Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนรายวิชาการป้องกันการทุจริต สค12026 ระดับประถมศึกษา

หนังสือเรียนรายวิชาการป้องกันการทุจริต สค12026 ระดับประถมศึกษา

Published by chompoonot sungpichai, 2019-10-31 04:14:07

Description: รายวิชาการป้องกันการทุจริต

Search

Read the Text Version

36 ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดนิยามความหมายของกฎหมายไววา กฎหมาย คือ กฎท่ีสถาบันหรือผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐตราข้ึนหรือเกิดข้ึนจากจารีตประเพณีอันเปนที่ยอมรับ นบั ถือ เพือ่ ใชในการบรหิ ารประเทศ เพื่อใชบ ังคับบคุ คลใหปฏิบัติตามหรือเพ่ือกําหนดระเบียบแหงความสัมพันธ ระหวา งบคุ คลหรอื ระหวา งบคุ คลกับรฐั การเคารพกฎหมายและกตกิ าสังคม กฎหมายเปน ขอบังคับที่รัฐ ๆ หนึ่ง ตราข้ึนมาเพ่ือใชกําหนดความประพฤติและระเบียบแบบแผน ของพลเมอื งทอี่ ยูร ว มกนั ภายในรฐั น้ัน และรวมไปถึงใชบังคบั ท่ีรฐั แตละรฐั ผกู พันตองปฏิบัติตามพันธกรณีและ ความรวมมือที่ใหไวระหวางกัน เน่ืองจากสังคมมีความซับซอนและมีการเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็วกวา ในอดีตมาก การควบคุมดูแลโดยบุคคลหรือกลุมบุคคลจึงไมสามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การมี กฎหมายขึน้ มาเพ่ือชวยในการกําหนดการปฏิบตั จิ ึงมคี วามจาํ เปนสาํ หรับสังคมทุกระดบั กฎหมายจึงมีความสําคัญในการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลใหอยูในระเบียบแบบแผนท่ีดีงาม ชวยคุม ครองและรกั ษาชวี ติ และทรพั ยสินของประชาชน รวมถึงสรางความสงบเรยี บรอยใหส ังคมดว ย ดังภาพตอ ไปนี้ ภาพการไปใชส ิทธิเลอื กตงั้ ทีม่ า : https://www.thairath.co.th/news/politic/1520826 ภาพการเคารพกฎจราจร ภาพการคัดเลือกทหาร ที่มา : https://sites.google.com/site/ ท่มี า : https://www.posttoday.com/ skyletfark2/kha-niym-hlak-khxng-khn-thiy-12-prakar/ 08-mi-rabeiyb-winay-khearph-kdhmay social/local/286904

37 การเคารพกฎเกณฑ เปน หลกั การพน้ื ฐานของการอยูรวมกันของผูคนในสังคมโดยปกติสุข ไมวาจะ เปนสังคมใดหรอื ประเทศใด การอยรู วมกนั ของผคู นเปน จาํ นวนมากในสงั คมตอ งอาศัยกฎ ระเบียบ กติกาของ สงั คม ซ่ึงคนในสังคมน้นั ๆ ตอ งเรยี นรกู ฎ กติกา ของสงั คม พรอมทั้งตองมีความรับผิดชอบตอสังคมสวนรวม คอื ตองยอมรับและปฏิบัติตามกฎเกณฑ กติกาทางสงั คม การอบรมสมาชิกในสงั คมใหเกดิ การเรียนรูกฎเกณฑ และกติกาของสังคม คือ การถายทอดวถิ ีชีวติ วัฒนธรรม และการทาํ ใหสมาชิกในสังคมนั้นสามารถดําเนินชีวิต ไดอยางเหมาะสมถกู ตอ ง ซงึ่ ในสังคมท่ไี ดม กี ารจัดระเบียบอยางดีนั้น การอบรมใหเรียนรูกฎเกณฑของสังคม เปนกระบวนการที่จะตองกระทํา เริ่มต้ังแตวัยเด็กจนถึงผูใหญ การเขาไปมีสวนรวมในรูปของสังคมใหมและ สถาบนั ใหม สมาชิกในสังคมจะตองเรียนรูกฎเกณฑใหมและยอมรับคานิยมใหม และในขณะเดียวกันพอแม ครอบครัวตอ งทําหนาทเ่ี ปนตวั หลักทส่ี ําคัญในการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อใหเ กดิ การเรียนรูในการเคารพกฎเกณฑของ สงั คม และการดํารงชีวิตอยูของสมาชิกในสงั คมไดอยูร ว มกันอยา งมคี วามสขุ เรอื่ งท่ี 4 ความรบั ผดิ ชอบตอ ชุมชน ชุมชนเปน ท่ีอยูอาศัย เปนดินแดนบานเกิดเมืองนอนของเรา เราจึงรักหวงแหนแผนดินแม โดยการ สรา งชมุ ชนที่นาอยทู ําใหทุกคนอยูเยน็ เปน สขุ ความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส จดจอ ตัง้ ใจ มุงมั่นตอ หนาทีก่ ารงาน การศกึ ษาเลา เรยี น การเปน อยขู องตนเอง และผอู ยูในความดแู ล ตลอดจน สังคมอยา งเต็มความสามารถ เพ่อื ใหบรรลุผลสาํ เรจ็ ตามความมงุ หมายในเวลาท่ีกาํ หนด ยอมรบั ผลการกระทํา ทั้งผลดแี ละผลเสียที่เกดิ ขนึ้ รวมท้ังปรับปรงุ การปฏบิ ัตงิ านใหด ีขึ้น เปน ความผูกพันในการทีจ่ ะปฏิบัติหนาท่ีให สําเรจ็ ลุลวงไปได ชุมชน หมายถึง หมูชน กลุมคนทอี่ ยูรวมกนั เปน สังคมขนาดเล็ก อาศัยอยใู นอาณาบริเวณเดียวกัน และมผี ลประโยชนรวมกันในพน้ื ที่ที่มีคนอาศัยอยมู าก ความรบั ผดิ ชอบตอ ชุมชน เปน การแสดงออกถึงความเอาใจใสในการดูแลและรวมรับผิดชอบที่อยู อาศัยในชมุ ชนเดียวกัน โดยมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เชน ปาชุมชน ลําคลอง หนองบึง ทางเทา ถนน ไฟฟา ประปา โทรศพั ท ท่ที ุกคนใชรวมกันในหมบู า น เปนของชาวชุมชนทุกคนทีค่ วรดแู ลรักษาสภาพแวดลอม สมบัติสาธารณะใหอยูในสภาพดี ชุมชน สะอาดนาอยูอาศัย ใสใจส่ิงแวดลอม สงผลถึงรางกายและจิตใจ ทสี่ มบูรณดีงามของทกุ คนในชุมชน

38 1. การเปนสมาชกิ ทีด่ ขี องชุมชน 1.1 การปฏิบตั ิตนในการรักษาสง่ิ แวดลอ ม 1) ชวยกนั อนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม 2) รณรงคต อตานการกาํ จดั ขยะ การคัดแยกขยะ 3) ลดการใชโ ฟมใหนอ ยลง โดยใชใ นโอกาสหรอื เทศกาลตาง ๆ 4) รณรงคไ มป ลอยของเสียลงแมนา้ํ ลําคลอง 5) ชว ยกันดแู ลรกั ษาสาธารณสมบัติ เชน สถานที่พกั ผอน โทรศพั ทส าธารณะ เปนตน 1.2 เขา รวมกิจกรรมของชมุ ชน 1) รวมกนั แกไ ขปญ หาและพฒั นาดา นตางๆ ภายในชมุ ชน 2) รวมกลมุ กันเพอ่ื สรางความเขม แข็งภายในชมุ ชน 1.3 รว มมอื กบั เจาหนาที่รัฐในการสอดสอ งดแู ลชมุ ชน 1) ชวยกันสอดสองดแู ล ปอ งกันการกอ อาชญากรรมในชุมชน 2) รว มกนั ปองกนั ไมใ หมยี าเสพตดิ ภายในชมุ ชน ในฐานะพลเมอื งทีด่ ีของประเทศไทย เราทุกคนตา งมีความรบั ผิดชอบตอ ชมุ ชน ทีจ่ ะตอ งชว ยกนั ดูแล ชมุ ชนของเราใหอ ยูในความสงบเรยี บรอ ย ปฏิบัตติ นตามกฎระเบยี บของชมุ ชน สังคม ไมละเลยตอหนาที่ที่พึง ปฏบิ ัติ เพอ่ื ใหทุกคนในชุมชนไดใชช วี ิตอยางสงบสขุ

39 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 คําชี้แจง : ใหผ เู รียนทาํ เครื่องหมาย  หนา ขอ ท่ถี กู และทาํ เครอื่ งหมาย × หนา ขอทีผ่ ิด ________ 1. ถา ประชาชนทกุ คนประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามหนาทขี่ องพลเมืองท่ดี บี านเมอื งจะสงบสขุ ________ 2. คนไมม ีระเบียบวนิ ยั สามารถอยรู วมกนั ในสงั คมไดดวยความเรยี บรอ ย ________ 3. คนทีร่ ูจักประหยัดและอดออม จะทาํ ใหช ีวิตไมขดั สน มีกนิ มใี ชอ ยา งพอเพียง ________ 4. แกวตาไปซอื้ ขนมทต่ี ลาด แมคา ทอนเงินมาเกิน แกวตาจึงนาํ เงินไปคืนแมคา แกวตาเปนเด็กท่ีมี ความซ่อื สตั ย ________ 5. ปด เทอมแมพากิบ๊ ไปปลูกปา ชายเลน แมของกบิ๊ คํานงึ ถึงประโยชนของตนเองมากกวา ประโยชน สว นรวม ________ 6. การแกไ ขปญ หาโดยใชขอมลู ตนเอง สงั คม ส่งิ แวดลอ ม และวชิ าการ กอนตัดสินใจ คือ ปรัชญา คดิ เปน ________ 7. ประชาชนมสี ว นรว มในการปกครอง คือ ลักษณะสาํ คญั ท่สี ุดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ________ 8. ผเู รยี นมหี นาที่ปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบของหอ งเรยี น เพ่ือความเปน ระเบียบเรียบรอย ________ 9. จริยธรรม เปนหลักในการประพฤตปิ ฏิบตั ทิ ีส่ รา งประโยชนใหแกผ อู นื่ ________ 10. พลเมอื งทด่ี ี หมายถึง ผทู ป่ี ฏิบัติหนา ท่ีพลเมอื งไดครบถว น ทัง้ กจิ ทตี่ องทาํ และกจิ ทค่ี วรทาํ กิจกรรมที่ 2 คําชแ้ี จง : ใหผเู รยี นทําเครอื่ งหมาย หนาขอ ทถี่ กู และทาํ เคร่อื งหมาย × หนาขอ ที่ผดิ .......... 1. การถือสทิ ธใิ นการครอบครองทรัพยส นิ ตามกฎหมาย เรยี กวา สทิ ธิขน้ั พน้ื ฐาน ………. 2. สิทธิในชีวติ และรางกาย สทิ ธใิ นครอบครวั สทิ ธใิ นชอ่ื เสียงและเกียรตยิ ศ เรยี กวา สทิ ธเิ ฉพาะบุคคล ………. 3. สิทธิทจี่ ะไดรบั การพฒั นา ไดร บั การศกึ ษาท่ดี ี และภาวะโภชนาการทเ่ี หมาะสม เปน สทิ ธขิ ้ันพืน้ ฐาน ของเดก็ ………. 4. สมาชิกในสงั คมทกุ คนมหี นาทใ่ี นการประกอบอาชพี ………. 5. บคุ คลทกุ คนมเี สรีภาพในการรวมกนั เปนสมาคม สหภาพ สหกรณ และพรรคการเมือง ………. 6. การอุปการะเล้ยี งดบู ตุ ร เปน หนา ท่ขี องบดิ ามารดาตามกฎหมายรฐั ธรรมนญู ………. 7. การลงสมคั รรับเลอื กตัง้ ระดบั ทองถิน่ เปน หนาทที่ างการเมอื งระดับประเทศ

40 ………. 8. การชําระภาษเี ปน หนาทขี่ องพลเมอื งตามท่ีบญั ญตั ไิ วใ นกฎหมายอ่นื ๆ ………. 9. ทุกคนตอ งเคารพสทิ ธแิ ละหนาทขี่ องตนเองและผอู ื่น ………. 10. การไปใชส ทิ ธิเลอื กตงั้ เปนเสรีภาพของแตล ะบุคคล กิจกรรมท่ี 3 คาํ ช้แี จง : ใหผูเรยี นศึกษาคนควา ขอ มูล เร่ือง ความรับผิดชอบตอ ชมุ ชนและสงั คม โดยอธบิ ายความหมาย พอสังเขป พรอมยกตวั อยา งการปฏบิ ตั ติ นทด่ี ีท่ีมคี วามรบั ผิดชอบตอ ชมุ ชนและสงั คม จาํ นวน 3 ขอ 1) ........................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2) ........................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3) ........................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

41 แบบทดสอบหลังเรียน 1. นายเหลี่ยม เปนขา ราชการเกษยี ณ ตอมาไดเ ปน สมาชกิ สภาเทศบาล รูล ว งหนาจากการประชุมสภาวา สภาเทศบาลอนุมัติใหตัดถนนผานชุมชนแหงหน่ึง นายเหลี่ยม จึงไดไปกวานซ้ือที่ดินบริเวณที่ถนน ตดั ผา นนั้น เพื่อเกง็ กาํ ไรท่ีดิน พฤตกิ ารณข องนายเหลีย่ ม เปน ผลประโยชนทับซอนรูปแบบใด ก. การรขู อมลู ภายใน ข. การทําธรุ กจิ กับตนเอง ค. การทํางานหลงั เกษียณ ง. การรับผลประโยชนตา ง ๆ 2. การคิดแยกแยะหมายถึงขอ ใด ก. ทาํ การเกษตรในเขตทีด่ ินสาธารณะ ข. การแซงควิ ซอ้ื อาหารในรานอาหาร ค. ขายเส้ือผา ตามรมิ ถนนในตัวเมอื ง ง. เกบ็ เงนิ ไดน าํ ไปใหค ุณครู 3. ขอ ใดเปนการนํากระบวนการของการคดิ เปนมาใช ก. นาํ ขอมลู ตนเอง งานวจิ ยั สง่ิ แวดลอมและสังคมมาใช ข. นําขอ มลู ตนเอง สงั คม สิ่งแวดลอ ม และวิชาการมาใช ค. นําขอมลู จากสอ่ื อินเทอรเ น็ต เอกสารอา งองิ และตนเองมาใช ง. นําขอ มลู จากเพอื่ นรว มงาน ส่อื อินเทอรเนต็ และวชิ าการมาใช 4. ถาตอ งการอยรู วมกบั ผูอืน่ ในสังคมไดอ ยา งมีความสุข โดยนํากระบวนการคิดเปน มาใช เราควรปฏบิ ตั ติ นตามขอใด ก. แกปญหาได ข. การปรับตวั ค. ความยินยอม ง. การมสี วนรว ม

42 5. ขอ ใด ไมค วร กระทาํ ในการเขา สอบ ก. นงั่ ตามท่ี ๆ กําหนดให ข. ทําขอสอบดว ยตนเอง ค. ตงั้ ใจอา นขอ สอบใหเสียงดงั ง. ไมเขา หอ งสอบกอ นไดร บั อนุญาต 6. ขอใดคอื ความหมายของคําวา “ความละอาย” ก. ความมงุ มนั่ ในการเอาชนะ ข. ความมงุ มน่ั ในการทําความดี ค. ความเกรงกลัวตอ สง่ิ ทจี่ ะมาทาํ ราย ง. ความเกรงกลวั ตอ สงิ่ ทไี่ มด ี ไมถ ูกตอง 7. “การรับเงินสินบน” เปนพฤติกรรมตรงกับขอใด ก. ทจุ รติ ข. ความไมท น ค. การเพม่ิ รายได ง. การใหความชวยเหลือ 8. เหตผุ ลทส่ี ถานศึกษามอบหมายใหผ ูเรยี นทาํ ความสะอาดสถานท่พี บกลุมคอื ขอ ใด ก. เพ่อื ใหไดคะแนนระหวางเรยี น ข. ฝก ความอดทน และความขยัน ค. เพ่ือชว ยเหลอื ครูในการทําความสะอาด ง. เพือ่ ฝก ความเสยี สละ และความรบั ผิดชอบ 9. ขอ ใด ไมใ ช การปฏบิ ตั ติ นตามกฎกตกิ าของสถานศกึ ษา ก. การทาํ งานตามทไ่ี ดร บั มอบหมายดว ยตนเอง ข. การซักถามครูเม่อื เกดิ ปญหาจากการทํางาน ค. การนําชนิ้ งานเพอื่ นมาคัดลอกเพอ่ื สง ใหท ันเวลา ง. การแนะนําเพอื่ นใหเ ขา ใจและสามารถทาํ งานเองได

43 10. การประพฤตปิ ฏิบัติตนใหถกู ตอ งตามหลกั ปฏิบัติ ระเบียบ ขอปฏิบัติ กฎหมาย ซ่ึงสามารถตรวจสอบได โดยผูท เ่ี กย่ี วของเรียกวาอะไร ก. ความพอเพียง (Sufficient) ข. ความโปรง ใส (Transparent) ค. ความรู (Knowledge) ง. ความต่นื รู (Realize) 11. ปรัชญาท่ีนํามาประยุกตใชใ นการตอ ตานการทุจรติ ไดด ีท่ีสดุ คอื อะไร ก. ปรชั ญาการศึกษาผูใหญ ข. ปรชั ญาของทฤษฎีใหม ค. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ง. ปรัชญาจิตอาสาเพอ่ื พัฒนาทอ งถิ่น 12. หลักของจติ พอเพยี งเพอ่ื ตอตานการทุจริตคอื อะไร ก. STAR ข. STRONG ค. STORM ง. STRANGER 13. ขอใดเปนผทู ่ีมคี วามเออ้ื อาทรตอ เพอื่ นมนุษย ก. จติ อาสาชว ยผปู ระสบภยั น้ําทวม ข. แบง ปนอาหารใหส นุ ขั เรร อน ค. บรจิ าคเงนิ ชว ยเหลอื วดั ใกลบาน ง. ปลกู ปา ชายเลนเพ่อื อนุรักษช ายฝง

44 14. ขอใดบอกลกั ษณะของบคุ คลท่มี ีความตืน่ รูในเรื่องการทจุ รติ ได 1. สมสว น เลาเรอื่ ง “ผอ.สามเสนถกู สอบแปะ เจย๊ี ะ” 2. สดสวย กลาววา “เรอ่ื งคอรร ปั ชนั เปน เร่ืองปกติธรรมดามาก” 3. สดสี ใหค วามรวมมือในกจิ กรรมตาง ๆ ของหมูบานเปนอยางดี 4. แสนงาม อยูในกลุมชาวบา นประทว งเรอื่ งการทจุ รติ จาํ นําขาวของรฐั บาล 15. ขอใดบอกลกั ษณะหรือการกระทําทเี่ ปนการต่ืนรไู ด ก. ใชเวลาทาํ งานอยางเหมาะสม ข. รจู ักแกป ญหาในงานทมี่ ีอปุ สรรค ค. มคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา ที่การงาน ง. มุงม่นั ทํางานเพอื่ ใหส ําเร็จตามเปาหมาย 16. ขอใดกลาวถกู ตอ งทสี่ ุด ก. การยอมรบั ความคิดเห็นตางและรบั ฟงเสยี งสว นนอ ย ข. การมหี นา ท่ใี นการถือครองกรรมสิทธ์ิทรพั ยสิน ค. การมสี ิทธใิ นการไมไปใชสิทธิเลือกตงั้ ง. การมเี สรภี าพในการกลาวรายผูอน่ื 17. ขอใดกลา วถงึ ความเปน พลเมอื งถกู ตอ งทส่ี ุด ก. สถานภาพของบคุ คลท่ีกฎหมายรับรองสิทธแิ ละหนาที่ ข. ชาวเมอื งและการยอมรบั ความแตกตาง ค. ราษฎรและความเทาเทยี มกนั ในสังคม ง. สามัญชนคนทว่ั ไปทอี่ ยใู นประเทศไทย 18. บุคคลใดเปนคนดีของสงั คม ก. นายดาํ ตดั ไมสกั มาสรา งบา นใหแ ม ข. กํานนั วิชยั บุกรุกปาชายเลนเพอ่ื ทํานากงุ ค. ผใู หญบ ุญ ระดมชาวบานซอ มสะพาน ง. ครใู หญ เปน หวั คะแนนใหพรรคการเมอื งดงั ในทองถ่นิ

45 19. สถานการณใ ดเปน การกระทําทผ่ี ดิ กฎหมาย ก. ขับรถฝาไฟแดง ข. แจงเกดิ ภายใน 7 วัน ค. แจง ตายภายใน 24 ช่ัวโมง ง. ขน้ึ ทะเบยี นเกณฑทหารเมอื่ อายุ 18 ป 20. พลเมืองดใี นขอ ใดทส่ี ง ผลตอ ความเปนระเบยี บเรยี บรอ ยของสงั คมมากทส่ี ดุ ก. รบั การศึกษาภาคบงั คับ ข. ปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย ค. ปฏิบัติตนตามคา นิยมท่ดี ี ง. การใชสิทธิ 30 บาท รกั ษาทุกโรค

46 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียน แบบทดสอบกอนเรยี น 1. ข 11. ข 2. ค 12. ก 3. ง 13. ง 4. ก 14. ก 5. ง 15. ข 6. ค 16. ง 7. ค 17. ง 8. ก 18. ก 9. ง 19. ค 10. ค 20. ข แบบทดสอบหลังเรียน 1. ก 11. ค 2. ง 12. ข 3. ข 13. ก 4. ข 14. ง 5. ค 15. ง 6. ง 16. ก 7. ก 17. ก 8. ง 18. ค 9. ค 19. ก 10. ข 20. ข

47 แนวคําตอบกิจกรรม เฉลยกจิ กรรมบทท่ี 1 คําชี้แจง : ใหผเู รียนรว มกนั อภปิ รายในการพบกลุมตามประเด็นทายกิจกรรมน้ี แลวจดบันทกึ ลงในแบบบนั ทกึ น้ี 1.2 ในชุมชนหรอื ตําบลของผูเ รยี นมโี ครงการทีภ่ าครัฐหรอื เอกชนไดดาํ เนนิ การไปแลว และเขาขาย ผลประโยชนทับซอ นมีอะไรบา ง แนวคําตอบ โครงการทําถนนหมูบาน ตอมาไฟฟาจะมาวางระบบก็ทําใหถนนเสียหาย มีขอคิดวา กอนท่จี ะทาํ ถนนหนวยงานท่เี ก่ียวขอ งตองประชมุ หารอื รว มกันในการดําเนินงาน เพื่อไมใหเกิดความเสียหาย ในเรอ่ื งของงบประมาณ หรือวิธีการดาํ เนินงาน เฉลยกจิ กรรมบทท่ี 2 คาํ ชีแ้ จง : ใหผ เู รยี นแบงกลมุ ละ ๆ 4 - 5 คน แลว อภปิ รายเกี่ยวกับการปฏบิ ตั ิตนใหเ ปน ไปตามกฎ กติกาตาง ๆ จากประสบการณจ รงิ ในกจิ กรรมตา ง ๆ ใหร ะบุถงึ พฤตกิ รรมทีก่ อใหเกิดการทจุ ริต พฤติกรรม ท่ีแสดงออกถึงความละอายตอการทจุ ริต และพฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความไมทนตอ การทจุ รติ ลงในแบบฟอรม ท่กี าํ หนด แนวคาํ ตอบ ที่ กิจกรรม พฤตกิ รรมทีแ่ สดงถงึ พฤติกรรมทแี่ สดงถึง พฤตกิ รรมทแ่ี สดงถึง การทจุ รติ ความละอายตอ การทุจริต ความไมท นตอการทจุ รติ 1 การทํางานที่ไดรบั ลอกการบา นเพือ่ น การเลิกพฤตกิ รรมลอกการบาน บอกเพ่อื น มอบหมาย ของเพอื่ นถือวา เปนการละอาย 2. บอกครปู ระจาํ กลมุ 2 การทาํ ความสะอาด ไมชว ยทําความสะอาด ควรรวมมอื ทาํ ความสะอาด บอกหรอื ชกั ชวนเพอ่ื นท่ี สถานทีพ่ บกลมุ ถือวาเปน การไมร บั ผดิ ชอบ กบั เพอื่ นอยา งเตม็ ใจ ไมทําความสะอาดใหม าชวยกนั ทุจริตตอ หนา ท่ี 3 การสอบ การทจุ รติ ลอกขอสอบ 1. ไมยอมใหเพื่อนลอกขอ สอบ 1. แจง ผคู มุ สอบ จากเพอื่ น ตอ งทาํ ขอ สอบดว ยตนเอง 2. ไมยอมใหเพอื่ นลอก

48 ท่ี กิจกรรม พฤตกิ รรมท่ีแสดงถงึ พฤติกรรมที่แสดงถงึ พฤติกรรมที่แสดงถงึ การทจุ ริต ความละอายตอ การทจุ ริต ความไมท นตอการทุจรติ 4 การแตงกาย แตง กายไมสุภาพ ควรแตง กายใหถ ูกกาลเทศะ 1. ไมย อมใหผ ูเรยี นท่ีแตงกาย เขา หองสอบ ไมสภุ าพเขาสอบ 2. วา กลาวตกั เตือน 5 กิจกรรมผเู รยี น ครูมอบหมายใหไ ปศกึ ษา ผเู รียนตอ งไปศึกษาเรียนรู ครตู อ งตัดคะแนนผเู รียน นอกสถานท่ีแตผูเรยี นไมไ ป ดว ยตนเอง ที่ไมไ ปศึกษาเรียนรูดว ยตนเอง ตามท่ีครูมอบหมาย 6 การเขา แถว ไมเขาแถวรบั ส่งิ ของบรจิ าค ควรเขาแถวตามลําดับมา 1. คนหนาตอ งไมย อม รับบริการ กอนหลัง ใหมาแทรก 2. ไมแ จกส่ิงของใหคนที่ ไมเ ขาแถว เฉลยกจิ กรรมบทที่ 3 กจิ กรรมท่ี 1 คําช้แี จง : ใหผ ูเรยี นอธิบายความหมายของคาํ วา “STRONG” STRONG ยอ มาจากอะไร อกั ษรแตละตัว คือ S , T , R , O , N , G หมายถึงอะไร จงอธบิ ายมาใหเ ขา ใจ แนวคาํ ตอบ STRONG ยอมาจากคํา 6 คํา และมีความหมาย ดงั น้ี 1) ความพอเพียง (Sufficient: S) หมายถึง แตล ะบุคคลนอ มนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลกั ในการดาํ เนินชวี ิต กลาวคอื ตองมี ความพอประมาณ ในการกระทําสิ่งตาง ๆ ใหไมมากไมนอย เกินไป ไมเ บยี ดเบยี นตนเองหรอื ผูอนื่ มีเหตุผล กลาวคือ ส่ิงท่ีตัดสินใจทําอยางพอประมาณน้ัน ตองมีเหตุ มผี ลรองรับ รวมทั้งคาํ นึงถงึ ผลท่ีจะเกดิ จากการกระทํานัน้ ๆ อยางรอบคอบแลว และเตรียมตัวใหพรอมรับ ผลกระทบท่ีเปนความเปลี่ยนแปลง ซ่ึงเปน ภูมิคุมกัน กลาวคือ ใหสามารถรับมือและปรับตัวรองรับ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนได โดยมีเง่ือนไขท่ีฐานของการตัดสินใจวาตองมีความรูและคุณธรรม ตามแผนภาพปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) ความโปรงใส (Transparent : T) หมายถงึ การที่ตวั เราตองทาํ ทกุ เร่อื งบนพ้นื ฐานของความโปรง ใส เปนธรรม ตรวจสอบได ตรงไปตรงมา และปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบยี บ ขอบงั คับ และขอกําหนดตาง ๆ ทมี่ ใี นสังคม

49 3) ความต่ืนรู (Realize : R) / ความรู (Knowledge : N) หมายถึง นักศึกษาตองมีความรูความเขาใจ และตระหนักรูถึงรากเหงาของปญหาและภยั รา ยแรงของผลกระทบท่ีเกิดจากการกระทําทุจริตประพฤติมิชอบ ตอสังคมในภาพรวม หากเกิดการทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบข้ึนมาแลว กค็ วรมีสว นรวมในการตานทจุ รติ ดังกลาวดวย เพอ่ื เปน พลงั ใหค นอื่น ๆ ในสังคมเขา มามีสวนรว มในการไมก ระทาํ การทจุ รติ รวมเฝาระวงั และตานการทุจรติ 4) มงุ ไปขางหนา (Onward : O) เราทกุ คนตองมคี วามหวงั รว มสรา ง ปรับเปลย่ี นตัวเอง และสว นรวม ใหมีความเจริญกาวหนาบนฐานความโปรงใส ความพอเพียงและรวมกันสรางวัฒนธรรมสุจริตใหเกิดข้ึน ในสงั คมใหเกิดขน้ึ อยา งไมท อ 5) ความเอ้อื อาทร (Generosity : G) สงั คมไทยเปนสงั คมท่ผี ูคนมีความเอื้ออาทรตอกัน ความเอ้ืออาทรนี้ จึงเปนพลังที่เราสามารถนํามาใชในการกระตุนเพื่อสรางการมีสวนรวมในการทุจริตใหเกิดขึ้นในสังคม ดังพระราชดํารัสพระราชทานของในหลวงรัชกาลที่ 9 เพื่ออัญเชิญลงพิมพในนิตยสารที่ระลึกครบ 36 ป ของสโมสรไลออนสก รงุ เทพฯ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2538 วา “สังคมใดก็ตาม ถามีความเอ้ือเฟอเก้ือกูลกัน ดว ยความมงุ ดีมุงเจริญตอกัน สงั คมนน้ั ยอ มเตม็ ไปดว ยไมตรีจติ มิตรภาพ มคี วามรม เย็นเปนสุขนา อยู...” 6) ตา นการทุจริต นกั ศกึ ษาเองตองไมเ ปน สวนหนึ่งของการทุจริต เชน เม่ือเราทําผิดกฎจราจรและ ตองเสียคาปรับ เราควรไปเสยี คาปรบั ทีส่ ถานีตํารวจตามจํานวนท่ีภาครัฐเรียกเก็บ แทนการจายเงินใหตํารวจ โดยตรงดวยจํานวนเงินท่ีนอยกวา หรือเม่ือพบเห็นการกระทําทุจริตก็ควรมีสวนรวมในการตานทุจริตผาน Social Media ซง่ึ เราพบวา ปจจุบนั ไดผ ลในหลายเรื่อง กิจกรรมที่ 2 คาํ ชแี้ จง : ใหผ ูเรียนดู Clip เร่อื ง อัญชลเี ธอตายแน เวลา 13.38 นาที แลวใหผ เู รียนชว ยกนั สรปุ วาผหู ญงิ (อัญชล)ี คนน้ที ําอะไรไมถกู ตองบา ง และถาผเู รยี นเปน ผูห ญงิ (อัญชล)ี คนนี้จะปฏบิ ัติตวั อยา งไร ใหเหมาะสม แนวคาํ ตอบ สิ่งทผ่ี หู ญงิ คนนีท้ าํ ไมถ กู ตอง คือ (1) มารยาทในการกนิ อาหารแบบบฟุ เฟต โดยปกติแลวการกินอาหารแบบบุฟเฟต ผูทานอาหาร ตอ งตักอาหารชนิดท่ตี อ งการในปรมิ าณพอสมควรที่สามารถทานไดหมด ไมตักอาหารมากเกินกวาความสามารถ ในการทานได และไมใหนําอาหารออกไปขา งนอกหองอาหาร แตผูหญงิ คนนี้แอบเอาอาหารใสกระเปาออกไป ขางนอก จนอาหารหกเลอะกระเปา ราคาแพงเม่อื หกลม ซง่ึ เปน เรือ่ งที่ไมถกู ตอง (2) การดํารงชีวติ ที่ไมเหมาะสม ผูหญิงคนนี้มีความตระหน่ีเกินไป อาหารท่ีนําออกมาจากบุฟเฟต เอามาไวใ นตูเ ยน็ ไวทานวนั อ่ืน ซงึ่ อาจจะทาํ ใหทองเสียได รวมทั้งเดินไปทํางานไมยอมข้ึนรถไปทํางาน ทําให ตอ งใชเ วลาในการเดินทางมากและอาจจะเกดิ อบุ ัติเหตุได ซึ่งจะตองเสียเวลาและคาใชจา ยมากข้นึ

50 ถาขาพเจาเปนผูหญิงคนนั้น จะไมแอบเอาอาหารออกมาจากรานอาหารบุฟเฟต ทานอาหาร ท่สี ดใหม เดนิ ทางโดยพาหนะรถยนตเพือ่ ความปลอดภยั และประหยัดเวลา กจิ กรรมท่ี 3 คําชแ้ี จง : ใหผ เู รียนเขยี นคําสัญญาของตนเองจากเร่ืองโปรงใส ความต่ืนรู ความรู มุงไปขางหนา ความเอื้ออาทร และตา นทจุ รติ มาจํานวน 1 เร่อื ง พรอ มวาดภาพประกอบจากการปฏบิ ตั ิตนของผูท มี่ จี ิต STRONG : จติ พอเพยี งตา นทุจรติ แนวคาํ ตอบ คาํ สัญญาของผเู รียนตอ งเกยี่ วขอ งกบั (1) การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นอยางตรงไปตรงมา (2) ปฏบิ ัตติ ามหลักปฏบิ ัติ ระเบยี บ ขอ ปฏิบตั ิ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง (3) รักษาคาํ พดู /รกั ษาสญั ญา (4) ปฏิบัติตนดวยความเปน ธรรม (5) มหี ลักในการปฏิบตั ิทสี่ ามารถตรวจสอบได เฉลยกิจกรรมบทท่ี 4 กิจกรรมท่ี 1 คําชแี้ จง : ใหผูเรียนทาํ เครือ่ งหมาย  หนาขอทถี่ กู และทาํ เครื่องหมาย × หนาขอ ทผ่ี ิด  1. ถา ประชาชนทกุ คนประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามหนาทข่ี องพลเมอื งทดี่ ีบานเมอื งจะสงบสุข × 2. คนไมมรี ะเบียบวินยั สามารถอยรู ว มกนั ในสังคมไดด วยความเรียบรอ ย  3. คนทรี่ ูจักประหยดั และอดออม จะทาํ ใหชีวติ ไมข ดั สน มกี นิ มใี ชอ ยา งพอเพยี ง  4. แกวตาไปซ้ือขนมทีต่ ลาด แมค าทอนเงนิ มาเกิน แกว ตาจึงนําเงินไปคนื แมคา แกว ตาเปน เดก็ ทมี่ ี ความซือ่ สัตย × 5. ปด เทอมแมพาก๊ิบไปปลูกปา ชายเลน แมข องกบิ๊ คาํ นึงถึงประโยชนของตนเองมากกวาประโยชนสวนรวม  6. การแกไขปญหาโดยใชข อมูลตนเอง สังคม สง่ิ แวดลอม และวชิ าการกอนตดั สนิ ใจ คือ ปรชั ญาคิดเปน  7. ประชาชนมีสว นรวมในการปกครอง คอื ลักษณะสาํ คญั ท่สี ดุ ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย  8. ผเู รียนมหี นาท่ปี ฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบของหองเรยี น เพอ่ื ความเปนระเบียบเรียบรอย × 9. จรยิ ธรรม เปน หลกั ในการประพฤติปฏบิ ัตทิ ่ีสรางประโยชนใหแกผ อู ่นื  10. พลเมืองทด่ี ี หมายถงึ ผทู ี่ปฏิบัติหนาทพ่ี ลเมอื งไดค รบถวน ทง้ั กจิ ทต่ี อ งทําและกจิ ที่ควรทํา

51 กิจกรรมที่ 2 คาํ ชี้แจง : ใหผ เู รยี นทาํ เครื่องหมาย หนาขอทถ่ี ูก และทาํ เครือ่ งหมาย × หนา ขอ ท่ผี ดิ × 1. การถือสทิ ธใิ นการครอบครองทรัพยส นิ ตามกฎหมาย เรยี กวา สทิ ธิขนั้ พน้ื ฐาน  2. สทิ ธใิ นชวี ิตและรา งกาย สทิ ธใิ นครอบครวั สทิ ธใิ นช่อื เสียงและเกยี รติยศ เรียกวา สิทธเิ ฉพาะบคุ คล  3. สทิ ธทิ จี่ ะไดร บั การพฒั นา ไดร บั การศกึ ษาทดี่ ี และภาวะโภชนาการทเ่ี หมาะสม เปน สทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานของเดก็ × 4. สมาชกิ ในสงั คมทุกคนมหี นาที่ในการประกอบอาชีพ  5. บุคคลทุกคนมเี สรีภาพในการรวมกนั เปน สมาคม สหภาพ สหกรณ และพรรคการเมือง × 6. การอปุ การะเลย้ี งดบู ุตร เปน หนาทข่ี องบดิ ามารดาตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ × 7. การลงสมคั รรบั เลอื กตงั้ ระดับทอ งถนิ่ เปน หนาท่ที างการเมอื งระดบั ประเทศ × 8. การชําระภาษีเปนหนา ทข่ี องพลเมอื งตามทบี่ ัญญตั ไิ วในกฎหมายอื่น ๆ  9. ทุกคนตองเคารพสทิ ธิและหนาที่ของตนเองและผูอ ื่น × 10. การไปใชส ิทธิเลอื กตง้ั เปน เสรีภาพของแตล ะบคุ คล กิจกรรมที่ 3 คาํ ช้แี จง : ใหผ ูเ รียนศกึ ษาคนควาขอ มลู เรือ่ ง ความรบั ผิดชอบตอ ชมุ ชนและสังคม โดยอธิบายความหมาย พอสงั เขป แลวยกตวั อยางการปฏิบตั ติ นทีด่ ที ่ีมีความรับผิดชอบตอ ชมุ ชนและสงั คม จาํ นวน 3 ขอ แนวคําตอบ ความรับผิดชอบตอชุมชน หมายถึง ภาระหนาท่ีของบุคคลท่ีจะตองเกี่ยวของและ มสี วนรวมตอ สวัสดิภาพของชมุ ชนและสังคม ซึง่ ตนเองดํารงอยู ตวั อยาง การปฏบิ ตั ติ นทดี่ ี มคี วามรบั ผิดชอบตอชมุ ชนและสงั คม 3 ขอ 1) ไมทิง้ ขยะลงในแมน้ํา ลําคลอง 2) ชวยดแู ลรักษาโทรศพั ทส าธารณะหรอื สถานที่พกั ผอนในชมุ ชน 3) เขา แถวรับบรกิ ารจากหนวยงานภาครฐั

52 บรรณานุกรม การบรหิ ารจิตและเจริญปญญา. (2562). สืบคนเม่ือวันที่ 12 มิถุนายน 2562, จาก https://sites.google.com/site/fon5481136057/s/52?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2 Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1. บรษิ ทั เทนเซนต (ประเทศไทย) จาํ กัด. (2562) กฎหมาย. สืบคน เม่อื วนั ท่ี 12 มถิ ุนายน 2562, จาก https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal- institute/%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0 %B8%A2. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. ทจุ ริต. สืบคน เมอื่ วันที่ 10 มถิ ุนายน 2562, จาก http://www.royin.go.th/dictionary/. ____________. ละอาย. สืบคนเมื่อวนั ท่ี 10 มิถนุ ายน 2562, จาก http://www.royin.go.th/dictionary/. ____________. เขา แถว. สบื คนเมอื่ วันที่ 12 มิถนุ ายน 2562, จาก http://www.royin.go.th/dictionary/. ____________. จริยธรรม. สบื คนเมอ่ื วันที่ 12 มถิ นุ ายน 2562, จาก http://www.royin.go.th/dictionary/. ____________. บรกิ าร. สบื คน เมอ่ื วันที่ 12 มิถุนายน 2562, จาก http://www.royin.go.th/dictionary/. มติชนออนไลน. (2562). หลักสูตรตานทุจริตศึกษา : การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับ ผลประโยชนสวนรวม. สืบคนเมื่อวนั ท่ี 12 มิถนุ ายน 2562, จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_1083012.

53 โรงเรียนเบญจมานสุ รณ จงั หวัดจนั ทบุรี. 20 เรอื่ งท่ีครตู อ งรู และควรรู. (2562). สืบคนเมอ่ื วนั ท่ี 12 มถิ นุ ายน 2562, จาก http://www.bms.ac.th/bms/attachments/article/221/%E0%B8%A3%E0%B8%A7 %E0%B8%A1%2020%20%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E 0%B8%AD%E0%B8%87.pdf. ศศิมา สขุ สวาง. (2562). 9 ทกั ษะการคิด (9 Thinking Skills). สืบคน เมอื่ วันที่ 12 มถิ นุ ายน 2562, จาก https://www.sasimasuk.com/1 6 7 6 1 1 0 7 / 9 -/ 9 -ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด แ บ บ ต า ง ๆ -9 - thinking-skills. ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี. (2562). หลักปรัชญา คดิ เปน .สบื คนเม่ือวันท่ี 12 มถิ ุนายน 2562, จาก https://sites.google.com/a/lopburi.nfe.go.th/kokjaren/hlak-prachya-khid-pen. สยามรัฐ. “เราจะครองแผนดินโดยธรรมเพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม...”. สืบคนเม่ือวันที่ 27 กนั ยายน 2562, จาก https://siamrath.co.th/n/4328. สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติรวมกับสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน (2562). แผนการจดั การเรยี นรู “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การปองกันการทุจรติ ” ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 นนทบรุ :ี ชุมนมุ สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กัด สาขา 4. สํานักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติรวมกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขน้ั พ้นื ฐาน. (2562). แผนการจัดการเรียนรู “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การปอ งกนั การทจุ รติ ” ระดบั มัธยมศึกษาชั้นปท ี่ 4 . นนทบุร:ี ชุมนมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั สาขา 4. สํานักตานทจุ ริตศกึ ษา. สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาต.ิ (2562). คูมอื แนวทางปฏิบัติสําหรับการขับเคล่ือนหลักสูตรตานทุจริตศึกษาในพ้ืนที่สําหรับ บุคลากร สํานกั งาน ป.ป.ช. ทั้งสวนกลางและสวนภูมภิ าค. (เอกสารอดั สําเนา).

54 สาํ นักงานสาธารณสุขอําเภอวานรนวิ าส. (2562). คูมือการปฏบิ ัตงิ าน เพอื่ ปองกนั ผลแระโยชนทบั ซอน ประจําป พ.ศ. 2561. สบื คน เม่อื วันท่ี 31 กรกฎาคม 2562, จาก http://www.skko.moph.go.th/dward/document_file/d_wanonniwas/training_file_ name/20190327214409_1292525589.docx Faculty Of Architecture. ภาระหนาท่ีและความรับผิดชอบของบุคคล. (2562). สืบคนเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2562, จาก https://sites.google.com/site/khwamrabphidchxb1212/ PearMayPloy. บทบาทหนา ทข่ี องพลเมืองด.ี (2562). สืบคน เม่อื วนั ท่ี 12 มถิ นุ ายน 2562, จาก https://sites.google.com/site/pearmayploy/bth-thi1-reuxng-phlmeuxng-di-khxng- prathes-chati-laea-sangkhm/1-1-phlmeuxng-di.

55 คําส่ังสํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 1. คําสง่ั สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่ี 116/2562 เรือ่ ง แตงต้งั คณะทํางานจดั ทาํ ส่ือประกอบการเรยี นรู ดานการปองกันการทจุ รติ หลกั สูตรตานทจุ ริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education) 2. คาํ ส่งั สาํ นกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่ี 166/2562 เร่ือง แตงต้ังคณะทาํ งานบรรณาธิการสอ่ื ประกอบการเรียนรู ดา นการปอ งกนั การทุจรติ หลกั สูตรตา นทุจรติ ศึกษา (Anti – Corruption Education)

56

57

58

59

60

61

62

63 การประชมุ จัดทําหนงั สอื เรยี น รายวชิ าการปองกนั การทุจรติ 1. การประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารจัดทาํ สอื่ ประกอบการเรยี นรู ดานการปองกันการทุจรติ หลกั สูตรตานทุจรติ ศึกษา (Anti – Corruption Education) ระหวา งวันที่ 10 – 14 มถิ ุนายน 2562 ณ โรงแรมรอยัลซติ ี้ กรุงเทพมหานคร 2. การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธิการส่อื ประกอบการเรียนรู ดา นการปองกนั การทจุ ริต หลกั สูตรตานทุจรติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education) ระหวา งวันที่ 30 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมเบลลา บี จงั หวดั นนทบุรี

64 การประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารจดั ทาํ สอ่ื ประกอบการเรียนรู ดา นการปอ งกันการทุจริต หลักสูตรตา นทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) ระหวางวันที่ 10 – 14 มถิ นุ ายน 2562 ณ โรงแรมรอยลั ซติ ี้ กรุงเทพมหานคร คณะผจู ัดทําตน ฉบบั บทท่ี 1 การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตน กบั ผลประโยชนส วนรวม 1. นางสาวพรทิพย จองทองหลาง เจาพนักงานปองกนั การทุจรติ ชาํ นาญการ สาํ นักตา นทจุ ริตศึกษา สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ 2. นางดษุ ฎี ศรีวัฒนาโรทยั ขา ราชการบาํ นาญ 3. นายอนันต คงชมุ รองผูอํานวยการ สาํ นกั งาน กศน.จังหวัดสุโขทัย 4. นางสาวจริ าภรณ ตนั ติถาวร ผอู ํานวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร 5. นางอาํ พรศลิ ป ลมิ าภริ ักษ ผูอ าํ นวยการ กศน.เขตประเวศ กรงุ เทพมหานคร 6. นางวันเพ็ญ แจมอนงค ผูอ ํานวยการ กศน.เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร 7. นายมงคล พลายชมพนู ทุ ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอไทรงาม จังหวดั กําแพงเพชร 8. นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป หวั หนากลุมงานพฒั นาส่ือการเรียนรู กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9. นางเยาวรัตน ปน มณวี งศ หัวหนากลมุ งานเทียบระดบั การศกึ ษา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 10. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น นักวชิ าการศกึ ษา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

65 คณะผูจัดทําตน ฉบบั บทที่ 2 ความละอายและความไมท นตอการทุจรติ 11.นางสาวชิดชนก สีนอง เจาพนักงานปองกนั การทจุ รติ ปฏิบตั กิ าร สาํ นักตานทุจรติ ศึกษา สาํ นักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ 12.นางนพรตั น เวโรจนเ สรวี งศ ขาราชการบาํ นาญ 13.นางสาวอรุณี พันธุพาณิชย ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอสงู เมน จงั หวดั แพร 14.นางสาวอาํ ภรณ ชา งเกวยี น ผูอํานวยการ กศน.อําเภอแจหม จงั หวัดลาํ ปาง 15.นางสาวพชั รา จงโกรย ศึกษานิเทศก สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดลพบุรี 16.นางสาวนติ ยา มุขลาย ศึกษานิเทศก สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดลพบรุ ี 17.นางนสุ รา สกลนกุ รกจิ หวั หนากลุมงานพฒั นาการเรียนการสอน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 18.นางสาวชัญญากาญจน โคตรพฒั น นักจัดการงานทว่ั ไปชํานาญการ กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 19.นางสาวชาลนิ ี ธรรมธษิ า นักวชิ าการศึกษา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย คณะผจู ดั ทาํ ตน ฉบับ บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพียงตา นการทจุ ริต 1. นายศุภวฒั น สอนลา เจา พนกั งานปองกนั การทจุ รติ ปฏิบัติการ สํานกั ตานทจุ รติ ศึกษา สาํ นักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ 2. นางสาววิไล แยม สาขา ขาราชการบํานาญ 3. นางสาววิมลรัตน ภูริคุปต ผูอาํ นวยการ กศน.เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 4. นางสาวพชั ยา ทบั ทิม ผูอํานวยการ กศน.เขตพระโขนง กรงุ เทพมหานคร 5. นางสาววาสนา โกสยี วฒั นา ครเู ช่ียวชาญ ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลุมเปาหมายพิเศษ 6. นายมงคลชัย ศรีสะอาด นกั วชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการพเิ ศษ ศนู ยว งเดือนอาคมสรุ ทัณฑ จงั หวัดอุทยั ธานี 7. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี หวั หนากลมุ งานประกันคณุ ภาพศึกษา กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

8. นางสาวฐติ ิมา วงศบัณฑวรรณ 66 9. นางสุกญั ญา กุลเลศิ พิทยา 10. นางสาวชมพนู ท สังขพ ชิ ยั นักวชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการพเิ ศษ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นกั วชิ าการศกึ ษา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย คณะผจู ดั ทําตนฉบับ บทท่ี 4 พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบตอ สงั คม 1. นายภัทรพล หงสจ ันทกานต เจาพนกั งานปอ งกนั การทจุ รติ ปฏิบตั กิ าร สํานกั ตา นทจุ รติ ศึกษา สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ 2. นางสาวพิมพาพร อินทจกั ร ขาราชการบาํ นาญ 3. นายจริ พงศ ผลนาค ผูอํานวยการ กศน.อาํ เภอสวรรคโลก จังหวดั สโุ ขทัย 4. นางมัณฑนา กาศสนุก ผูอ าํ นวยการ กศน.อําเภอเมืองแมฮอ งสอน จงั หวัดแมฮ อ งสอน 5. นางสาวอนงค ชูชยั มงคล ครเู ชี่ยวชาญ ศูนยวงเดอื นอาคมสรุ ทัณฑ จังหวดั อทุ ัยธานี 6. นางสาวอนงค เชอื้ นนท ครชู ํานาญการพเิ ศษ กศน.เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร 7. นางสาวพจนีย สวัสดร์ิ ตั น ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอเมืองกําแพงเพชร จังหวัดกาํ แพงเพชร 8. นางสาววรรณพร ปท มานนท หัวหนา กลุมงานพฒั นาหลกั สูตร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น นักวิชาการศกึ ษาชาํ นาญการ 10. นางสาวขวัญฤดี ลิวรรโณ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นักวชิ าการศึกษา กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

67 การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธกิ ารสอ่ื ประกอบการเรียนรดู า นการปองกนั การทจุ ริต หลกั สตู รตา นทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) ระหวา งวันที่ 30 กรกฎาคม - 2 สงิ หาคม 2562 ณ โรงแรมเบลลา บี จังหวดั นนทบรุ ี คณะบรรณาธิการ ระดบั ประถมศกึ ษา 1. นางดษุ ฎี ศรีวฒั นาโรทัย ขาราชการบาํ นาญ ขาราชการบํานาญ 2. นายอัมพร มากเพช็ ร ผอู ํานวยการ กศน.เขตพระโขนง กรงุ เทพมหานคร ครเู ชี่ยวชาญ ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 3. นางสาวพัชยา ทบั ทมิ ตามอธั ยาศัย กลุมเปาหมายพเิ ศษ ศกึ ษานิเทศก สํานักงาน กศน.จังหวัดลพบรุ ี 4. นางสาววาสนา โกสียว ัฒนา หัวหนากลมุ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 5. นางสาวพชั รา จงโกรย หวั หนา กลมุ งานเทียบระดับการศึกษา 6. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นกั วิชาการศึกษา 7. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 8. นางสาวชมพูนท สงั ขพ ิชยั

68 คณะทํางาน ที่ปรกึ ษา พระประชาธรรม เลขาธกิ าร กศน. ลสี วุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายศรชี ัย ไสยโสภณ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ 2. นางสาววิเลขา และการศึกษาตามอัธยาศัย 3. นางรงุ อรณุ คณะทาํ งาน ไสยโสภณ ผูอํานวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1. นางรุงอรณุ หวั หนา กลุมงานพฒั นาส่ือการเรียนรู กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป นักจัดการงานท่วั ไปชาํ นาญการ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 3. นางสาวชญั ญากาญจน โคตรพัฒน นักวิชาการศึกษาชาํ นาญการ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4. นางสาวทิพวรรณ วงคเรือน นักวิชาการศกึ ษา กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. นางสาวชมพนู ท สังขพชิ ยั ออกแบบปก ศรีรัตนศลิ ป หัวหนากลมุ งานพัฒนาส่ือการเรยี นรู กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นายศภุ โชค