รายงานชนดิ ของไฟลภ์ าพจัดทาโดยนาย ณัฐธนพล นิลนวล
คำนำ E-Book นสี้ ร้ำงขึ้นเพอื่ ให้ควำมร้แู ละควำมเข้ำใจในกำรใช้ งำนของไฟล์ภำพให้ คู่ควรกับกำรใช่ งำนในกำรทำงำน จดั ทาโดย ณฐั ธนพล นิลนวล
สารบัญเร่ือง หนา้ ท่ีรูปแบบชนิดของไฟล์ภาพ 1ความรู้ของไฟลภ์ าพ 2ประเภทของไฟลภ์ าพกราฟิก 9
PEG ยอ่ มาจาก ( Join Photographics Export Group ) สามารถบีบอดั ข้อมูลที่เป็ นรูปภาพประเภท Bitmap หรือ ภาพถ่ายต่างๆ GIF ยอ่ มากจาก ( Graphics Interchange Format ) เป็ นการบนั ทึกภาพทีส่ ามาราบีบอัดไฟลใ์ หม้ ีขนาดเล็ก ส่วนมากจะนาไปใชบ้ นั ทกึ เป็ นภาพเคล่อื นไหว PNG ยอ่ มากจา ( Portable Network Graphics ) ใช้ในการบันทึกไฟลภ์ าพประเภท Vector บันทกึ ส่วนที่ โปรง่ ใส และ สามารถเลือกระดบั สีไดถ้ ึง 16.7 ลา้ นสี BMP ยอ่ มาจาก ( Windows Bitmap ) เป็ นรปู แบบของไฟลม์ าตรฐานทีใ่ ช้กันในระบบปฏบิ ตั ิการ Windows และ DOS TIFF ยอ่ มาจาก ( Tagged Image File Format ) เป็ นการบันทกึ รปู ภาพซ่งึ สามารถบีบอัดขอ้ มูล ทาใหค้ ณุ ภาพ ของสีเหมือนตน้ ฉบับ แตไ่ ฟลน์ ้นั จะมขี นาดคอ่ นขา้ งใหญ่ และ สามารถนาไปใชร้ ว่ มกบั โปรแกรม PageMaker ได้ EPS ยอ่ มาจาก ( Encapsulated PostScript ) เป็ นรูปแบบไฟลท์ สี่ ามรถบรรจภุ าพแบบ Vector และ Bitmap ซ่ึงนารูปภาพไปใชใ้ น Illustrator PDF ยอ่ มาจาก ( Portable Document Format ) เป็ นรปู แบบไฟลท์ ใ่ี ชใ้ นการนาเสนอขอ้ มูลบนอินเตอร์เนต็ ขอ้ ดีกค็ อื สามารถรกั ษารปู แบบของหนา้ กระดาษ ตัวอกั ษร รูปภาพ ใหเ้ หมือนกับตน้ ฉบบัรูปแบบชนดิ ของภาพแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ 1. ภาพแบบ บิตแมป( Bitmap ) หรือ ราสเตอร์( Raster ) คือภาพท่เี กิดจากหน่วยภาพเล็กๆ มารวมกนั จนเป็ นภาพใหญ่คล้ายจ๊ิกซอร์สามารถดไู ด้โดยการซมู ภาพเข้าไปกล่าวคือภาพ เหล่านยี้ ่งิ ซูม(ขยาย)ย่งิ แตก จนดูไม่รู้เร่ือง เช่นภาพนามสกุล .JPEG, .TIFF,.GIF และ PNG เป็ นต้น 2. ภาพแบบเวคเตอร์( Vector ) คอื ภาพท่เี กดิ จากเส้นโค้ง, เส้นตรง และคณุ สมบัตสิ ขี องเส้น นนั้ ๆท่เี กิดจากการคานวณทางคณิตศาสตร์(ท่เี รามองไม่เหน็ ด้วยตา)กล่าวคือ ท่จี ดุ ๆหน่งึ ของภาพท่เี ราซูมเข้าไปมันจะเกดิ จากการกาหนดคณุ สมบัตไิ ว้ว่าภาพเกิดจากเส้นตรง หรือเส้นโค้งท่เี อียงก่อี งศา เกบ็ ค่ารหัสสอี ะไรไว้ เม่อื เราซมู ขยายภาพไม่ว่าจะขนาด เท่าไหร่ก็ตามภาพมันจะไม่แตก(ไม่สูยเสยี ความละเอียดไป) เพราะการซูมภาพเป็ นการ คูณจานวนเท่า ลงไปท่คี ณุ สมบตั ิภาพน่นั เองดังนนั้ ถ้าเราแก้ไขภาพก็คอื ไปแก้ไข คุณสมบตั ิทางคณติ ศาสตร์ ไม่ว่าจะย่อหรือขยายก่คี รัง้ ภาพแบบนจี้ ะยังคมชัดเท่าเดิมภาพ Vector เหล่านไี้ ด้แก่ 3. - ภาพ .wmf (Clipart ท่เี ราไว้ตกแต่งใน Microsoft Office น่นั เอง) 4. -ภาพใน Adobe Illustrator, Macromedia Freehand
ประเภทของไฟล์ภาพกราฟิ ก การสร้างภาพกราฟิกหรอื การตกแตง่ ภาพกราฟิ กประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกเป็นอีกปัจจยั หน่ึงทม่ี ีความสาคญั เพราะความละเอยี ดของไฟล์ภาพจะส่งผลกบั ขนาดของภาพ เชน่ ภาพที่นามาใช้งาน บนเว็บเพจควรจะต้องมีขนาดเล็ก เพื่อนาไปเรียกใช้งานบนเวบ็ เพจได้อยา่ งรวดเร็ว ประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกที่นิยมใช้โดยทว่ั ไป ได้แก่1. JPEG หรอื JPG (Join Photographic Export Group) เป็นรูปแบบไฟล์ทีเ่ ก็บภาพแบบราสเตอร์ทไี่ มต่ ้องการคณุ ภาพสูงมากนกั เชน่ ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล ภาพถ่ายจากโทรศพั ท์มอื ถือและภาพกราฟิกสาหรบั แสดงบนอนิ เทอร์เนต็ สามารถแสดงสีได้ถงึ16.7 ล้านสี เป็นไฟล์ภาพชนดิ หนงึ่ ท่ไี ด้รบั ความนยิ ม เพราะไฟล์มขี นาดเล็กสามารถบีบอดั ข้อมลู ได้หลายระดบั จดุ เด่น 1. สนบั สนุนสีได้ถึง 24 bit 2. แสดงสีได้ถึง 16.7 ล้านสี 3. สามารถกาหนดค่าการบีบอดั ไฟล์ได้ตามท่ีต้องการ 4. มรี ะบบแสดงผลแบบหยาบและคอ่ ย ๆ ขยายไปสู่ละเอยี ดในระบบโพรเกรสซีฟ(Progressive) 5. มโี ปรแกรมสนบั สนนุ การสร้างจานวนมาก 6. เรียกดไู ด้กบั บราวเซอร์ (Browser) ทกุ ตวั จุดด้อย 1. ไมส่ ามารถทาภาพให้มีพนื ้ หลังแบบโปรง่ ใส (Transparent) ได้ 2. ทาภาพเคล่ือนไหว (Animation) ไม่ได้
2. GIF (Graphic Interchange Format) เป็นไฟล์ภาพที่สามารถบีบอดั ข้อมูลให้มขี นาดเล็กได้ส่วนมากจะนาไปใช้บนั ทึกเป็นไฟล์ภาพเคลื่อนไหวและนิยมมากในการใช้งานบนเว็บเพจ จุดเด่น 1. สามารถใช้งานข้ามระบบไมว่ ่าจะเป็นระบบปฏบิ ตั ิการวนิ โดวส์ (Windows) หรือระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู กิ ซ์ (Unix) ก็สามารถเรยี กใช้ไฟล์ภาพสกลุ นีไ้ ด้ 2. ภาพมขี นาดไฟล์ต่า จากเทคโนโลยกี ารบีบอดั ภาพทาให้สามารถส่งไฟล์ภาพได้อย่างรวดเร็ว 3. สามารถทาภาพพนื ้ หลังแบบโปรง่ ใสได้ 4. มีโปรแกรมสนบั สนุนการสร้างจานวนมาก 5. เรียกดูได้กบั บราวเซอรท์ ุกตัว 6. สามารถนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหวได้ จดุ ด้อย 1. แสดงสีได้เพียง 256 สี 2. ไมเ่ หมาะกบั ภาพที่ต้องการความคมชดั หรือความสดใส
3. PNG (Portable Network Graphics) เป็นชนดิ ของไฟล์ภาพท่นี าจุดเดน่ ของไฟล์ภาพแบบ GIF และแบบ JPG มาพฒั นารว่ มกนั ทาให้ไฟล์ภาพชนดิ นแี ้ สดงสีได้มากกวา่ 256 สี และยงั สามารถทาพนื ้ หลงั ภาพให้โปร่งใสได้ จึงเป็นไฟล์ภาพที่ได้รบั ความนยิ มมากในปจั จุบนั จดุ เด่น 1. สนบั สนุนสีได้ตามคา่ True color (16 bit, 32 bit หรอื 64 bit) 2. สามารถกาหนดคา่ การบีบอดั ไฟล์ได้ตามที่ต้องการ 3. ทาภาพพนื ้ หลังแบบโปร่งใสได้ จดุ ด้อย 1. หากกาหนดคา่ การบบี อดั ไฟล์ไว้สูงจะใช้เวลาในการคลายไฟล์ภาพสูงตามไปด้วย 2. ไม่สนบั สนนุ กบั บราวเซอร์รุน่ เก่า 3. โปรแกรมสนบั สนนุ ในการสร้างมีน้อย4. BMP (Bitmap) เป็นรูปแบบของไฟล์ภาพมาตรฐานที่ใช้ได้ในระบบปฏิบตั ิการวนิ โดวส์โดยมีลักษณะการจดั เก็บไฟล์ภาพเป็นจุดสีทลี ะจดุ จงึ ทาให้ภาพดเู สมือนจริง จุดเด่น 1. แสดงรายละเอยี ดสีได้ 24 บติ 2. ไม่มกี ารสูญเสียข้อมูลใด ๆ เม่อื มีการยอ่ หรอื ขยายภาพ 3. นาไปใช้งานได้กบั ทุกโปรแกรมในระบบปฏิบตั ิการวนิ โดวส์ จดุ ด้อย 1. ภาพมีขนาดใหญ่มากจึงใช้เนอื ้ ท่ีในการจดั เก็บคอ่ นข้างมาก 2. ความละเอียดของภาพอาจจะไม่ชดั เจนเหมือนต้นฉบับ
5. TIF หรือ TIFF (Tagged Image File) เป็นไฟล์ท่ใี ช้เก็บภาพแบบราสเตอรค์ ณุ ภาพสูง เช่น ภาพกราฟิกทนี่ าไปทางานด้านส่ิงพิมพ์(Artwork) สามารถเกบ็ ข้อมูลของภาพไว้ได้ครบถ้วน ทาให้คณุ ภาพของสีเหมือนต้นฉบบั จดุ เด่น 1. สามารถใช้งานข้ามระบบ ไม่วา่ จะเป็นระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์หรือระบบปฏิบตั กิ ารยนู ิกซ์กส็ ามารถเรยี กใช้ไฟล์ภาพชนดิ นีไ้ ด้ 2. แสดงรายละเอียดสีได้ 48 บติ 3. ไฟล์มคี วามยดื หย่นุ สูง สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ 4. เม่อื มกี ารบีบอดั ไฟล์จะมกี ารสูญเสียข้อมูลน้อยมาก 5. มีโปรแกรมสนบั สนุนการสร้างจานวนมาก จดุ ด้อย 1. ไฟล์ภาพมขี นาดค่อนข้างใหญ่ 2. ใช้พนื ้ ทใี่ นการจดั เก็บไฟล์ภาพสูง6. PSD (Photoshop Document) เป็นไฟล์ภาพเฉพาะโปรแกรม Adobe Photoshop จะทาการบนั ทกึ แบบแยกเลเยอร์ (Layer)โดยเก็บประวตั ิการทางานและรายละเอียดการตกแตง่ ภาพ เอาไว้ เพอื่ ง่ายตอ่ การแก้ไขในภายหลงั จุดเด่น 1. มีการบนั ทกึ แบบแยกเลเยอร์และเก็บประวตั ิการทางานทุกขนั้ ตอน 2. สามารถนาไฟล์ภาพมาแก้ไขได้ในภายหลัง จุดด้อย 1. ไฟล์ภาพมขี นาดใหญ่เมื่อเทียบกบั ไฟล์ภาพประเภทอ่ืน 2. ไม่สามารถเปิดใช้งานในโปรแกรมอืน่ ได้
ตวั อยา่ งภาพ JPEG
ตวั อยา่ งภาพ PNG
ตวั อยา่ งภาพ JPEG+PNG
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: