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วัด สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค. 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวนผลท่เี กิดขน้ึ จากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.2/1 บอกจำนวนของสงิ่ ตา่ ง ๆ จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 แสดงส่งิ ต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อา่ นและ - การนับทลี ะ 2 ทลี ะ 5 ทลี ะ 10 และทีละ 100 เขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสอื - การอา่ นและการเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบิก แสดงจำนวนนับไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 ตัวเลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวน ค 1.1 ป.2/2 เปรยี บเทียบจำนวนนบั ไม่เกนิ - จำนวนคู่ จำนวนค่ี- - หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียน 1,000 และ 0 โดยใช้เครื่องหมาย = > < ตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวน ค 1.1 ป.2/3 เรยี งลำดบั จำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ต้ังแต่ 3 ถึง 5 จำนวนจาก สถานการณต์ ่าง ๆ ค 1.1 ป.2/4 หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าใน การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ ประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวกและประโยค ไม่เกิน 1,000 และ 0 สญั ลกั ษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไม่เกนิ - การบวกและการลบ 1,000 และ 0 - ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร ค 1.1 ป.2/5 หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ใน การหาผลคณู การหาผลหารและเศษ และ ประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน 1 ความสัมพนั ธข์ องการคูณและการหาร - การบวก ลบ คณู หารระคน หลักกบั จำนวนไม่เกิน 2 หลัก ค 1.1 ป.2/6 หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าใน - การแก้โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทย์ปัญหา ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการหารท่ตี วั ต้ังไม่เกิน พรอ้ มทงั้ หาคำตอบ 2 หลกั ตวั หาร 1 หลัก โดยที่ผลหารมี 1 หลกั ท้งั หารลงตัวและหารไม่ลงตวั ค 1.1 ป.2/7 หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คูณ หาร ระคนของจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๖
สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค. 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้ (มกี ารจดั การเรยี นการสอน เพอ่ื เป็นพ้ืนฐาน แบบรูป แตไ่ ม่วดั ผล) - แบบรปู ของจำนวนท่ีเพิ่มขน้ึ หรอื ลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 - แบบรูปซ้ำ สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเกีย่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีต้องการวัด และนำไปใช้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้ ค 2.1 ป.2/1 แสดงวธิ หี าคำตอบของ โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั เวลาท่มี หี น่วยเดี่ยวและเป็น เวลา หนว่ ยเดยี วกัน - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง 5 นาที) - การบอกระยะเวลาเปน็ ชัว่ โมง เป็นนาที ค 2.1 ป.2/2 วดั และเปรียบเทยี บความยาว - การเปรยี บเทียบระยะเวลาเปน็ ชั่วโมง เป็นนาที เปน็ เมตรและเซนติเมตร - การอา่ นปฏิทนิ ค 2.1 ป.2/3 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกับเวลา ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับความยาวทม่ี ี หนว่ ยเปน็ เมตรและเซนติเมตร ความยาว - การวดั ความยาวเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร ค 2.1 ป.2/4 วดั และเปรียบเทยี บนำ้ หนกั เป็น - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร กิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขีด - การเปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสมั พันธร์ ะหว่าง ค 2.1 ป.2/5 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ ปัญหาการบวก การลบเก่ยี วกับน้ำหนกั ท่ีมี เมตรกบั เซนตเิ มตร หน่วยเปน็ กิโลกรัมและกรมั กิโลกรมั และขีด - การแกโ้ จทย์ปัญหาเก่ยี วกบั ความยาวท่มี ีหนว่ ยเปน็ เมตร ค 2.1 ป.2/6 วดั และเปรียบเทยี บปรมิ าตร และเซนตเิ มตร และความจุเปน็ ลิตร นำ้ หนัก - การวดั นำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขดี - การคาดคะเนน้ำหนกั เป็นกโิ ลกรัม - การเปรยี บเทยี บนำ้ หนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง กิโลกรมั กบั กรัม กโิ ลกรมั กับขีด - การแก้โจทย์ปัญหาเก่ยี วกับนำ้ หนักที่มหี นว่ ยเป็น กิโลกรมั และกรัม กิโลกรมั และขดี ปริมาตรและความจุ - การวดั ปรมิ าตรและความจุโดยใชห้ น่วยทไ่ี มใ่ ช่ หนว่ ยมาตรฐาน - การวัดปริมาตรและความจเุ ป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๗
ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้ - การเปรยี บเทยี บปริมาตรและความจุเป็นชอ้ นชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง ลติ ร - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกับปรมิ าตรและความจุ ทมี่ ีหน่วยเปน็ ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวง ลติ ร สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูป เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ค 2.2 ป.2/1 จำแนกและบอกลกั ษณะของ รปู เรขาคณติ สองมิติ รปู หลายเหลยี่ มและวงกลม - ลักษณะของรปู หลายเหลี่ยม วงกลม และวงรี และการเขยี นรปู เรขาคณิตสองมติ โิ ดยใชแ้ บบของรปู สาระท่ี 3 สถิติและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้ ค 3.1 ป.2/1 ใชข้ อ้ มูลจากแผนภมู ิรปู ภาพ การนำเสนอขอ้ มูล ในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หาเม่อื กำหนดรูป - การอา่ นแผนภมู ิรูปภาพ 1 รปู แทน 2 หน่วย 5 หนว่ ย หรือ 10 หนว่ ย เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๘
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลทเ่ี กิดขึน้ จากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก จำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 ตวั เลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนบั ไมเ่ กนิ - การอา่ น การเขยี นตัวเลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทยและ 100,000 และ 0 ตวั หนงั สอื แสดงจำนวน - หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขียน ค 1.1 ป.3/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับ จำนวนนับไมเ่ กิน 100,000 จากสถานการณ์ ตวั เลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย ต่างๆ - การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดับจำนวน ค 1.1 ป.3/3 บอก อา่ นและเขียนเศษส่วน เศษสว่ น แสดงปริมาณสงิ่ ต่างๆ และแสดงส่ิงตา่ งๆ ตาม - เศษสว่ นทีต่ ัวเศษน้อยกว่าหรือเทา่ กบั ตัวส่วน เศษสว่ นทีก่ ำหนด - การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดับเศษสว่ น ค 1.1 ป.3/4 เปรยี บเทยี บเศษสว่ นท่ตี ัวเศษ เท่ากัน โดยที่ตัวเศษน้อยกวา่ หรือเท่ากับตวั สว่ น ค 1.1 ป.3/5 หาค่าของตัวไมท่ ราบคา่ ใน การบวก การลบ การคณู การหารจำนวนนบั ประโยคสญั ลักษณ์ แสดงการบวกและประโยค ไม่เกิน 100,000 และ 0 สัญลกั ษณแ์ สดงการลบของจำนวนนับไม่เกนิ - การบวกและการลบ 100,000 และ 0 - การคูณการหารยาวและการหารสนั้ - การบวก ลบ คณู หารระคน ค 1.1 ป.3/6 หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าใน - การแก้โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทยป์ ญั หา ประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคณู ของจำนวน 1 หลักกบั จำนวนไม่เกิน 4 หลกั และจำนวน พร้อมทง้ั หาคำตอบ 2 หลัก กับจำนวน 2 หลกั ค 1.1 ป.3/7 หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ใน ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลกั ตัวหาร 1 หลัก ค 1.1 ป.3/8 หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 ค 1.1 ป.3/9 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ ปญั หา 2 ขัน้ ตอน ของจำนวนนับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๙
ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.3/10 หาผลบวกของเศษสว่ นท่มี ีตัว การบวก การลบเศษส่วน สว่ นเท่ากนั และผลบวกไม่เกนิ 1 และหาผลลบ - การบวกและการลบเศษส่วน ของเศษสว่ นท่มี ตี ัวส่วนเทา่ กัน - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หา ค 1.1 ป.3/11 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ การลบเศษส่วน ปญั หาการบวกเศษสว่ นท่ีมีตัวส่วนเท่ากันและ ผลบวกไม่เกนิ 1 และโจทยป์ ัญหาการลบ เศษส่วนที่มตี ัวสว่ นเทา่ กัน สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพนั ธ์ ฟังกช์ นั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.2 ป.3/1 ระบจุ ำนวนทีห่ ายไปในแบบรปู แบบรูป ของจำนวนท่ีเพม่ิ ข้ึนหรือลดลงทีละเท่า ๆ กนั แบบรูปของจำนวนที่เพมิ่ ข้นึ หรอื ลดลงทีละเท่าๆกัน สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีต้องการวดั และนำไปใช้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้ ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของ เงนิ โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั เงนิ - การบอกจำนวนเงนิ และเขียนแสดงจำนวนเงนิ แบบใช้ จดุ - การเปรียบเทียบจำนวนเงนิ และการแลกเงิน - การอา่ นและเขียนบนั ทึกรายรับรายจา่ ย การแกโ้ จทย์ ปัญหาเก่ยี วกบั เงนิ ค 2.1 ป.3/2 แสดงวธิ ีหาคำตอบของ เวลา โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับเวลาและระยะเวลา - การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที - การเขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค(.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมงและนาที - การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พันธ์ ระหวา่ งชว่ั โมงกับนาที - การอ่านและการเขยี นบนั ทึกกิจกรรมทีร่ ะบุเวลา - การแก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั เวลาและระยะเวลา เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๐
ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.3/3 เลอื กใช้เครื่องวดั ความยาวที่ ความยาว เหมาะสมวดั และบอก ความยาวของสิง่ ต่างๆ - การวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร เปน็ เซนติเมตรและมิลลิเมตรเมตรและ เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร เซนตเิ มตร - การเลอื กเครื่องวดั ความยาวที่เหมาะสม ค 2.1 ป.3/4 คาดคะเนความยาวเปน็ เมตร - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็นเซนตเิ มตร - การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใช้ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง และเป็นเซนตเิ มตร ค 2.1 ป.3/5 เปรยี บเทียบความยาวระหว่าง หน่วยความยาว เซนติเมตรกบั มิลลเิ มตร เมตรกับเซนติเมตร - การแก้โจทย์ปญั หาเก่ยี วกับความยาว กิโลเมตรกบั เมตรจากสถานการณต์ า่ งๆ ค 2.1 ป.3/6 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ ปญั หาเกยี่ วกบั ความยาว ท่มี ีหน่วยเปน็ เซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร ค 2.1 ป.3/7 เลือกใช้เคร่ืองชัง่ ท่ีเหมาะสม นำ้ หนัก วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด - การเลอื กเคร่อื งชงั่ ทีเ่ หมาะสม กโิ ลกรัมและกรัม - การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกโิ ลกรัมและเป็นขีด ค 2.1 ป.3/8 คาดคะเนน้ำหนักเป็นกโิ ลกรมั - การเปรยี บเทียบนำ้ หนักโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง และเป็นขดี กโิ ลกรมั กับกรมั เมตริกตนั กบั กโิ ลกรมั ค 2.1 ป.3/9 เปรยี บเทียบนำ้ หนักระหว่าง - การแก้โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับน้ำหนัก กิโลกรมั กบั กรมั เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรัมจาก สถานการณ์ต่างๆ ค 2.1 ป.3/10 แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักท่ีมีหน่วยเป็น กิโลกรัมกบั กรัม เมตริกตนั กับกิโลกรมั ค 2.1 ป.3/11 เลือกใชเ้ ครือ่ งตวงทเ่ี หมาะสม ปริมาตรและความจุ วัดและเปรียบเทยี บปริมาตรความจุเปน็ ลติ ร - การวดั ปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตรและมลิ ลลิ ติ ร และมิลลลิ ิตร - การเลือกเคร่อื งตวงทเ่ี หมาะสม ค 2.1 ป.3/12 คาดคะเนปริมาตรและความจุ - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลติ ร เป็นลิตร - การเปรยี บเทยี บปรมิ าตรและความจุโดยใช้ความสมั พันธ์ ค 2.1 ป.3/13 แสดงวิธีหาคำตอบของ ระหวา่ งลิตรกบั มิลลิลติ ร ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวงกับ โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั ปรมิ าตรและความจทุ ่ีมี มลิ ลิลิตร การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ปริมาตรและความ หน่วยเปน็ ลิตรและมลิ ลลิ ิตร จุทีม่ ีหน่วยเป็นลติ รและมลิ ลลิ ติ ร เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๑
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสัมพันธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มี รปู เรขาคณติ สองมิติ แกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร รูปทมี่ แี กนสมมาตร สาระที่ 3 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามร้ทู างสถิติในการแก้ปัญหา ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ ค 3.1 ป.3/1 เขียนแผนภมู ริ ปู ภาพ และใช้ ข้อมลู จากแผนภมู ริ ปู ภาพในการหาคำตอบของ การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอขอ้ มลู โจทยป์ ัญหา - การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และจำแนกข้อมูล - การอ่านและการเขียนแผนภมู ิรปู ภาพ ค 3.1 ป.3/2 เขยี นตารางทางเดียวจากขอ้ มูล - การอา่ นและการเขียนตารางทางเดียว ท่ีเปน็ จำนวนนบั และใช้ข้อมลู จากตาราง ทางเดียวในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา (One-Way Table) เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๒
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบัตขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.4/1 อ่านและเขยี นตวั เลขฮินดูอา จำนวนนับทีม่ ากกว่า 100,000 และ 0 รบิก ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจำนวน - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทยและ นับท่มี ากกว่า 100,000 ตวั หนงั สือแสดงจำนวน ค 1.1 ป.4/2 เปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับ - หลกั ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดด ในแตล่ ะหลักและการเขียนตวั เลขแสดงจำนวน จำนวนนบั ทม่ี ากกว่า 100,000 จาก ในรูปกระจาย สถานการณต์ ่างๆ - การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับจำนวน - คา่ ประมาณของจำนวนนับและการใช้เครื่องหมาย ค 1.1 ป.4/3 บอกอ่านและเขยี นเศษส่วน เศษสว่ น จำนวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงส่งิ - เศษสว่ นแท้ เศษเกนิ ตา่ งๆ ตามเศษส่วน จำนวนคละทก่ี ำหนด - จำนวนคละ ค 1.1 ป.4/4 เปรียบเทยี บเรยี งลำดบั - ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนคละและเศษเกนิ เศษสว่ นและจำนวนคละที่ตวั ส่วนตัวหนงึ่ เป็น - เศษสว่ นท่ีเท่ากัน เศษส่วนอย่างตำ่ พหคุ ณู ของอีกตัวหน่งึ และเศษส่วนท่เี ทา่ กับจำนวนนับ - การเปรยี บเทียบ เรียงลำดบั เศษส่วนและจำนวนคละ ค 1.1 ป.4/5 อา่ นและเขียนทศนยิ มไมเ่ กนิ 3 ทศนิยม ตำแหนง่ แสดงปริมาณของส่งิ ต่างๆ และแสดง - การอ่านและการเขยี นทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำแหน่ง สิง่ ตา่ งๆ ตามทศนยิ มทก่ี ำหนด ค 1.1 ป.4/6 เปรียบเทยี บและเรยี งลำดบั ตามปริมาณท่กี ำหนด ทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำแหนง่ จากสถานการณ์ - หลัก คา่ ประจำหลัก ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลักของ ตา่ งๆ ทศนิยม และการเขยี นตวั เลขแสดงทศนิยม ค 1.1 ป.4/7 ประมาณผลลัพธข์ องการบวก ในรูปกระจาย การลบ การคูณ การหารจากสถานการณ์ต่างๆ - ทศนิยมที่เทา่ กนั อย่างสมเหตุสมผล - การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับทศนิยม การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ ท่มี ากกว่า 100,000และ 0 - การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร - การบวกและการลบ - การคณู และการหาร เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๓
ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ ค 1.1 ป.4/8 หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าใน - การบวก ลบ คณู หารระคน ประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวกและประโยค - การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทยป์ ญั หา สัญลกั ษณแ์ สดงการลบของจำนวนนับท่ี พร้อมทง้ั หาคำตอบ มากกว่า 100,000และ 0 ค 1.1 ป.4/9 หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าใน ประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการคูณของจำนวน หลายหลกั 2 จำนวน ท่ีมีผลคณู ไมเ่ กนิ 6 หลัก และประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารทต่ี ัวตัง้ ไม่ เกนิ 6 หลัก ตวั หารไม่เกนิ 2 หลกั ค 1.1 ป.4/10 หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนับ และ 0 ค 1.1 ป.4/11 แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ ปญั หา2ข้นั ตอนของจำนวนนบั ทีม่ ากกวา่ 100,000 และ 0 ค 1.1 ป.4/12 สร้างโจทย์ปัญหา 2 ขน้ั ตอน ของจำนวนนบั และ 0 พร้อมทง้ั หาคำตอบ ค 1.1 ป.4/13 หาผลบวกผลลบของเศษส่วน การบวก การลบเศษส่วน และจำนวนคละท่ีตวั ส่วนตัวหนง่ึ เป็นพหคุ ูณ - การบวก การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ ของอีกตวั หนง่ึ - การแก้โจทยป์ ัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา ค 1.1 ป.4/14 แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ การลบเศษส่วนและจำนวนคละ ปัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบ เศษสว่ นและจำนวนคละทตี่ วั ส่วนตวั หนึง่ เปน็ พหคุ ูณของอีกตวั หนึ่ง ค 1.1 ป.4/15 หาผลบวก ผลลบของทศนยิ ม การบวก การลบทศนิยม ไม่เกนิ 3 ตำแหนง่ - การบวก การลบทศนยิ ม ค 1.1 ป.4/16 แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบ ทศนยิ ม ปัญหาการบวก การลบ 2 ขน้ั ตอนของทศนิยม ไมเ่ กิน 2 ขนั้ ตอน ไมเ่ กนิ 3 ตำแหนง่ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๔
สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค.1.2 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ ัน ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้ (มีการจดั การเรยี นการสอนเพื่อเป็นพน้ื ฐาน แต่ แบบรปู ไม่วัดผล) - แบบรูปของจำนวนทเี่ กิดจากการคูณ การหาร ด้วยจำนวนเดยี วกัน สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพน้ื ฐานเกีย่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตอ้ งการวัดและนำไปใช้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.4/1 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ ปญั หาเกี่ยวกับเวลา เวลา - การบอกระยะเวลาเปน็ วนิ าที นาที ชวั่ โมง ค 2.1 ป.4/2 วัดและสรา้ งมุม โดยใช้ โพรแทรกเตอร์ วนั สัปดาห์ เดอื น ปี ค 2.1 ป.4/3 แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ - การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ ปัญหาเก่ยี วกบั ความยาวรอบรูปและพ้นื ทีข่ อง รูปส่ีเหล่ยี มมุมฉาก ระหวา่ งหนว่ ยเวลา - การอา่ นตารางเวลา - การแก้โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกบั เวลา การวดั และสร้างมุม - การวัดขนาดของมุมโดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ - การสรา้ งมุมเม่ือกำหนดขนาดของมมุ รูปส่เี หลีย่ มมุมฉาก - ความยาวรอบรูปของรปู สเ่ี หลี่ยมมมุ ฉาก - พื้นที่ของรูปสเี่ หล่ยี มมุมฉาก - การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรปู และพื้นทข่ี องรูปสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๕
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรปู เรขาคณติ ความสัมพันธ์ระหว่างรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้ ค 2.2 ป.4/1 จำแนกชนดิ ของมมุ บอกช่ือมุม รูปเรขาคณติ สว่ นประกอบของมมุ และเขียนสัญลักษณแ์ สดง - ระนาบ จดุ เส้นตรง รงั สี ส่วนของเสน้ ตรงและ มุม สญั ลกั ษณ์แสดงเส้นตรง รงั สี สว่ นของเสน้ ตรง ค 2.2 ป.4/2 สร้างรปู สี่เหล่ยี มมุมฉากเม่ือ - มมุ o ส่วนประกอบของมมุ กำหนดความยาวของด้าน o การเรียกช่อื มมุ o สัญลกั ษณ์แสดงมมุ o ชนิดของมุม - ชนิดและสมบัติของรูปสเี่ หลยี่ มมุมฉาก - การสรา้ งรปู สเ่ี หล่ยี มมุมฉาก สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถติ ิในการแก้ปญั หา ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ ค 3.1 ป.4/1 ใช้ข้อมลู จากแผนภมู แิ ทง่ ตาราง การนำเสนอข้อมูล สองทางในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา - การอา่ นและการเขยี นแผนภมู แิ ท่ง (ไมร่ วมการย่นระยะ) - การอา่ นตารางสองทาง (Two-Way Table) เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๖
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 สาระ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ช้ีวัด สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลท่เี กิดข้ึนจากการดำเนินการ สมบตั ิของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ ค 1.1 ป.5/1 เขียนเศษส่วนทีม่ ตี วั สว่ นเปน็ ทศนิยม ตัวประกอบของ 10 หรอื 100 หรอื 1,000 - ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเศษสว่ นและทศนิยม ในรปู ทศนยิ ม - คา่ ประมาณของทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ตำแหนง่ ทเี่ ปน็ จำนวนเตม็ ทศนยิ ม 1 ตำแหนง่ ค 1.1 ป.5/2 แสดงวิธหี าคำตอบของ และ 2 ตำแหน่ง การใช้เคร่อื งหมาย โจทยป์ ัญหาโดยใชบ้ ญั ญัติไตรยางศ์ จำนวนนับและ 0 การบวก การลบ การคณู และการหาร - การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ ค 1.1 ป.5/3 หาผลบวก ผลลบของเศษสว่ น เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหารเศษสว่ น และจำนวนคละ - การเปรียบเทียบเศษสว่ นและจำนวนคละ ค 1.1 ป.5/4 หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วน - การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ - การคูณ การหารของเศษส่วนและจำนวนคละ และจำนวนคละ ค 1.1 ป.5/5 แสดงวิธีหาคำตอบของ - การบวก ลบ คณู หารระคนของเศษส่วนและ โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคณู จำนวนคละ การหารเศษส่วน 2 ขัน้ ตอน - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเศษสว่ นและจำนวนคละ ค 1.1 ป.5/6 หาผลคูณของทศนยิ มที่ผลคูณ การคณู การหารทศนยิ ม เปน็ ทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ตำแหน่ง - การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ ค 1.1 ป.5/7 หาผลหารทต่ี วั ต้งั เป็นจำนวน การหารทศนิยม นับหรือทศนิยมไมเ่ กิน 3 ตำแหน่ง และ - การคูณทศนิยม ตวั หารเป็นจำนวนนบั ผลหารเปน็ ทศนิยม - การหารทศนิยม ไมเ่ กนิ 3 ตำแหน่ง - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกย่ี วกับทศนิยม ค 1.1 ป.5/8 แสดงวธิ หี าคำตอบของ โจทยป์ ัญหาการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม 2 ข้นั ตอน ค 1.1 ป.5/9 แสดงวิธหี าคำตอบของ รอ้ ยละหรือเปอรเ์ ซน็ ต์ โจทย์ปญั หาร้อยละไม่เกนิ 2 ขน้ั ตอน - การอา่ นและการเขยี นร้อยละหรือเปอรเ์ ซ็นต์ - การแก้โจทย์ปญั หารอ้ ยละ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๗
สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกย่ี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ที่ตอ้ งการวัด และนำไปใช้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.5/1 แสดงวธิ หี าคำตอบของ โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั ความยาวทีม่ ีการ ความยาว เปล่ียนหนว่ ยและเขียนในรูปทศนยิ ม - ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหน่วยความยาว ค 2.1 ป.5/2 แสดงวิธหี าคำตอบของ เซนติเมตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกับเซนติเมตร โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั น้ำหนักท่ีมีการ กโิ ลเมตรกบั เมตร โดยใชค้ วามรูเ้ รือ่ งทศนิยม เปล่ยี นหนว่ ยและเขยี นในรปู ทศนยิ ม - การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกับความยาวโดยใช้ความรู้ เรอ่ื งการเปลีย่ นหน่วยและทศนิยม ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธหี าคำตอบของ - โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับปริมาตรของทรงส่ีเหลีย่ ม มุมฉากและความจขุ องภาชนะทรงสีเ่ หลย่ี ม น้ำหนกั มมุ ฉาก - ความสัมพันธ์ระหวา่ งหนว่ ยนำ้ หนกั กโิ ลกรมั กับกรมั โดยใชค้ วามรูเ้ รอื่ งทศนยิ ม - การแกโ้ จทย์ปัญหาเก่ียวกับน้ำหนกั โดยใชค้ วามรู้ เร่ืองการเปลี่ยนหนว่ ยและทศนิยม - ปริมาตรและความจุ - ปรมิ าตรของทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉากและความจุ ของภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉาก - ความสัมพันธ์ระหวา่ ง มิลลลิ ติ ร ลติ ร ลกู บาศก์เซนติเมตร และลกู บาศก์เมตร - การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับปรมิ าตรของ ทรงส่เี หล่ยี มมุมฉากและความจขุ องภาชนะ ทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก ค 2.1 ป.5/4 แสดงวธิ ีหาคำตอบของ รูปเรขาคณติ สองมติ ิ โจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั ความยาวรอบรูปของรูป - ความยาวรอบรปู ของรูปสเ่ี หลีย่ ม สี่เหล่ยี ม และพื้นท่ีของรูปสีเ่ หลย่ี มดา้ นขนาน - พน้ื ท่ขี องรปู ส่เี หล่ยี มดา้ นขนาน และรูปส่ีเหลีย่ มขนมเปียกปูน และรูปส่ีเหลย่ี มขนมเปียกปูน - การแก้โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับความยาวรอบรปู ของรูปส่เี หลีย่ มและพน้ื ทข่ี องรปู สี่เหลีย่ มดา้ นขนาน และรูปสเ่ี หลย่ี มขนมเปียกปนู เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๘
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรปู เรขาคณติ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งรูป เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ ค 2.2 ป.5/1 สร้างเส้นตรงหรือสว่ นของเส้นตรงให้ รูปเรขาคณิต ขนานกับเสน้ ตรงหรือสว่ นของเส้นตรงท่ีกำหนดให้ - เส้นต้งั ฉากและสัญลักษณ์แสดงการตงั้ ฉาก - เส้นขนานและสญั ลักษณแ์ สดงการขนาน ค 2.2 ป.5/2 จำแนกรปู สเี่ หล่ยี มโดยพิจารณาจาก - การสร้างเส้นขนาน สมบตั ขิ องรูป - มุมแย้ง มมุ ภายในและมมุ ภายนอกท่อี ยบู่ นขา้ ง ค 2.2 ป.5/3 สรา้ งรูปส่ีเหล่ียมชนดิ ต่าง ๆ เม่อื กำหนดความยาวของด้านและขนาดของมมุ หรือเม่ือ เดยี วกนั ของเสน้ ตดั ขวาง (Transversal) กำหนดความยาวของเสน้ ทแยงมุม รปู เรขาคณติ สองมิติ ค 2.2 ป.5/4 บอกลกั ษณะของปริซมึ - ชนิดและสมบัตขิ องรปู ส่ีเหลีย่ ม - การสรา้ งรปู สี่เหล่ียม รูปเรขาคณิตสามมติ ิ - ลักษณะและส่วนตา่ ง ๆ ของปรซิ ึม สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้ ค 3.1 ป.5/1 ใชข้ ้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบ การนำเสนอขอ้ มูล ของโจทยป์ ญั หา - การอ่านและการเขยี นแผนภูมิแทง่ ค 3.1 ป.5/2 เขยี นแผนภูมิแทง่ จากข้อมูลท่ีเปน็ - การอ่านกราฟเสน้ จำนวนนับ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๑๙
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สาระ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชี้วัด สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลท่เี กดิ ขึน้ จากการดำเนินการ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ ค 1.1 ป.6/1 เปรยี บเทยี บ เรียงลำดับ เศษสว่ น เศษส่วนและจำนวนคละ จากสถานการณ์ - การเปรียบเทียบและเรียงลำดบั เศษสว่ นและ ต่าง ๆ จำนวนคละโดยใช้ความรูเ้ รือ่ ง ค.ร.น. ค 1.1 ป.6/2 เขียนอตั ราส่วนแสดงการ อัตราสว่ น เปรียบเทียบปริมาณ 2 ปรมิ าณ จากข้อความ - อัตราสว่ น อตั ราสว่ นทีเ่ ท่ากัน และมาตราส่วน หรอื สถานการณ์ โดยทป่ี ริมาณแต่ละปริมาณ เป็นจำนวนนบั ค 1.1 ป.6/3 หาอัตราส่วนทเ่ี ท่ากับอตั ราส่วน ทก่ี ำหนดให้ ค 1.1 ป.6/4 หา ห.ร.ม. ของจำนวนนบั ไม่ จำนวนนบั และ 0 เกิน 3 จำนวน - ตวั ประกอบ จำนวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และ ค 1.1 ป.6/5 หา ค.ร.น. ของจำนวนนบั ไม่ การแยกตวั ประกอบ เกิน 3 จำนวน - ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ค 1.1 ป.6/6 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ - การแก้โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ปญั หาโดยใชค้ วามรู้เก่ยี วกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ค 1.1 ป.6/7 หาผลลัพธข์ องการบวก ลบ คณู การบวก การลบ การคณู การหารเศษสว่ น หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ - การบวก การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ ค 1.1 ป.6/8 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ โดยใช้ความรู้เรอ่ื ง ค.ร.น. ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ 2 - 3 ขนั้ ตอน - การบวก ลบ คณู หารระคนของเศษสว่ นและ จำนวนคละ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเศษสว่ นและจำนวนคละ ค 1.1 ป.6/9 หาผลหารของทศนยิ มท่ีตัวหาร ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหาร และผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กิน 3 ตำแหน่ง - ความสัมพนั ธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนยิ ม ค 1.1 ป.6/10 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ - การหารทศนิยม ปญั หาการบวก การลบ การคูณ การหาร - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกีย่ วกับทศนิยม ทศนิยม 3 ขน้ั ตอน (รวมการแลกเงินตา่ งประเทศ) เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๐
ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.6/11 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ อตั ราสว่ นและร้อยละ ปญั หาอตั ราสว่ น - การแก้โจทยป์ ัญหาอัตราสว่ นและมาตราส่วน - การแกโ้ จทย์ปัญหารอ้ ยละ ค 1.1 ป.6/12 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ ปญั หารอ้ ยละ 2 - 3 ขั้นตอน สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสัมพันธ์ ฟังกช์ ัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.2 ป.6/1 แสดงวิธีคดิ และหาคำตอบของ แบบรปู ปัญหาเก่ยี วกับแบบรูป - การแก้ปัญหาเกีย่ วกับแบบรปู สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเกี่ยวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ตี ้องการวัด และนำไปใช้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.6/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ ปริมาตรและความจุ ปัญหาเก่ยี วกับปริมาตรของรูปเรขาคณิต - ปรมิ าตรของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ป่ี ระกอบด้วย สามมิติท่ีประกอบดว้ ยทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉาก ทรงส่เี หล่ียมมุมฉาก - การแกโ้ จทย์ปญั หาเกี่ยวกบั ปริมาตรของรปู เรขาคณติ สามมิตทิ ป่ี ระกอบด้วยทรงสีเ่ หลีย่ มมมุ ฉาก ค 2.1 ป.6/2 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ รปู เรขาคณติ สองมติ ิ ปญั หาเกย่ี วกับ ความยาวรอบรูปและพนื้ ทขี่ อง - ความยาวรอบรปู และพ้นื ท่ขี องรูปสามเหลี่ยม รูปหลายเหลี่ยม - มุมภายในของรปู หลายเหลยี่ ม ค 2.1 ป.6/3 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ - ความยาวรอบรปู และพ้นื ทขี่ องรปู หลายเหลี่ยม ปัญหาเก่ียวกับ ความยาวรอบรูปและพื้นทข่ี อง - การแก้โจทย์ปญั หาเกยี่ วกับความยาวรอบรปู วงกลม และพืน้ ที่ของรปู หลายเหล่ยี ม - ความยาวรอบรปู และพน้ื ทข่ี องวงกลม - การแก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับความยาวรอบรปู และพนื้ ทขี่ องวงกลม เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๑
สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณติ ความสัมพันธร์ ะหว่างรูป เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้ รูปเรขาคณติ สองมติ ิ ค 2.2 ป.6/1 จำแนกรูปสามเหลี่ยมโดย - ชนดิ และสมบตั ิของรปู สามเหลยี่ ม พิจารณาจากสมบตั ิของรูป - การสรา้ งรปู สามเหลยี่ ม ค 2.2 ป.6/2 สรา้ งรูปสามเหลีย่ มเมอื่ กำหนด ความยาวของด้านและขนาดของมุม รปู เรขาคณิตสามมติ ิ - ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พรี ะมิด ค 2.2 ป.6/3 บอกลกั ษณะของรูปเรขาคณิต รูปคลีข่ องทรงกระบอก กรวย ปริซึม พีระมิด สามมิติชนดิ ต่าง ๆ ค 2.2 ป.6/4 ระบรุ ปู เรขาคณิตสามมติ ิท่ี ประกอบจากรูปคลแี่ ละระบรุ ูปคลีข่ องรูป เรขาคณติ สามมติ ิ สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการแกป้ ัญหา ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ ค 3.1 ป.6/1 ใช้ขอ้ มูลจากแผนภูมิรปู วงกลม การนำเสนอข้อมูล ในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา - การอ่านแผนภูมริ ปู วงกลม เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๒
สว่ นที่ 2 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช ๒๕๖3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ไดก้ ำหนดโครงสร้างของหลกั สตู รสถานศึกษา เพอ่ื ให้ ผ้สู อนและผทู้ เ่ี ก่ียวข้องในการจดั การเรียนรตู้ ามหลักสตู รของสถานศึกษามแี นวปฏบิ ตั ิ ดังนี้ ระดบั การศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช ๒๕๖3 กำหนดหลักสูตรเป็น ๒ ระดับ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และตามภารกิจหลกั ของการจดั การเรยี นการสอนในระดับประถมศึกษา ดงั น้ี ระดบั ประถมศึกษา (ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖) การศกึ ษาระดบั นีเ้ ป็นช่วงแรกของการศึกษา ภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรยี นรู้ทางสังคม และพ้นื ฐานความเปน็ มนุษย์ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลท้ังใน ดา้ นร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สงั คม และวฒั นธรรม โดยเนน้ จดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจดั เวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ได้กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ำสำหรับกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งผู้สอนสามารถเพิ่มเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้นของ สถานศกึ ษา โดยสามารถปรับใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของผู้เรียน ดังน้ี ๑. ระดับช้นั ประถมศึกษา (ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๖) จัดเวลาเรยี นเปน็ รายปี โดยมเี วลาเรยี นวันละ 6 ชว่ั โมง โครงสรา้ งหลักสตู ร โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียนและ โครงสรา้ งหลักสูตรช้นั ปี โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ ทเ่ี ปน็ เวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพมิ่ เติม และเวลาในการจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน จำแนกแตล่ ะช้ันปีในระดบั ประถมศึกษา ดงั นี้ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๓
โครงสร้างเวลาเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ท่งุ นาใหม่พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) รายวิชาพ้นื ฐาน ช้ัน ป. 1 ชั้น ป. 2 ชัน้ ป. 3 ชัน้ ป. 4 ชนั้ ป. 5 ชน้ั ป. 6 ภาษาไทย ท 11101 ท 12101 ท 13101 ท 14101 ท 15101 ท 16101 200 200 200 160 160 160 คณติ ศาสตร์ ค 11101 ค 12101 ค 13101 ค 14101 ค 15101 ค 16101 200 200 200 160 160 160 วทิ ยาศาสตร์ ว 11101 ว 12101 ว 13101 ว 14101 ว 15101 ว 16101 สงั คมศึกษา 120 120 80 80 80 120 ส 15101 ส 16101 ส 11101 ส 12101 ส 13101 ส 14101 80 80 40 40 40 80 ประวตั ศิ าสตร์ ส 11102 ส 12102 ส 13102 ส 14102 ส 15102 ส 16102 40 40 40 40 40 40 สุขศกึ ษาและพลศึกษา พ 11101 พ 12101 พ 13101 พ 14101 พ 15101 พ 16101 40 40 40 40 40 40 ศิลปะ ศ 11101 ศ 12101 ศ 13101 ศ 14101 ศ 15101 ศ 16101 40 40 40 80 80 80 การงานอาชีพ ง 11101 ง 12101 ง 13101 ง 14101 ง 15101 ง 16101 ภาษาอังกฤษ 40 40 40 40 40 40 อ 15101 อ 16101 อ 11101 อ 12101 อ 13101 อ 14101 120 120 160 160 160 120 รวมเวลาเรยี น(พน้ื ฐาน) 840 840 840 840 840 840 รายวิชาเพิม่ เติม คอมพิวเตอร์ 40 40 40 40 40 40 รวมรายวิชาเพมิ่ เติม 40 40 40 40 40 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 120 120 120 120 120 กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 ลกู เสอื / เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 ชมรม ชุมนมุ 30 30 30 30 30 30 กิจกรรมเพ่อื สังคมและ 10 10 10 10 10 10 สาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นทัง้ สิ้น 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๔
โครงสร้างหลกั สตู รชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนวดั ทงุ่ นาใหม่ รหัส กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ป)ี ท ๑๑๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐ ว ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๒๐๐ ส ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ส ๑๑๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑ ๘๐ พ ๑๑๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๑ 40 ศ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ง ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐ อ ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๑ ๔๐ ว 11201 ๑60 รายวชิ าเพ่มิ เติม 40 คอมพิวเตอร์ ๑ 4๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐ แนะแนว ๔๐ ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐ ชุมนุม ๑๐ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๕
โครงสร้างหลักสตู รช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ โรงเรียนวดั ทงุ่ นาใหม่ รหัส กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป)ี ท ๑๒๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐ ว ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ ๒๐๐ ส ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ส ๑๒๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๒ ๘๐ พ ๑๒๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๒ 40 ศ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๒ ๔๐ ง ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๔๐ อ ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ๒ ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๒ ๔๐ ว 12201 ๑60 รายวิชาเพ่มิ เติม 40 คอมพิวเตอร์ 2 4๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐ แนะแนว ๔๐ ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐ ชุมนุม ๑๐ กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ 5 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๖
โครงสร้างหลักสตู รชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนวดั ทงุ่ นาใหม่ รหัส กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ป)ี ท ๑๓๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐ ว ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ ๒๐๐ ส ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ส ๑๓๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๘๐ พ ๑๓๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๓ 40 ศ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๓ ๔๐ ง ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๔๐ อ ๑๓๑๐๓ การงานอาชีพ๓ ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๓ ๔๐ ว 13201 ๑60 รายวิชาเพ่มิ เติม 40 คอมพิวเตอร์ 3 4๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐ แนะแนว ๔๐ ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐ ชุมนุม ๑๐ กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๗
โครงสร้างหลกั สูตรชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ โรงเรยี นวัดทุ่งนาใหม่ รหสั กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี) ท ๑๔๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐ ว ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๑๖๐ ส ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ 120 ส ๑๔๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔ พ ๑๔๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๔ ๘๐ ศ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔ ๔๐ ง ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ 40 อ ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔ ๘๐ ภาษาอังกฤษ ๔ 40 ว 14201 120 รายวชิ าเพมิ่ เติม 40 คอมพวิ เตอร์ 4 4๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๔๐ แนะแนว ๔๐ ลกู เสือ เนตรนารี ๓๐ ชุมนุม ๑๐ กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๘
โครงสร้างหลกั สูตรชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นวัดทุ่งนาใหม่ รหสั กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี) ท ๑๕๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐ ว ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑๖๐ ส ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ 120 ส ๑๕๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕ พ ๑๕๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๕ ๘๐ ศ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๕ ๔๐ ง ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๕ 40 อ ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ ๘๐ ภาษาอังกฤษ ๔ 40 ว 15201 120 รายวชิ าเพมิ่ เติม 40 คอมพวิ เตอร์ 5 4๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๔๐ แนะแนว ๔๐ ลกู เสือ เนตรนารี ๓๐ ชุมนุม ๑๐ กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒๙
โครงสร้างหลกั สูตรชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ โรงเรยี นวัดทุ่งนาใหม่ รหสั กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี) ท ๑๖๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๘๔๐) ค ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐ ว ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๑๖๐ ส ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ 120 ส ๑๖๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖ พ ๑๖๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๖ ๘๐ ศ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๔๐ ง ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ 40 อ ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖ ๘๐ ภาษาองั กฤษ ๖ 40 ว 16201 120 รายวชิ าเพมิ่ เติม 40 คอมพวิ เตอร์ 6 4๐ (๑๒๐) กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๔๐ แนะแนว ๔๐ ลกู เสอื เนตรนารี ๓๐ ชุมนมุ ๑๐ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๐
โครงสรา้ งหลักสูตรช้นั ปี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ รายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ จำนวน ๑๖๐ ช่วั โมง ค 16101 คณติ ศาสตร์ 6 จำนวน 160 ชัว่ โมง เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๑
โครงสรา้ งรายวชิ า ค 11101 คณติ ศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 เวลาเรียน 200 ช่วั โมง หน่วย ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สัดส่วน ที่ เรียนรู้ การเรยี นร้/ู (ช่วั โมง) คะแนน ตวั ชีว้ ดั - การนับทลี ะ 1 และทีละ 10 50 18 1 จำนวนนับ 1 ถึง ค 1.1 ป.1/1 - การอ่านและการเขยี นตัวเลขฮนิ ดู 100 และ 0 ค 1.1 ป.1/2 50 18 ค 1.1 ป.1/3 อารบิก ตวั เลขไทยแสดงจำนวน 15 5 - การแสดงจำนวนนับไม่เกิน 20 ในรูป 30 10 2 การบวก การลบ ค 1.1 ป.1/4 จำนวนนบั 1 ถงึ ค 1.1 ป.1/5 ความสมั พันธ์ของจำนวนแบบสว่ นย่อย 100 และ 0 – ส่วนรวม (Part – Whole Relationship) 3 แบบรปู ค 1.2 ป.1/1 - การบอกอันดับที่ - หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และ 4 ความยาว ค 2.1 ป.1/1 การเขียนตวั เลขแสดงจำนวนในรูป กระจาย - การเปรยี บเทียบจำนวนและการใช้ เครอ่ื งหมาย = > < - การเรยี งลำดับจำนวน - ความหมายของการบวก ความหมาย ของการลบ การหาผลบวก การหาผล ลบ และความสมั พันธข์ องการบวก และการลบ - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก โจทยป์ ัญหาการลบ และการสรา้ ง โจทยป์ ัญหา พรอ้ มท้ังหาคำตอบ - แบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่ิมขน้ึ หรอื ลดลง ทลี ะ 1 และทลี ะ 10 - แบบรูปซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณิต และรูปอืน่ ๆ - การวดั ความยาวโดยใชห้ นว่ ยท่ีไมใ่ ช่ หน่วยมาตรฐาน - การวดั ความยาวเป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร - การเปรียบเทยี บความยาว เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๒
หนว่ ย ชอื่ หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สดั ส่วน ท่ี เรยี นรู้ การเรียนรู้/ (ชัว่ โมง) คะแนน ตัวช้ีวดั 5 น้ำหนัก ค 2.1 ป.1/2 เป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร 30 10 - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบ 6 รปู เรขาคณิตสอง ค 2.2 ป.1/1 15 5 มิติและรปู เก่ียวกับความยาวท่ีมหี น่วย 10 4 เรขาคณติ สามมิติ เปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร 7 การนำเสนอ ค 3.1 ป.1/1 - การวัดนำ้ หนกั โดยใชห้ นว่ ยทีไ่ มใ่ ช่ ขอ้ มูล หน่วยมาตรฐาน - การวัดนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัม เปน็ ขดี - การเปรียบเทียบนำ้ หนักเป็นกิโลกรมั เป็นขดี - การแก้โจทยป์ ัญหาการบวก การลบ เกีย่ วกับน้ำหนักทมี่ หี นว่ ยเป็นกโิ ลกรัม เปน็ ขีด - ลกั ษณะของรปู สามเหลย่ี ม รูปสเ่ี หล่ยี ม วงกลม และวงรี - ลักษณะของทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉาก ทรง กลม ทรงกระบอก กรวย - การอา่ นแผนภมู ริ ปู ภาพ รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น 70 คะแนนทดสอบปลายปี 30 100 รวมคะแนนทง้ั ปี เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๓
โครงสรา้ งรายวชิ า ค 12101 คณติ ศาสตร์ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรยี น 200 ช่ัวโมง หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน เวลา สดั ส่วน ท่ี เรียนรู้ การเรยี นรู้/ สาระสำคญั (ชว่ั โมง) คะแนน ตวั ชว้ี ัด 1 จำนวนนบั ไม่ ค 1.1 ป.2/1 - การนับทลี ะ 2 ทลี ะ 5 ทีละ 10 และ 40 14 เกนิ 1,000 ค 1.1 ป.2/2 ทลี ะ 100 และ 0 ค 1.1 ป.2/3 -การอ่านและการเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวน -จำนวนคู่ จำนวนค่ี -หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการ เขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย -การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดบั จำนวน 2 การบวก การ ค 1.1 ป.2/4 -การบวกและการลบ 65 24 ลบ การคณู ค 1.1 ป.2/5 -ความหมายของการคูณ ความหมายของ การหารจำนวน ค 1.1 ป.2/6 การหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ นับไมเ่ กนิ ค 1.1 ป.2/7 และความสมั พันธ์ของการคูณและการหาร 1,000 และ 0 ค 1.1 ป.2/8 -การบวก ลบ คณู หารระคน -การแกโ้ จทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ ปัญหาพร้อมทง้ั หาคำตอบ 3 เวลา ค 2.1 ป.2/1 -การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที 15 5 (ช่วง 5 นาที) -การบอกระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมง เป็นนาที -การเปรียบเทยี บระยะเวลาเป็นชัว่ โมง เป็นนาที -การอา่ นปฏิทนิ -การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกับเวลา 5 นำ้ หนัก ค 2.1 ป.2/4 -การวดั นำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรัมและกรัม กโิ ลกรมั 20 7 ค 2.1 ป.2/5 และขดี -การคาดคะเนนำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรัม -การเปรยี บเทยี บนำ้ หนักโดยใช้ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกโิ ลกรัมกบั กรมั กิโลกรมั กบั ขดี -การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั นำ้ หนกั ทีม่ ีหนว่ ย เปน็ กิโลกรัมและกรัม กิโลกรมั และขดี เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๔
หนว่ ย ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน เวลา สัดสว่ น ท่ี เรยี นรู้ การเรียนรู้/ สาระสำคัญ (ช่ัวโมง) คะแนน ตัวช้ีวัด 6 ปริมาตรและ ค 2.1 ป.2/6 -การวดั ปรมิ าตรและความจโุ ดยใช้หน่วยท่ี 15 5 ความจุ ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน -การวดั ปริมาตรและความจุเป็นชอ้ นชา ชอ้ น โตะ๊ ถว้ ยตวง ลิตร -การเปรยี บเทียบปริมาตรและความจุเป็น ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวง ลติ ร -การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั ปรมิ าตรและ ความจทุ ม่ี หี น่วยเปน็ ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถว้ ยตวง ลิตร 7 รูปเรขาคณิต ค 2.2 ป.2/1 -ลักษณะของรปู หลายเหลยี่ ม วงกลม และวงรี 10 4 สองมิติ -และการเขียนรูปเรขาคณิตสองมติ ิโดยใช้ แบบของรปู 8 การนำเสนอ ค 3.1 ป.2/1 -การอา่ นแผนภูมิรูปภาพ 10 4 ขอ้ มลู 9 แบบรปู (มีการจดั การ -แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรอื ลดลง 5- เรยี นการสอน ทลี ะ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 เพ่ือเป็น -แบบรปู ซ้ำ พ้นื ฐาน แตไ่ มว่ ัดผล) รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น 70 คะแนนทดสอบปลายปี 30 100 รวมคะแนนท้งั ปี เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๕
โครงสร้างรายวิชา ค 13101 คณิตศาสตร์ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน 200 ชวั่ โมง หนว่ ย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สัดสว่ น ที่ เรยี นรู้ การเรยี นร/ู้ (ชวั่ โมง) คะแนน 1 จำนวนนบั ไม่เกิน ตวั ช้ีวดั • การอ่านจำนวนนับไมเ่ กนิ 100,000 ๑๒ ๑๕ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นตามค่าประจำหลกั จากซ้ายไปขวา • การเขยี นแสดงจำนวนอาจเขยี นเปน็ ป.๓/๒ ตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตวั เลขไทย หรือ ตวั หนงั สือ ค ๑.๒ ป.๓/๑ • จำนวนสีห่ ลักมจี ำนวนทีอ่ ยหู่ ลักหน่วย หลักสิบ หลกั รอ้ ย และหลักพัน เช่น 8,089 • จำนวนห้าหลักมีจำนวนท่อี ยู่หลกั หนว่ ย หลกั สิบ หลักรอ้ ย หลกั พัน และหลกั หมื่น เช่น 91,006 • จำนวนหกหลักมจี ำนวนท่ีอยหู่ ลัก หน่วย หลกั สบิ หลักรอ้ ย หลักพัน หลกั หมนื่ และหลักแสน เช่น 100,000 • การเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปน็ การเขยี นในรูปการบวกค่าของเลข โดดในหลกั ตา่ ง ๆ ของจำนวนน้ัน • การเปรยี บเทียบจำนวนสองจำนวน จะใชค้ ำวา่ เทา่ กับ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ ซึง่ แทนดว้ ยเคร่ืองหมาย = > < ตามลำดบั โดยพจิ ารณาดงั น้ี - ถ้าจำนวนหลักไมเ่ ท่ากัน จำนวนท่ีมี จำนวนหลกั มากกว่าจะมากกวา่ - ถา้ จำนวนหลกั เท่ากัน จำนวนท่ีคา่ ของเลขโดดในหลกั ท่ีอยูซ่ ้ายสุดมากกวา่ จะมากกวา่ แต่ถา้ เลขโดดในหลักซ้ายสดุ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๖
หนว่ ย ชอื่ หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สัดสว่ น ที่ เรยี นรู้ การเรยี นรู้/ (ชว่ั โมง) คะแนน ๒ การบวกและการ ตัวช้ีวัด มีคา่ เท่ากนั ให้พจิ ารณาค่าของเลขโดด ๑๙ ๑๕ ลบจำนวนนบั ไม่ ในหลักถัดไปทางขวาทีละหลัก เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ ป.๓/๕ • การเรยี งลำดับจำนวนอาจทำไดโ้ ดยหา จำนวนท่ีมากที่สดุ และน้อยท่ีสุดก่อน จากนนั้ นำจำนวนมาเรียงลำดับจากมาก ไปน้อยหรือจากน้อยไปมาก • แบบรูปของจำนวนทเี่ พม่ิ ขึ้นหรือลดลง ทลี ะเทา่ ๆ กนั เปน็ ชดุ ของจำนวนทมี่ ี ความสัมพันธก์ ันอย่างต่อเนื่องใน ลกั ษณะ ทเ่ี พ่ิมขึ้นหรือลดลงทีละเท่า ๆ กนั • การเพ่ิมขนึ้ หรอื ลดลงทลี ะเท่า ๆ กัน สามารถพิจารณาไดจ้ ากนำจำนวน ทมี่ คี ่ามากลบดว้ ยจำนวนทม่ี ีค่านอ้ ย ของจำนวนที่อย่ตู ิดกันจะมีคา่ เทา่ กัน • การหาผลบวกของจำนวนสองจำนวน โดยการตั้งบวก ตอ้ งเขยี นเลขโดดใน หลกั เดยี วกันใหต้ รงกันแล้วจงึ นำจำนวน ที่อยู่ในหลกั เดยี วกันมาบวกกัน โดยเริม่ จากหลักหน่วย หลกั สบิ หลักรอ้ ย หลกั พัน และหลักหม่นื ตามลำดับ ถา้ ผลบวกในหลักใดครบสบิ หรือมากกวา่ สบิ ใหท้ ดจำนวนทคี่ รบสิบไปรวมกบั ผลบวก ในหลกั ถัดไปทางซา้ ย • การหาผลลบของจำนวนสองจำนวน โดย การตงั้ ลบต้องเขยี นเลขโดดในหลัก เดียวกนั ให้ตรงกนั แลว้ จึงนำจำนวนที่อยู่ ในหลกั เดยี วกันมาลบกนั โดยเรม่ิ จาก หลกั หน่วย หลกั สบิ หลกั ร้อย หลกั พนั หลักหมืน่ และหลกั แสน ตามลำดับ ถา้ ในหลกั ใดตวั ต้งั นอ้ ยกว่าตัวลบ ตอ้ งกระจายจำนวนจากหลักถดั ไป ทางซา้ ยมารวมกับตวั ตงั้ ในหลักนั้นแลว้ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๗
หน่วย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สัดสว่ น ที่ เรยี นรู้ การเรียนรู้/ (ชัว่ โมง) คะแนน ๓ เวลา ตวั ช้วี ดั จึงลบกนั แต่ถ้าจำนวนในหลักถัดไป ๑๕ ๑๕ ทางซ้ายเปน็ 0 ตอ้ งกระจายจำนวนจาก ค ๒.๑ ป.๓/๒ หลกั ถัดไปทางซา้ ยทีละหลักตามลำดับ • การหาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ใน ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการบวกและ ประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการลบสามารถ ใชค้ วามสัมพันธข์ องการบวกและการลบ • การแก้โจทย์ปัญหาทำได้โดย อา่ นทำ ความเขา้ ใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบ • การสร้างโจทยป์ ัญหาต้องมีทง้ั ส่วนที่ โจทยบ์ อกและสว่ นทโ่ี จทยถ์ าม นอกจากนี้ โจทย์ปัญหาทสี่ รา้ งตอ้ งมีความเป็นไป ได้ • การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที ถา้ เปน็ นาฬิกาแบบเขม็ ให้พิจารณาท่ี ตำแหนง่ เข็มสัน้ และเข็มยาว เขม็ สั้น บอกเวลาเป็นนาฬกิ า เขม็ ยาวบอกเวลา เปน็ นาทแี ละถา้ เปน็ นาฬกิ าแบบใช้ ตัวเลข ตัวเลขหน้าเครื่องหมาย : แสดง เวลาเปน็ นาฬิกาตวั เลขหลงั เครือ่ งหมาย : แสดงเวลาเป็นนาที • การบอกระยะเวลาอาจบอกเป็นชว่ั โมง เป็นนาที หรือเปน็ ชัว่ โมงและนาที โดยนบั จากเวลาเรม่ิ ต้นจนถึงเวลาสิ้นสดุ • การเขียนบอกเวลาอาจใช้มหัพภาค (.) หรอื ทวภิ าค (:) ค่ันระหว่างตวั เลขท่ี แสดงนาฬิกากับตัวเลขท่ีแสดงนาที แลว้ เขียน น. ตอ่ ท้าย • การอ่านเวลาใหอ้ ่านตวั เลขหนา้ มหพั ภาค (.) หรอื ทวภิ าค (:) เป็น นาฬิกาและอ่านตวั เลขหลังมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) เป็นนาที เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๘
หน่วย ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สัดสว่ น ที่ เรยี นรู้ การเรียนรู้/ (ชัว่ โมง) คะแนน ๔ รูปเรขาคณิต ตัวช้วี ัด • การเปรียบเทียบระยะเวลาเปน็ ชัว่ โมง ๑๐ ๑๐ และนาที ถา้ จำนวนชั่วโมงไม่เท่ากัน ค ๒.๒ ป.๓/๑ จำนวนชว่ั โมงมากกวา่ ระยะเวลานั้นจะ มากกวา่ ถ้าจำนวนชว่ั โมงเท่ากนั จำนวนนาทมี ากกว่าระยะเวลานน้ั จะ มากกว่า • การเปรียบเทียบระยะเวลาทีม่ หี นว่ ย ต่างกันต้องเปล่ียนหน่วยใหเ้ ป็นหนว่ ย เดียวกันก่อนแลว้ นำมาเปรียบเทยี บกนั • บนั ทึกกิจกรรมทร่ี ะบเุ วลาโดยทวั่ ไป ประกอบด้วย ช่ือบนั ทึก วนั ที่ เดือน พ.ศ. จะอย่สู ว่ นบนของบันทึก เวลาจะอยู่ ดา้ นซา้ ยของบันทึก และกจิ กรรมต่าง ๆ จะอย่ดู า้ นขวาของบันทึก ซง่ึ รายละเอียดขึ้นอยู่กบั ความต้องการของ ผบู้ ันทึก • การแกโ้ จทยป์ ญั หาทำไดโ้ ดยอ่านทำ ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบ • รูปที่เม่อื พบั แล้วสองข้างของรอยพับ ทบั กนั สนิทเปน็ รปู ทมี่ แี กนสมมาตร รอยพับเปน็ แกนสมมาตร • รูปทีม่ ีแกนสมมาตร บางรปู มแี กน สมมาตร 1 แกน บางรปู มีแกน สมมาตรมากกวา่ 1 แกน เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓๙
หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน เวลา สัดสว่ น ท่ี เรยี นรู้ คะแนน ๕ แผนภูมริ ูปภาพ การเรียนร/ู้ สาระสำคัญ (ชั่วโมง) และตารางทาง ๑๕ เดยี ว ตัวช้ีวดั ๒๐ ๖ เศษส่วน ค ๓.๑ ป.๓/๑ • ขอ้ มลู เป็นข้อเท็จจรงิ ของส่ิงท่ีสนใจ ๑๒ ป.๓/๒ การเก็บรวบรวมข้อมลู อาจใช้การสงั เกต การสอบถามซง่ึ การเก็บรวบรวมข้อมูล และการจำแนกข้อมลู ทำให้สะดวกต่อ การ นำขอ้ มูลไปใช้ • แผนภมู ิรูปภาพเปน็ แผนภูมทิ ่นี ำเสนอ ข้อมูลโดยใช้รูปภาพแทนจำนวนสง่ิ ต่าง ๆ ถ้าเปน็ ข้อมลู ของสิ่งเดียวกัน รูปภาพทไี่ ด้ ตอ้ งเป็นรปู ภาพทีเ่ หมือนกนั และมขี นาด เท่ากัน ซ่งึ ประกอบด้วย ชอื่ แผนภมู ิ ตวั แผนภูมิและข้อกำหนด • ขอ้ มูลชดุ เดยี วกันสามารถเขียนแผนภมู ิ รปู ภาพโดยใชข้ อ้ กำหนดทแ่ี ตกตา่ งกนั และจำนวนรปู ภาพที่เขยี นในแผนภูมิ รปู ภาพขึ้นอยู่กบั ข้อมลู และข้อกำหนด • การนำเสนอข้อมลู อาจนำเสนอดว้ ย ตารางทางเดยี ว ซึ่งตารางทางเดยี ว ประกอบดว้ ยชื่อตารางและตาราง ทีม่ ีหัวตารางและรายละเอยี ดของ ข้อมลู ค ๑.๑ ป.๓/๓ • เศษส่วนเปน็ สญั ลักษณ์แสดงจำนวน ๑๔ ป.๓/๔ ซึง่ ประกอบด้วยตวั เศษและตัวส่วน ป.๓/๑๐ ตวั เศษ แสดงจำนวนของส่วนทีก่ ล่าวถงึ เขียนไวด้ า้ นบนของเสน้ ค่ัน ตวั สว่ น ป.๓/๑๑ แสดงจำนวนของสว่ นท่ีเท่า ๆ กนั ท้ังหมด เขยี นไวด้ ้านล่างของเส้นคน่ั เชน่ 1 2 45 • เศษสว่ นทีต่ ัวเศษเท่ากบั ตวั ส่วนมีคา่ เท่ากบั 1 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔๐
หนว่ ย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สัดส่วน ที่ เรยี นรู้ การเรยี นรู้/ (ชว่ั โมง) คะแนน ตัวชวี้ ัด • การเปรยี บเทียบเศษส่วนทต่ี ัวส่วน เท่ากันใหด้ ูทต่ี ัวเศษ ถ้าตวั เศษของ เศษสว่ นใดมากกวา่ เศษสว่ นนนั้ จะ มากกวา่ • การเรยี งลำดับเศษสว่ นท่ตี ัวสว่ น เท่ากนั ให้พจิ ารณาตัวเศษ ถ้า เรยี งลำดับเศษส่วนจากมากไปนอ้ ย ให้ เขยี นเศษส่วนเรียงลำดับจากเศษสว่ นท่ี ตัวเศษมากไปน้อย ถ้าเรียงลำดบั เศษสว่ นจากน้อยไปมาก ให้เขียน เศษส่วนเรยี งลำดบั จากเศษส่วนที่ตวั เศษนอ้ ยไปมาก • การเปรียบเทยี บเศษสว่ นท่ีตัวเศษ เท่ากนั ใหด้ ูทต่ี วั สว่ น ถ้าตัวส่วนของ เศษส่วนใดมากกว่า เศษส่วนนัน้ จะ น้อยกว่า • การเรียงลำดับเศษส่วนที่ตัวเศษ เท่ากนั ใหพ้ จิ ารณาตวั สว่ น ถา้ เรียงลำดับ เศษสว่ นจากมากไปน้อย ให้เขียน เศษส่วนเรียงลำดบั จากเศษส่วนท่ีตัวสว่ น นอ้ ยไปมาก ถ้าเรยี งลำดบั เศษส่วนจาก นอ้ ยไปมาก ใหเ้ ขยี นเศษสว่ นเรียงลำดบั จากเศษสว่ นท่ีตวั สว่ นมากไปน้อย • การหาผลบวกของเศษส่วนท่ตี ัวส่วน เท่ากันให้นำตัวเศษบวกกัน โดยตัวส่วน คงเดมิ • การหาผลลบของเศษส่วนท่ีตัวสว่ น เท่ากนั ใหน้ ำตวั เศษลบกนั โดยตวั สว่ น คงเดมิ • การแกโ้ จทย์ปัญหาทำได้โดยอา่ นทำ ความเขา้ ใจปัญหา วางแผนแก้ปญั หา หาคำตอบ และตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔๑
หน่วย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน เวลา สดั สว่ น ท่ี เรียนรู้ การเรยี นรู้/ สาระสำคญั (ชว่ั โมง) คะแนน ตัวช้ีวัด ๗ การคณู ค ๑.๑ ป.๓/๖ • จำนวน 1 หลักคูณกับ 100 200 300 ๑๘ ๑๐ … 900 หรือคณู กบั 1,000 2,000 3,000 … 9,000 หาผลคูณโดยนำ จำนวน 1 หลกั นนั้ คณู กบั 1 2 3 … 9 แลว้ เตมิ 0 ตอ่ ทา้ ย 2 ตัว หรือเตมิ 0 ตอ่ ทา้ ย 3 ตัว • การหาผลคณู ของจำนวน 1 หลกั กับ จำนวนไมเ่ กนิ 4 หลักโดยการต้ังคูณ ตอ้ ง คูณจำนวนในหลกั หน่วยกอ่ นแลว้ คณู ใน หลกั สบิ หลกั รอ้ ยและหลกั พันตามลำดับ ถา้ ผลคูณในหลักใดครบสบิ หรอื มากกวา่ สิบให้ ทดจำนวนที่ครบสิบไปรวมกับผลคณู ใน หลกั ถัดไปทางซา้ ย • จำนวน 2 หลักคณู กบั 10 20 30 … 90 หาผลคณู โดยนำจำนวน 2 หลกั นนั้ คณู กับ 1 2 3 … 9 แลว้ เตมิ 0 ตอ่ ท้าย • การหาผลคณู ของจำนวน 2 หลักกับ จำนวน 2 หลัก โดยการตงั้ คูณทำไดโ้ ดย กระจายจำนวนใดจำนวนหน่ึงตามคา่ ประจำหลักแล้วนำไปคูณกบั อกี จำนวนหนึง่ โดยเร่มิ จากหลักหนว่ ยและหลักสิบ ตามลำดบั แลว้ นำผลคูณทไี่ ดม้ าบวกกนั • การหาคา่ ของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยค สัญลักษณแ์ สดงการคูณอาจใช้สตู รคณู ชว่ ยในการหาค่าของตัวไมท่ ราบค่า เม่อื นำจำนวนมาแทนตัวไม่ทราบค่า ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณแลว้ ได้ผลคูณตามทีก่ ำหนด • การแก้โจทย์ปญั หาทำได้โดยอา่ น ทำความเข้าใจปญั หา วางแผนแก้ปัญหา หาคำตอบและตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบ • การสรา้ งโจทย์ปญั หาตอ้ งมีทง้ั สว่ นท่ี โจทย์บอกและส่วนทีโ่ จทย์ถาม นอกจากนี้ โจทย์ปัญหาท่สี รา้ งต้องมคี วามเป็นไปได้ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔๒
หนว่ ย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน เวลา สัดสว่ น ท่ี เรียนรู้ การเรยี นร้/ู สาระสำคัญ (ชั่วโมง) คะแนน ตัวชว้ี ดั ๘ การหาร ค ๑.๑ ป.๓/๗ • การหาผลหารและเศษท่ีตัวตงั้ สองหลัก ๑๘ ๑๕ ตวั หารและผลหารหน่งึ หลกั โดยการ หารยาวเริม่ จากการหารจำนวนในหลกั สิบกอ่ นแล้วหารจำนวนในหลักหนว่ ย เมือ่ หารจำนวนในหลกั ใดให้เขียนเลข โดดท่ีเปน็ ผลหารในหลักนัน้ • การหาผลหารและเศษที่ตัวตัง้ สองหลกั ตวั หารหน่ึงหลกั และผลหารสองหลักโดย การหารยาวเร่ิมจากการหารจำนวนใน หลกั สบิ กอ่ นแล้วหารจำนวนในหลกั หนว่ ย เม่อื หารจำนวนในหลกั ใดให้เขียน เลขโดดที่เปน็ ผลหารในหลกั น้ัน • การหาผลหารและเศษทต่ี วั ตั้งสามหลกั และตัวหารหนง่ึ หลกั โดยการหารยาว เร่มิ จากการหารจำนวนในหลักร้อย หลักสบิ และหลักหนว่ ย ตามลำดับ เมือ่ หารจำนวนในหลกั ใดใหเ้ ขยี นเลขโดดท่ี เป็นผลหารในหลักน้ัน • การหาผลหารและเศษท่ีตัวตงั้ สห่ี ลกั และตัวหารหน่ึงหลักโดยการหารยาว เร่ิมจากการหารจำนวนในหลกั พัน หลัก รอ้ ย หลกั สิบ และหลักหนว่ ย ตามลำดับ เมอื่ หารจำนวนในหลักใดให้เขียนเลข โดดทเ่ี ป็นผลหารในหลักนั้น • การหาผลหารและเศษทตี่ วั ตั้งไม่เกิน สี่หลกั และตัวหารหน่งึ หลกั โดยการ หารส้ันใชห้ ลกั การเดียวกบั การหารยาว โดยเริม่ จากการหารจำนวนในหลกั พนั หลักรอ้ ย หลักสิบ และหลักหนว่ ย ตามลำดับ เม่ือหารจำนวนในหลกั ใด ใหเ้ ขยี นเลขโดดที่เป็นผลหารในหลกั น้นั • การหาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สญั ลักษณ์แสดงการหารอาจทำไดโ้ ดยใช้ ความสัมพันธข์ องการคูณและการหาร เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔๓
หน่วย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน เวลา สดั ส่วน ที่ เรียนรู้ การเรยี นร้/ู สาระสำคญั (ช่ัวโมง) คะแนน ตวั ชว้ี ัด • การแกโ้ จทย์ปัญหาทำได้โดยอา่ นทำ ความเขา้ ใจปัญหา วางแผนแกป้ ัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความ สมเหตสุ มผลของคำตอบ ๙ การวดั ความยาว ค ๒.๑ ป.๓/๓ • การบอกความยาวหรอื ความสงู ของสง่ิ ๑๖ ๒๐ ป.๓/๔ ต่างๆ อาจบอกเปน็ เซนตเิ มตรและ มลิ ลเิ มตร ป.๓/๕ • ความยาว ๑๐ มลิ ลิเมตร เทา่ กบั ความยาว 1 เซนติเมตร ป.๓/๖ • การบอกความยาวของส่งิ ต่างๆ อาจ บอกเปน็ เมตรและเซนติเมตร • การบอกระยะทางอาจบอกเป็น กิโลเมตร หรือกิโลเมตรและเมตร • ความยาว ๑,๐๐๐ เมตร เทา่ กบั ความยาว ๑ กโิ ลเมตร • การวดั ความยาวของส่ิงตา่ งๆ ควร เลอื กใชเ้ คร่ืองวดั ความยาวให้เหมาะสม และบอกความยาวโดยใชห้ น่วยความ ยาวท่เี หมาะสม • การคาดคะเนความยาวหรอื ความสงู เป็นเมตร เปน็ การบอกความยาวหรอื ความสงู เป็นเมตรให้ใกล้เคียงกบั ความ ยาวหรือความสงู จริง โดยไม่ใชเ้ คร่ืองวัด ความยาว อาจเทยี บกบั ความยาวหรอื ความสูง ๑ เมตร • การคาดคะเนความยาวหรอื ความสงู เป็นเซนตเิ มตร เป็นการบอกความยาว หรอื ความสูงเปน็ เซนติเมตรให้ใกลเ้ คียง กับความยาวหรอื ความสูงจริง โดยไมใ่ ช้ เครอ่ื งวดั ความยาว อาจเทยี บกบั ความ ยาวหรอื ความสงู ๓๐ เซนตเิ มตร หรอื ๑ ไมบ้ รรทดั • การบอกความยาวของส่ิงตา่ งๆ อาจ บอกเป็นมลิ ลเิ มตร เซนติเมตร เมตร สมเหตสุ มผลของคำตอบ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔๔
หน่วย ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน เวลา สดั ส่วน ท่ี เรียนรู้ การเรียนรู้/ สาระสำคญั (ชวั่ โมง) คะแนน ตวั ช้ีวดั กิโลเมตร เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร หรือกโิ ลเมตรและ เมตร โดยใช้ความสัมพันธร์ ะหวา่ งหนว่ ย ความยาว ๑๐ มิลลเิ มตร เท่ากับ ๑ เซนติเมตร ๑๐๐ เซนติเมตร เท่ากับ ๑ เมตร ๑,๐๐๐ เมตร เท่ากับ ๑ กิโลเมตร • การเปรียบเทยี บความยาวหรอื ระยะทางท่มี หี น่วยต่างกันต้องเปล่ียน หนว่ ยให้เป็นหน่วยเดยี วกันก่อนแลว้ นำมาเปรียบเทยี บกัน • การหาผลบวกหรือผลลบเกี่ยวกับ ความยาว ทำไดโ้ ดยนำความยาวทเ่ี ป็น หนว่ ยเดยี วกันมาบวกหรือมาลบกนั • การหาผลคูณหรอื ผลหารเกี่ยวกับ ความยาว ทำได้โดยคูณหรือหารความ ยาวทีละหน่วยความยาว • การแกโ้ จทยป์ ัญหาทำได้โดยอ่านทำ ความเข้าใจปัญหา วางแผนแกป้ ัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความ ๑๐ การวัดนำ้ หนกั ค ๒.๑ ป.๓/๗ • การบอกน้ำหนักของสิ่งตา่ งๆ อาจบอก ๑๖ ๒๐ เป็นกโิ ลกรัมและขดี กิโลกรัมและกรัม ป.๓/๘ • การวัดนำ้ หนกั ของส่งิ ต่างๆ ควร ป.๓/๙ เลอื กใช้เครื่องช่ังใหเ้ หมาะสม และบอก น้ำหนกั โดยใช้หน่วยน้ำหนักท่ีเหมาะสม ป.๓/๑๐ • การคาดคะเนน้ำหนักของส่ิงตา่ งๆ เปน็ การบอกน้ำหนกั ใหใ้ กลเ้ คียงนำ้ หนกั จริง โดยไม่ใชเ้ ครื่องชงั่ อาจเทียบกับ น้ำหนกั ของส่ิงต่างๆ ทีเ่ ราทราบน้ำหนัก แลว้ • การบอกนำ้ หนักของส่ิงต่างๆ อาจบอก เป็นกิโลกรมั และกรัม หรือบอกเปน็ กรัม โดยใชค้ วามสมั พันธ์ ๑ กโิ ลกรัม เท่ากบั ๑,๐๐๐ กรัม เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔๕
หน่วย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน เวลา สัดส่วน ท่ี เรยี นรู้ การเรยี นรู้/ สาระสำคญั (ชว่ั โมง) คะแนน ตวั ชว้ี ัด • การบอกนำ้ หนักของสิง่ ตา่ งๆ อาจบอก เปน็ เมตรกิ ตันและกโิ ลกรัม โดยใช้ ความสมั พันธ์ ๑ เมตริกตนั เท่ากบั ๑,๐๐๐ กิโลกรัม • การเปรยี บเทียบนำ้ หนัก - ถ้ามีหนว่ ยต่างกนั ตอ้ งเปล่ยี นหน่วย ใหเ้ ป็นหน่วยเดยี วกนั กอ่ นแล้วจึงนำมา เปรียบเทียบกัน - ถ้ามหี นว่ ยเป็นกโิ ลกรัมและกรัม สง่ิ ท่มี นี ำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรัมมากกวา่ จะหนัก กวา่ ถ้านำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรมั เท่ากัน ส่งิ ท่ี มีน้ำหนกั เป็นกรัมมากกวา่ จะหนกั กว่า - ถา้ มีหนว่ ยเป็นตนั และกิโลกรัม สิง่ ท่ี มนี ้ำหนักเป็นตันมากกวา่ จะหนักกว่า ถ้า นำ้ หนักเปน็ ตันเทา่ กัน สิง่ ทมี่ ีน้ำหนัก เปน็ กิโลกรัมมากกว่าจะหนกั กวา่ • การหาผลบวกหรือผลลบเกี่ยวกับ น้ำหนกั ทำไดโ้ ดยนำน้ำหนกั ทเี่ ป็น หนว่ ยเดยี วกนั มาบวกหรือมาลบกนั • การหาผลคูณหรือผลหารเกี่ยวกบั น้ำหนัก ทำได้โดยคูณหรือหารน้ำหนัก ทีละหน่วยน้ำหนัก • การแกโ้ จทย์ปัญหาทำไดโ้ ดยอา่ นทำ ความเขา้ ใจปัญหา วางแผนแกป้ ญั หา หาคำตอบ และตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบ ๑๑ การวัดปรมิ าตร ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ • การบอกปริมาตรของของเหลวและ ๑๖ ๑๕ ความจขุ องภาชนะอาจบอกเป็น ป.๓/๑๒ มิลลลิ ติ ร ป.๓/๑๓ • การบอกปริมาตรของของเหลวและ ความจุของภาชนะอาจบอกเป็นลติ ร และมิลลลิ ติ ร • การวัดปรมิ าตรของส่งิ ตา่ งๆ ควร เลือกใช้เคร่ืองตวงใหเ้ หมาะสม และ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทุ่งนาใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๔๖
Search