JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD. คู่มือการป้องกนั อนั ตราย และ หลกั ปฏิบตั ิภาวะฉุกเฉินทางรังสี
ข บทนำ สารกัมมันตรังสีและรังสี เป็นพลังงานนิวเคลียร์รูปแบบหนึ่งที่ได้นำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางใน ปัจจุบัน เช่น การเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ การศึกษา ฯลฯ ทำให้มีการเพิ่มปริมาณการใช้มากข้ึน ดังนั้นการใช้สารกัมมันตรังสีและรังสีให้เป็นประโยชน์ต้องคำนึงถึงอันตรายที่อาจได้รับด้วย การใช้ ประโยชน์ และการป้องกันอันตรายให้ได้ผลดีนั้นผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ในเรื่องของกัมมันตภาพรังสี และ สารกัมมันตรังสี เพื่อให้การใช้ประโยชน์เป็นไปอย่างปลอดภัย ผู้ปฏิบัติงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องต้องเรียนรู้ ถึงที่มาของรังสีต่างๆ คุณสมบัติของรังสีและอันตรกิริยาต่อสสารของรังสี ซึ่งเป็นความรู้เกี่ยวกับกายภาพของ นิวเคลียร์หรือนิวเคลียร์ฟิสิกส์ที่อธิบายคุณสมบัติของนิวเคลียสซึ่งเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของอะตอมของธาตุ และ เปน็ แหลง่ ทเ่ี กดิ พลงั งานนวิ เคลียร์ การทำงานเกี่ยวกับรังสีนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่พนักงานที่ทำงานจะต้อง มีความรู้ในการควบคุมและ ป้องกันอันตรายจากรังสี ซึ่งรังสีทีจ่ ะกล่าวในที่นี้ คือ รังสีเอ็กซ์ ซึ่งในกระบวนการผลิตทางบริษัทฯได้นำมาใช้ เพื่อตรวจสอบองค์ประกอบของธาตุและหาค่าความหนาของชิ้นงานที่ผ่านการชุบ ถึงแม้ปริมาณของรังสี ภายหลังการตรวจวัดจะมีค่าน้อยกว่า 1 µSv ซึ่งเป็นค่าที่น้อยมากๆก็ตาม แต่เพื่อความปลอดภัยและความ เชื่อมั่นในการทำงานของพนักงานที่ทำงานกับรังสีชนิดนี้ ทางหน่วยงานความปลอดภัยฯ จึงได้กำหนด มาตรการเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากรังสี และหลักปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินทางรังสีขึ้นมา เพื่อเป็น แนวทางให้พนกั งานสามารถปฏบิ ัตติ ัวได้เหมาะสม ซงึ่ เรอื่ งดงั กล่าวเป็นประโยชน์กบั ตวั พนักงานเปน็ อยา่ งมาก ดว้ ยความปรารถนาดี คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน / หน่วยงานความปลอดภัย MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
สารบญั ค เร่ือง หนา้ 1. ความรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกบั รงั สี X – rays 1 2. ผลของรงั สีตอ่ สิ่งมชี ีวิต 2 3. การปอ้ งกันอนั ตรายจากรังสี 3 4. ภาวะฉุกเฉินทางรังสีและหลักปฏบิ ัตใิ นภาวะฉุกเฉินทางรังสี 4 5. มาตรการปอ้ งกนั อันตรายจากรังสี 5 6. ตำแหน่ง / ทตี่ ้ังของเครอื่ งกำเนิดรังสี 8 MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
1 1. ความรทู้ ั่วไปเกีย่ วกบั รังสี X – rays รังสเี อก็ ซเ์ ปน็ คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าเช่นเดียวกบั รังสีแกมมา ซ่ึงแตกต่างจากรังสีแกมมาคอื รังสเี อ็กซเ์ กดิ จากการเปลี่ยนแปลงพลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรของอะตอม หรือเรียกได้ว่ามีการเกิดขึ้นภายนอก นิวเคลียสของอะตอมเท่านั้นนัน่ เอง รังสีเอ็กซ์แทนด้วยสัญลักษณ์ X มีมวลและประจุเท่ากบั 0 สามารถทำให้ ตัวกลางเกิดการแตกตัวได้ เรียกว่า Ionizing Radiation เป็นการแตกตัวโดยอ้อม เนื่องจากเป็นรังสีที่มี พลังงานมากกว่า 12.4 eV โดยปกติแล้วค่าพลังงานของรังสีเอ็กซ์จะแปรผันผกผันกับความถี่หรือความ ยาวคลืน่ อันตรกิริยาจากรังสีเอ็กซ์ การสูญเสียพลังงานของรังสีเมื่อผ่านสสารไม่เหมือนกับอนุภาคที่มีประจุ กล่าวคือสามารถทะลุทะลวงตัวกลางไปได้โดยไม่สูญเสียพลังงานและไม่เกิดปฏิกิริยา เป็นรังสีที่มี Specific range ไม่แนน่ อนเหมือนอนภุ าคทมี่ ีประจุ อันตรกริ ิยาของรังสเี อก็ ซ์ต่อสสารมี 3 แบบ คอื 1. Photoelectric Effect เกิดเมื่อรังสีเอ็กซ์มาชนโดยตรงกับอะตอมของตัวกลางและ ถ่ายเทพลังงานทั้งหมดให้แก่อิเล็กตรอนในวงโคจรเป็นผลให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาด้วย พลังงานจลน์ 2. Compton Scattering เกิดเมื่อรังสีเอ็กซ์มาชนกับอะตอมของตัวกลางและถ่ายทอด พลังงานบางส่วนให้แก่อิเลก็ ตรอน โดยอิเล็กตรอนทห่ี ลุดออกมาจะมพี ลังงานจลน์เท่ากับ ผลต่างของรงั สเี อก็ ซ์ทเี่ ขา้ มาและพลังงานยดึ เหนยี่ วของอิเล็กตรอน 3. Pair Production เกิดจากการที่รังสีรังสีเอ็กซ์พลังงานสูงถูกดูดกลืนเมื่อทำปฏิกิริยากับ Coulombic field ของนิวเคลียสแล้วทำให้มีอิเล็กตรอนและโพซิตรอนเกิดขึ้น ปฏิกิริยา นี้เป็นตัวอย่างการเปลี่ยนพลังงานเป็นมวล ดังนั้นพลังงานของรังสีเอ็กซ์อย่างน้อยต้อง เทา่ กับ Rest mass ของอเิ ล็กตรอน-โพซิตรอน นนั่ คือ 1.02 MeV MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
2 2. ผลของรังสีตอ่ ส่ิงมีชวี ิต ภายหลงั ทม่ี ีการค้นพบวิธีการผลติ รงั สเี อ็กซ์ข้นึ โดย W.C.Reontgen เมอ่ื ปี ค.ศ. 1895 ไมน่ าน นักวิทยาศาสตร์พบว่ารังสีมีผลต่อเซลล์ของร่างกาย โดยสังเกตเห็นได้ชัดเจนที่ผิวหนังเป็นการแสดงว่ารังสีทำ อันตรายต่อเซลล์ร่างกายมนุษย์ อันตรกิริยาของรังสีต่อเซลล์สิ่งมีชีวิต เกิดขึ้นโดยการก่อให้เกิดอนุมูลอิสระซ่งึ ไปมีผลกับเอนไซม์ที่เป็นส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต และนอกจากนี้รังสียังมีผลโดยตรงกับ DNA ทำให้เกิดผล ดังนี้ 1. เซลล์ตายก่อนเวลาอันควร 2. ทำให้การแบง่ ตวั ลดลงหรือหยุดไป 3. เกดิ ความผิดปกติข้นึ ในเซลล์ ปัจจัยที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบของรงั สี 1. ปริมาณรังสีที่ได้รับ บุคคลที่ได้รับปริมาณรังสีมากจะแสดงอาการก่อนบุคคลที่ได้รับใน ปรมิ าณน้อย 2. อัตราการไดร้ บั รงั สี คอื การไดร้ ับรังสีด้วยปรมิ าณรังสตี ่อคร้ังตอ่ เวลา 3. ชนิดและพลงั งานของรังสกี ารไดร้ ับรังสตี า่ งชนิดกัน 4. ชนิดของสารกมั มนั ตรังสี 5. ความไวต่อรังสีของอวยั วะ MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
3 3. การปอ้ งกันอนั ตรายจากรังสี โดยทั่วไปมนุษย์ทุกคนได้รับรังสีจากธรรมชาติและรังสที ี่มนุษย์สร้างขึ้นระดับหน่ึงอยู่แล้ว รังสีที่ได้รบั ส่วนมากจะได้รับจากรังสีคอสมิกและรังสีจากพื้นดิน แต่อย่างไรก็ตามรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้นมานั้นให้โทษต่อ มนษุ ย์มากกว่ารงั สีทมี่ ีอยู่ในธรรมชาติ ดว้ ยเหตุน้ีจึงมกี ารพฒั นาระบบการปอ้ งกันอันตรายจากรังสี ซ่งึ สามารถ ป้องกันได้ทั้งผู้ปฏิบัติงานและประชาชนทั่วไป โดยการวางมาตรการป้องกัน ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยหลาย ประการประกอบกนั ชนิดของการไดร้ ับรงั สี 1. Occupational Exposure เป็นปริมาณรงั สีท่บี ุคคลได้รบั จากการทำงาน การประกอบ อาชีพ โดยต้องมีการจำกัดปริมาณการได้รับรังสีให้น้อยที่สุดเท่าที่จะกระทำได้ โดยจัดให้มีการจัดการและการ ปฏิบัติงานที่เหมาะสม ส่วนปริมาณรังสีที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับต้องไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งสามารถควบคุมด้วย การควบคมุ ท่ตี น้ กำเนดิ รังสี ควบคุมทสี่ ภาพแวดล้อมของตน้ กำเนดิ รงั สแี ละควบคมุ ที่ผปู้ ฏิบตั ิงาน 2. Medical Exposure เปน็ ปรมิ าณรังสที ี่ไดร้ ับจากการวนิ จิ ฉัยและการรกั ษาโรค ไม่มีการ กำหนดขีดจำกัดของปริมาณรังสีที่ได้รับ แต่การได้รับรังสีต้องพิจารณาตามความจำเป็นในการรักษาโดยมี แพทยเ์ ป็นผู้พิจารณา 3. Public Exposure เป็นปรมิ าณรงั สที ่สี าธารณชนไดร้ บั ไมร่ วมการไดร้ บั รงั สีจากการ ประกอบอาชีพ รังสีจากทางการแพทย์และรงั สจี ากธรรมชาติ ระบบการป้องกนั รังสี ICRP ได้กำหนดหลักของระบบการปอ้ งกันอนั ตราย 3 ข้อ เรียกว่า ALARA Principles ดงั น้ี 1. Justification of a practice เปน็ การพิจารณาเบ้ืองต้นในการนำต้นกำเนิดรังสมี าใช้ โดย ยึดหลักว่า “ไม่มีการทำงานทางรังสีใดๆอย่างเด็ดขาด ถ้าไม่มีแผนปฏิบัติงานที่มีการป้องกันอันตรายทางรังสีที่ ดพี อและใหผ้ ลคมุ้ ค่ามากทีส่ ุด” 2. Optimization เปน็ การคำนวณวเิ คราะหแ์ ละประเมินเพ่ือหาทางเลือกท่ีดที สี่ ดุ โดยนำ ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมมาคำนวณร่วมด้วย โดยเฉพาะการป้องกันอันตรายจากรังสี เพอ่ื ใหผ้ ู้ปฏบิ ตั งิ านและประชาชนท่วั ไปได้รบั รังสนี ้อยที่สุด 3. Individual Dose Limitation เป็นการกำหนดระดับรงั สที ่ยี อมรบั ได้ ซง่ึ ต้องผา่ น 2 ขน้ั ตอนท่ี กลา่ วมาแล้ว ซึง่ ปรมิ าณรงั สที นี่ อ้ ยท่ีสุดตอ้ งไมเ่ กนิ ค่าระดบั รังสีทีย่ อมรับได้ MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
4 4. ภาวะฉุกเฉนิ ทางรงั สแี ละหลกั ปฏิบัตใิ นภาวะฉุกเฉินทางรงั สี ภาวะฉุกเฉินด้านรังสี หมายถึง เหตุการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน โดยไม่คาดคิดหรือวางแผนไว้ ล่วงหน้า โดยเกี่ยวข้องกับรังสี หรือต้นกำเนิดรังสีให้ไม่สามารถควบคุมต้นกำเนิดรังสีหรือปริมาณรังสีให้อยู่ใน ระดับที่กำหนดได้ มีผลก่อให้เกิดอันตรายโดยตรงและโดยอ้อมทั้งทางด้านร่างกายและทรัพย์สินของ ผู้ปฏิบัตงิ าน ผู้เกยี่ วขอ้ งและประชาชนท่วั ไป ระดบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางรงั สี แบ่งออกเปน็ 4 ระดบั ตามสภาพเหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ขึน้ คือ 1. ภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา้ นสารเคมีระดบั ที่ 1 สถานการณ์มีขอบเขตอยู่ภายในหอ้ งทดลอง ห้องปฏิบัติการหรอื ภายในตัวอาคาร 2. ภาวะฉุกเฉินทางด้านสารเคมีระดบั ที่ 2 สถานการณม์ กี ารขยายขอบเขตออกไปทวั่ บริเวณโรงงาน 3. ภาวะฉกุ เฉินทางดา้ นสารเคมรี ะดับที่ 3 สถานการณอ์ าจมีผลกระทบต่อสถานท่ขี ้างเคยี ง 4. ภาวะฉกุ เฉินทางดา้ นสารเคมรี ะดบั ท่ี 4 สถานการณอ์ าจมีผลกระทบตอ่ ประเทศ ข้างเคยี ง หลกั ปฏิบัติกอ่ นเกดิ ภาวะฉกุ เฉินด้านรังสี 1. ฝกึ อบรมใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั รังสี รวมทัง้ การปฏบิ ัตติ ัวเม่ือเกดิ ภาวะฉุกเฉนิ ทางรงั สแี ละ ฝกึ ซ้อมโดยการจำลองสถานการณ์ 2. ตรวจสอบเคร่ืองกำเนิดรังสีอยา่ งสมำ่ เสมอ ทำการวดั ปริมาณรังสีทอ่ี อกมาจากเครอ่ื ง และปริมาณทผี่ ปู้ ฏบิ ัตงิ านไดร้ ับเพื่อทำการประเมนิ 3. ระบหุ นา้ ท่ีของบุคลากรท่ที ำหนา้ ทท่ี างรังสีใหช้ ัดเจน ว่าตอ้ งดำเนนิ การอย่างไรในกรณี เกดิ ภาวะฉุกเฉินทางรังสี 4. จดั มาตรการควบคุมทางเข้า-ออก โดยให้ใช้ประตูฉุกเฉินในการอพยพออกจากพ้ืนท่ีและ ไปตามเส้นทางอพยพของหน่วยงานตนเอง เมอื่ อพยพออกหมดแลว้ ให้เจา้ ท่ีทเ่ี กยี่ วข้องเข้าปฏิบัติหน้าท่ี MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
5 5. มาตรการป้องกันอันตรายจากรังสี 1. กำหนดเวลาในการปฏบิ ัตงิ านกับเคร่ืองกำเนิดรังสีให้เหมาะสม 2. กำหนดระยะหา่ งระหว่างผปู้ ฏิบัติงานกบั เครอื่ งกำเนิดรังสีใหเ้ มาะสม 3. กั้นพ้นื ทกี่ ารทำงานด้วยฉากกน้ั หรือเครือ่ งกำบังรังสีท่สี ามารถปอ้ งกันการทะลทุ ะลวงของ รังสีได้ ได้แก่ คอนกรีต , ตะกัว่ , เหลก็ (ใชก้ ับรังสีเอก๊ ซ)์ ในกรณีทไี่ มส่ ามารถลดเวลา การทำงานหรือระยะห่างของผปู้ ฏบิ ัตงิ านและเคร่ืองกำเนิดรังสี 4. ผูไ้ มม่ ีส่วนเกย่ี วขอ้ งกับการทำงานในหอ้ งทำงานที่เกี่ยวกับรงั สี หา้ มเขา้ กอ่ นไดร้ บั อนุญาต 5. ติดปา้ ยสัญลักษณ์แสดงพน้ื ทที่ ่ีมกี ารใชเ้ ครือ่ งกำเนดิ รังสีรงั สี 6. บุคคลท่ีทำงานเกีย่ วกับเครือ่ งกำเนิดรังสตี อ้ งได้รบั การฝกึ อบรมเกยี่ วกบั รงั สี และได้รับ การฝกึ สอนเกย่ี วกับการใชเ้ ครอ่ื งมืออยา่ งปลอดภยั 7. ในการปฏบิ ตั ิงานเก่ียวกับเครอ่ื งกำเนิดรงั สตี ้องปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนการปฏบิ ัติงานท่ี กำหนดไว้ 8. ในกรณีทไ่ี ม่รเู้ ก่ียวกับการปฏิบัตงิ านขน้ั ตอนใดของการใช้เคร่อื งกำเนิดรงั สีให้ถามผู้ ชำนาญก่อนทกุ ครัง้ 9. ห้ามใช้เครือ่ งกำเนดิ รังสใี นกรณีท่ไี มม่ เี ครอ่ื งกำบังรงั สีโดยเดด็ ขาด และขณะใชง้ านตอ้ ง แน่ใจวา่ เครอ่ื งกำบงั รงั สีปดิ สนทิ 10. ตรวจวดั ปรมิ าณรงั สที ่เี ครอื่ งกำเนิดรังสีและทีต่ วั พนกั งานเป็นประจำทุกปี โดยมี เจา้ หนา้ ท่ีเทคนคิ ด้านรังสีทำการประเมนิ 11. ในกรณที ม่ี กี ารรั่วไหลของรงั สใี ห้ปฏบิ ตั ติ ามแผนฉกุ เฉนิ ด้านรงั สอี ยา่ งเครง่ ครดั MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
6 หลกั ปฏิบตั ิในภาวะฉุกเฉินทางรังสี 1. ผปู้ ฏิบตั งิ านตอ้ งออกจากพนื้ ท่ีเกดิ เหตุฉุกเฉนิ ดา้ นรงั สี กรณีมผี ้ปู ระสบอนั ตราย จำเปน็ ตอ้ งเคล่อื นย้ายออกจากพนื้ ทีเ่ กิดเหตแุ ละทำการประเมินปริมาณรังสีทผ่ี ้ปู ระสบ เหตไุ ด้รบั เพอ่ื ให้การรักษาพยาบาลทถ่ี ูกวธิ ี 2. กน้ั พน้ื ท่ีบริเวณทเ่ี กิดเหตุฉุกเฉนิ ดา้ นรงั สี ห้ามบุคคลท่ไี มเ่ กย่ี วขอ้ งเข้าพนื้ ทเ่ี กิดเหตุโดย เดด็ ขาด และบุคคลทไ่ี ดร้ ับมอบหมายให้เขา้ ไปในพื้นท่เี กดิ เหตตุ อ้ งมอี ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายจากรังสี เชน่ เคร่ืองวัดรังสปี ระจำตวั บุคคล ชดุ และหน้ากากป้องกนั รงั สกี ่อนจงึ สามารถเขา้ ไปในพน้ื ท่ไี ด้ 3. ติดเครื่องหมายหรือสญั ลกั ษณ์และขอ้ ความฉกุ เฉนิ ทางรงั สีให้มองเห็นไดช้ ัดเจน 4. แจ้งหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพ่ือขอความชว่ ยเหลือ แนวทางปฏิบตั ใิ นการแจง้ เหตุฉกุ เฉินทางรงั สี 1. การแจง้ เหตุภาวะฉุกเฉนิ ทางรงั สี แจ้งมายังสำนักงานปรมาณูเพอื่ สนั ติตลอด 24 ชม. 2. สถานที่ติดตอ่ ศนู ย์ปฏบิ ตั ิงานฉุกเฉินด้านรงั สี สำนักงานปรมาณเู พ่ือสันติ ถ.วภิ าวดี รังสติ จตุจักร กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ (662) 5795230, 5790138-9, 5790547, 5620086, 5620091 หมายเลขโทรสาร (660) 5610313 3. เจา้ หน้าทร่ี บั แจง้ เหตุ ในเวลาราชการแจ้งเจ้าหน้าทกี่ องสุขภาพ นอกเวลาราชการหรือ วนั หยุดราชการแจง้ หัวหน้าเวรรักษาความปลอดภัยเครื่องปฏกิ รณป์ รมาณู หรือผ้ชู ่วย หวั หน้าเวรรกั ษาความปลอดภัยเครอื่ งปฏกิ รณ์ปรมาณู แจง้ เหตุเม่อื เกดิ สถานการณน์ ี้ สถานการณ์ แจ้งทันที แจ้งภายใน แจง้ ภายในระยะเวลาท่ี 24 ชม. เหมาะสม 1.มีผู้ได้รบั รงั สี > 0.25 Sv > 0.05 Sv < 0.05 Sv - ท่ัวร่างกาย > 1.50 Sv > 0.30 Sv < 0.30 Sv - บนผวิ หนงั ทั่วร่างกาย > 3.75 Sv > 0.75 Sv < 0.75 Sv - เทา้ หวั เขา่ มือ หรือแขน MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
สถานการณ์ แจ้งทันที แจง้ ภายใน 7 24 ชม. 2. การแพร่กระจายของสารกมั มนั ตรังสี > 5000 เทา่ แจ้งภายในระยะเวลาท่ี เกินกวา่ คา่ ALIs และ DACs ≥ 1 สัปดาห์ > 500 เทา่ เหมาะสม - ในระยะ 24 ชม. ≥ 1 วัน < 500 เทา่ 3. ความเสียหาย อนั เปน็ เหตุให้ - - ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิงานได้ตามปกติ 1. วิธีการแจ้ง ตอ้ งแจ้งขอ้ มูลให้ครบถ้วน ดงั น้ี 1.1.ช่ือ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศพั ท์ / โทรสารของสถานทเี่ กดิ เหตุ ผู้มหี นา้ ท่ี รับผดิ ชอบดำเนินการในภาวะฉุกเฉินทางรงั สขี องหน่วยงานท่เี กดิ อบุ ัตเิ หตแุ ละผู้ แจ้งเหตุฉกุ เฉินทางรงั สี 1.2.วนั เวลาท่เี กิดเหตุ หรอื เม่อื ตรวจพบอุบตั ิเหตุ 1.3.สาเหตุการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ 1.4.รังสที ีเ่ กี่ยวขอ้ ง 1.5.ความแรงของรังสี (กอ่ น-หลังการเกดิ อุบตั เิ หต)ุ 1.6.รายละเอียดของเครอ่ื งมือหรืออปุ กรณก์ ำเนิดรังสี เชน่ ผูผ้ ลติ ย่ีห้อ หมายเลข เคร่ือง เป็นตน้ 1.7.ผลการตรวจวดั ทีด่ ำเนนิ การไปแล้ว 1.8.ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ผูไ้ ด้รับบาดเจบ็ - การบาดเจบ็ ทีเ่ กดิ จากรังสี – การบาดเจ็บทวั่ ไป ที่เกิดจากอบุ ตั ิเหตุ 1.9.โอกาสทป่ี ระชาชนจะไดร้ ับผลกระทบทางรังสจี ากอุบัติเหตคุ รงั้ นี้ 1.10. ความช่วยเหลอื หรือคำแนะนำทต่ี อ้ งการ MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
8 6. ตำแหนง่ / ทต่ี ้งั ของเครื่องกำเนดิ รังสี SECOND FLOOR MJ4 MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
9 SECOND FLOOR MJ5 MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
10 ขอบเขตการใช้คู่มือ ค่มู ือการปอ้ งกนั อันตรายและหลักปฏบิ ตั ใิ นภาวะฉุกเฉนิ ทางรังสี ฉบับนจี้ ดั ทำโดย แผนกความปลอดภัยของบรษิ ทั แมรกี อท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกัด โดยจะนำมาใชเ้ พ่อื เปน็ แนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อความปลอดภัยในโรงงานที่นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค ตำบล บ้านเลน อำเภอ บางปะอนิ จงั หวัด พระนครศรอี ยุธยา (สำนักงานใหญ่) MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
11 “งานคือหวั ใจความปลอดภยั คือชีวิต” MARIGOT JEWELLERY (THAILAND) CO., LTD.
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: