Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มนวัตกรรม

รวมเล่มนวัตกรรม

Published by 1nutthawut, 2021-07-21 02:55:57

Description: รวมเล่มนวัตกรรม

Search

Read the Text Version

แบบประเมนิ ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A) รายการ ดเี ย่ยี ม เกณฑก ารประเมนิ ไมผ า น ประเมนิ (3 (0 ดี ผา น (2) (1) 1. ใฝเรียนรู ศกึ ษาคนควา ศกึ ษาคนควา ศึกษาคนควา ไมศ กึ ษาคนควา หาความรูจาก หาความรูจาก หาความรูจากหนังสอื หาความรู หนังสอื เอกสาร หนงั สือ เอกสาร เอกสาร สิง่ พิมพ สงิ่ พิมพ สิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยตี า ง ๆ สอ่ื เทคโนโลยีตา งๆ ส่ือเทคโนโลยตี างๆ แหลงเรยี นรทู ้งั แหลงเรยี นรทู งั้ แหลงเรียนรทู ้ัง ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก โรงเรยี น โรงเรียน เลือกใชส่อื โรงเรียน มีการบันทึกความรู ไดอยา งเหมาะสม มกี ารบันทึกความรู มกี ารบนั ทกึ ความรู สรุปเปน องคความรู สรปุ เปนองคค วามรู นำเสนอและ นำเสนอและ แลกเปล่ยี นความรู แลกเปล่ียนองค กบั ผอู นื่ ได ความรดู วยวิธกี าร ทหี่ ลากหลาย 2. มุงมนั่ ใน ต้งั ใจและรบั ผิดชอบ ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ตัง้ ใจและรับผดิ ชอบ ไมตัง้ ใจปฏิบตั ิ การทำงาน ในการปฏบิ ตั ิหนาท่ี ในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ ในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ีท่ี หนาท่ีการงาน ท่ีไดร ับมอบหมายให ที่ไดร บั มอบหมายให ไดร ับมอบหมายให สำเร็จมกี าร สำเร็จมีการ สำเร็จมกี ารปรบั ปรุง ปรับปรงุ และ ปรบั ปรงุ และ และพฒั นาการ พัฒนาการทำงานให พัฒนาการทำงานให ทำงานใหด ีขน้ึ ดขี นึ้ ดวยตนเองและ ดีขึน้ ดว ยตนเอง เปนแบบอยา งทีด่ ี

เกณฑคะแนนระดับคณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัตชิ ัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดเี ยี่ยม หมายถึง พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิชัดเจน และบอยครัง้ (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิเปนบางครงั้ (1 คะแนน ผา น หมายถึง ไมเ คยปฏบิ ตั พิ ฤติกรรม (0 คะแนน ไมผาน หมายถึง คุณภาพ เกณฑก ารสรปุ ผล ดเี ยี่ยม คะแนน 5-6 ดี 3-4 ผา น 2-1 ไมผ าน 0

แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น ระดับคณุ ภาพ สมรรถนะทป่ี ระเมนิ ดเี ยย่ี ม ดี ผาน ไมผ า น (3 (2 (1 (0) 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1.1 มีความสามารถในการรบั - สงสาร 1.2 มีความสามารถในการถา ยทอดความรู ความคิด ความเขาใจของตนเอง โดยใชภาษาอยางเหมาะสม 1.3 ใชวิธกี ารส่อื สารท่ีเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห 2.2 มคี วามสามารถในการสรา งองคความรู 3. ความสามารถในการแกป ญหา 3.1 มีความสามารถในการแกปญหาและอปุ สรรคตางๆ ทเ่ี ผชิญได 3.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู ประยุกต ความรู มาใชในการปอ งกันและแกป ญ หา 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 4.1 ทำงานกลุม รวมกับผอู ืน่ ได 4.2 นำความรูท่ไี ดไปใชป ระโยชนในชวี ิตประจำวัน 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5.1 เลอื กใชเทคโนโลยีไดอยา งเหมาะสม 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี สรปุ ผลการประเมนิ

เกณฑคะแนนระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบัติชัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดีเย่ียม หมายถงึ พฤติกรรมทีป่ ฏิบัตชิ ัดเจน และบอ ยคร้งั (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั เิ ปนบางครั้ง (1 คะแนน ผา น หมายถึง ไมเ คยปฏิบตั ิพฤติกรรม (0 คะแนน ไมผาน หมายถงึ คุณภาพ เกณฑก ารสรปุ ผล ดีเยยี่ ม คะแนน 13-15 ดี 9 – 12 ผา น 1–8 ไมผ าน 0

แบบประเมินคานยิ มหลกั ของคนไทย รายการประเมิน ดเี ยย่ี ม เกณฑการประเมิน ไมผาน ดี ผาน (0 (3 (2) (1) ไมป ฏบิ ตั ิตาม ปฏิบัติตามหลกั ปฏิบัตติ ามหลกั หลกั ศีลธรรม ขอที่ 6 มีศีลธรรม รักษา ประพฤตติ ามหลัก ศีลธรรม รูจักการ ศลี ธรรม รูจกั การ ไมรจู กั การ แบงปน และ แบง ปน และ แบง ปน และ ความสัตย หวังดีตอผูอื่น ศลี ธรรม รจู ักการ ชวยเหลอื ผูอ่ืน ชวยเหลือผูอ ่ืน ชว ยเหลอื ผูอนื่ บาง นานๆ ครัง้ เผอื่ แผแ ละแบง ปน แบง ปน และ ไมเ คารพสทิ ธิ เคารพสิทธิของ เคารพสิทธิของ ของผอู ื่น และ ชวยเหลอื ผูอ่นื ผูอ่นื และปฏบิ ัติ ผอู ื่น และปฏบิ ัติ ไมป ฏบิ ัติตน ตนตามหลกั ตนตามหลัก ตามหลกั สม่ำเสมอ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย บางเปน บางครงั้ แตนานๆ ครง้ั ขอท่ี 7 เขาใจการเรียนรู เคารพสิทธขิ อง ไมตรงตอเวลา ตรงตอเวลา ให ตรงตอ เวลา ให และไมความ การเป น ประชาธิปไตย ผูอ นื่ และปฏบิ ตั ิ ความเคารพและ ความเคารพและ เคารพและ ปฏบิ ตั ติ ามคำสั่งดี ปฏบิ ัติตามคำสงั่ ปฏิบตั ติ าม อันมีพระมหากษัตริยทรง ตนตามหลกั คำสั่ง เปนบางครั้ง เปนประมุขท่ถี ูกตอง ประชาธปิ ไตย ไมส ุภาพ เรยี บรอย และ ขอที่ 8 มีระ เบียบ วินั ย ตรงตอเวลา ให ขาดความ รอบคอบในการ เคารพกฎหมาย ผูน อ ยรูจัก ความเคารพและ ทำงาน การเคารพผใู หญ ปฏิบตั ิตามคำสงั่ ดี มาก ขอท่ี 9 มีสติ รูตัว รูคิด สุภาพเรียบรอย สภุ าพเรยี บรอย สภุ าพเรียบรอย และมคี วาม และมคี วาม รูทำ รูปฏิบัติตามพระราช- และมคี วาม รอบคอบในการ รอบคอบในการ ทำงานเปน ทำงาน แตน านๆ ดำรัสของพระบาทสมเด็จ รอบคอบในการ บางครง้ั ครั้ง พระเจา อยูห วั ทำงานดมี าก

เกณฑคะแนนระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดเี ยยี่ ม หมายถงึ พฤติกรรมทีป่ ฏิบัติชัดเจน และบอยคร้ัง (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติเปนบางคร้ัง (1 คะแนน ผาน หมายถงึ ไมเ คยปฏิบัติพฤติกรรม (0 คะแนน ไมผ า น หมายถึง คุณภาพ เกณฑก ารสรุปผล ดีเยย่ี ม คะแนน 10-12 ดี 7-9 ผา น 4-6 ไมผ าน 1-3

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 6 กลมุ สาระการเรียนรู การงานอาชพี ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 หนวยการเรยี นรูท่ี 1 งานเกษตร จำนวน 1 ชว่ั โมง เรอ่ื ง การทำแบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 วนั ที่ 20 มถิ ุนายน 2562 ………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….……….. สาระสำคญั การประเมินผลหลังการเรียนการสอน (Post-test) เพื่อเปนนำผลคะแนนของแบบทดสอบกอน เรียน (Pre-test) และผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน มาเปรียบเทียบผลการเรียนรูของ นักเรียนกอนเรียนและหลังเรียน โดยนำผลคะแนนมาสรุปวานักเรียนเรียนอยูในระดับใดของเกณฑท่ี กำหนดไว บรรลจุ ดุ มุงหมายทีต่ อ งการในหนวยการเรยี นรูห รอื ไม มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ชีว้ ัด มาตรฐานการเรียนรู ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มีความคดิ สรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแกปญหา ทกั ษะการทำงานรว มกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจติ สำนกึ ในการใชพ ลังงาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ ม เพอื่ การดำรงชีวติ และครอบครัว ตวั ชว้ี ัด ง 1.1 ป.5/1 อธิบายเหตุผลการทำงานแตล ะขนั้ ตอนถกู ตองตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/2 ใชทักษะการจัดการในการทำงานอยางเปนระบบ ประณตี และมีความคิด สรา งสรรค จุดประสงคการเรยี นรู 1. อธบิ ายประโยชนของไขท ีน่ ำมาใชเปน ปุยในงานเกษตร (K) 2. จำแนกชนิดละประโยชนข องปุย ท่ีทำมาจากไข (P) 3. เห็นความสำคัญของการนำไขมาใชท ำประโยชนใ นงานเกษตร (A)

สาระการเรยี นรู 1. ประโยชนของไขใ นงานเกษตร 2. ชนิดและประโยชนข องปยุ ท่ีทำจากไข 3. วิธีการผลติ ปยุ ทท่ี ำจากไข 4. ปฏบิ ตั ิการผลิตปุยท่ที ำจากไข สมรรถนะสำคญั ของผูเรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป ญหา 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คา นิยมหลักของคนไทย (บูรณาการ ขอ ที่ 1 ตอ งมีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซ่งึ เปน สถาบันหลกั ของชาติ ขอที่ 2 ซ่ือสตั ย เสียสละ อดทน มอี ุดมการณ ในส่งิ ทีด่ ีงามเพ่ือสวนรวม ขอท่ี 4 ใฝหาความรู หมัน่ ศึกษา เลา เรียนทางตรงและทางออม ขอ ที่ 10 รูจักดำรงตนอยูโ ดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค 1. ใฝเ รียนรู 2. มุงมั่นในการทำงาน

กระบวนการจดั การเรียนรู 1. ครอู ธิบายเหตุผลในการทำแบบทดสอบหลังเรยี น Post-test ใหนกั เรียนฟง 2. ครแู จกแบบทดสอบหลงั เรียน Post-Test และกระดาษคำตอบใหนกั เรยี น ใหนกั เรียนเขยี น ชือ่ นามสกลุ ชนั้ และเลขท่ี ลงในกระดาษคำตอบใหเรียบรอ ย 3. ครอู ธบิ ายขัน้ ตอนในการทำแบบทดสอบหลงั เรยี นใหนกั เรยี นรบั ทราบ 4. ครใู หน กั เรยี นทำแบบทดสอบกอนเรยี น Post- Test โดยใหนักเรียนเลอื ก และเขียนคำตอบที่ ถูกทีส่ ุดลงในกระดาษคำตอบ โดยกำหนดเวลาในการทำ 30 นาที 5. เม่อื นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น Post- Test เสรจ็ แลว ใหน ำมาสงครู 6. ครูนำไปไปตรวจและบันทึกผลคะแนน หลังจากท่นี ักเรียนทำแบบทดสอบเสร็จ สื่อและแหลง การเรียนรู 1. แบบทดสอบหลงั เรียน Post-test หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 งานเกษตร 2. กระดาษคำตอบ การประเมนิ ผลการเรยี นรู 1. ประเมินความรู เร่ือง ประโยชนของไขในงานเกษตร ชนิดและประโยชนของปุยท่ีทำมา จากไข (K) ดวยแบบทดสอบ แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics) แบบประเมินผลการทำแบบทดสอบ แบบทดสอบ เร่อื ง ประโยชนข องไขในงานเกษตร ชนดิ และประโยชนของปยุ ท่ีทำมาจากไข (K) รายการประเมนิ เกณฑการประเมินระดับคุณภาพจากแบบทดสอบ ดมี าก ดี พอใช ปรับปรงุ ความรเู ร่อื งประโยชน มีผลคะแนนจาก มีผลคะแนนจาก มผี ลคะแนนจาก มผี ลคะแนนจาก ของไขใ นงานเกษตร การทำแบบทดสอบ การทำแบบทดสอบ การทำแบบทดสอบ การทำแบบทดสอบ ชนดิ และประโยชน วดั ความรู อยใู น วัดความรู อยูใน วัดความรู อยใู น วดั ความรู ตำ่ กวา ของปุยทท่ี ำมาจากไข ชว ง 9-10 คะแนน ชวง 7-8 คะแนน ชวง 5-6 คะแนน 5 คะแนน

แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 งานเกษตร กลุมสาระการงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มจี ำนวน 10 ขอ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 30 นาที 2. ใหน กั เรยี นทำเครอ่ื งหมาย X ทบั หัวขอหนาคำตอบท่ถี ูกตอ งท่ีสดุ 1. ขอ ใดเปน สว นผสมสำคัญทใ่ี ชทำฮอรโ มนไข 6. ขอใดเปนข้นั ตอนแรกของการทำปยุ เปลอื กไข ก. กะป ก. ตำเปลอื กไขใ หละเอยี ด ข. มะนาว ข. นำเปลือกไขไ ปตากใหแ หง ค. นำ้ ปลา ค. ใสสวนผสมตา งๆ คลกุ ใหเขากัน ง. นมเปร้ียว ง. ลา งทำความสะอาดเปลือกไขใ หสะอาด 2. ขอใดกลาวไมถ ูกตองเก่ยี วกบั ฮอรโ มนไข 7. เราใชสว นผสมใดในการเรงหวั เช้อื จลุ นิ ทรยี  ก. หมักฮอรโมนไขไว 3 วนั กอนนำไปใช สังเคราะหแ สงใหแดงเร็วข้นึ ข. สูตรไข 4 ฟอง ใชผงชรู ส 10 ชอ นโตะ ก. กะป ค. ใชฮอรโมนไข 2 ชอนโตะตอน้ำ 20 ลติ ร ข. น้ำแร ง. ฮอรโ มนไขชว ยทำใหพืชผักมรี ากแขง็ แรง ค. ผงชูรส ง. นำ้ ตาล 3. กอ นนำฮอรโมนไขม าผสมนำ้ รดพชื เราตอ ง 8. เราผสมจุลินทรยี สังเคราะหแสง 200 มล. ตอ นำไปตากแดดทิ้งไวเ ปน เวลานานเทา ใด ปรมิ าณนำ้ ก่ีลติ ร กอ นนำไปใชรดพืชผัก ก. 3 วัน ก. 1 ลิตร ข. 7 วนั ข. 5 ลติ ร ค. 1 เดือน ค. 10 ลติ ร ง. 3 เดอื น ง. 20 ลติ ร 4. ขอใดเปนประโยชนข องปุยเปลือกไขทม่ี ีตอ พชื 9. ไข จดั เปนอาหารหลกั หมใู ด ก. กำจัดวชั พชื ก. อาหารหมูท่ี 1 ข. แกด ินเปรี้ยว ข. อาหารหมูที่ 2 ค. เรงผล เรงดอก ค. อาหารหมทู ี่ 3 ง. พืชผักโตเรว็ 3 เทา ง. อาหารหมูที่ 4 5. ขอ ใดไมใ ชวัสดุท่ีใชท ำปุยเปลือกไข 10. ขอ ใดไมใชป ระโยชนข องไขในงานเกษตร ก. เกลือ ก. นำเปลอื กไขไ ปพรวนดิน ข. ผงชูรส ข. นำไขมาทำปุยฮอรโมนไข ค. น้ำตาล ค. นำเปลือกไขมาทำปุยเปลอื กไข ง. เปลอื กไข ง. นำไขมาทำหัวเชื้อจลุ นิ ทรียสงั เคราะหแสง

เฉลยแบบทดสอบ หนว ยท่ี 1 งานเกษตร วชิ า การงานอาชพี ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 5 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) 1ง 2ข 3ค 4ค 5ค 6ง 7ก 8ง 9ก 10 ก

แบบประเมินผลการทำแบบทดสอบกอ นเรยี นและหลังเรียน หนว ยท่ี 1 งานเกษตร ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 ( ครูผูสอน ............................................................... ลำดบั ช่ือ-นามสกุล Pre-test Post-test คะแนน เกณฑ คะแนน เกณฑ เกณฑก ารประเมิน ดมี าก คะแนน 9-10 ระดบั ดี คะแนน 7-8 ระดบั พอใช คะแนน 5-6 ระดับ ปรับปรงุ คะแนน 0-4 ระดับ ลงช่อื .................................................................. (............................................................... ผปู ระเมนิ

ตอนที่ 2 นวตั กรรมการจดั การเรียนรขู องครู

นวตั กรรมการจัดการเรียนรูข องครู 1. ชื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู การจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน (5 STEPs) บูรณาการคา นิยมหลักของ คนไทย 12 ประการ 2. ช่อื ผพู ฒั นานวตั กรรม นายณัฐวรรธน เลิศภักดีวัฒนกลุ ตำแหนง ครู รับเงนิ เดอื นอันดับ คศ.1 หวั หนากลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ โรงเรียนหัวหมาก สำนักงานเขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร โทร 08-1561-4250 E-mail : [email protected] 3. ที่มาของนวัตกรรมการจดั การเรยี นรู จากการปฏิรูปการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ท่ีหวังจะพัฒนาเด็กไทยและคนไทยใหเปนผูเรียนรู ตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ การจัดการเรียนรูของครู จึงตองมีการวิเคราะหหลักสูตร และการจัดการ เรยี นรูท ่ีเนน เด็กเปนศนู ยกลาง ซงึ่ เปน ทม่ี าของคำวา “กระบวนการเรยี นรู 5 ขนั้ ตอน หรอื 5 STEPs” ซ่ึง เปนแนวการจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธกี ารสืบสอบหรือวธิ ีสอนแบบโครงงาน ซึ่งประกอบดวย \"การ ต้ังคำถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสรางความรู การสื่อสาร และการตอบแทนสังคม\" ซึ่งจะเปนตัว ชวยพัฒนาครูใหมีคุณภาพ อีกท้ังจะสามารถทำใหเด็กไทยเปนนักเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ซึ่ง รูปแบบกระบวนการเรียนรู 5 ขน้ั ตอน หรือ 5 STEPs มีลกั ษณะดงั น้ี ข้ันตอนที่ 1 การเรียนรูตั้งคำถาม หรือข้ันตั้งคำถาม เปนที่ใหนักเรียนฝกสังเกตสถานการณ ปรากฏการณตางๆ จนเกิดความสงสัย จากน้ันฝกใหเด็กต้ังคำถามสำคัญ รวมทั้งการคาดคะเนคำตอบ ดวยการสบื คนความรจู ากแหลง ตางๆ และสรุปคำตอบชวั่ คราว ข้ันตอนท่ี 2 การเรียนรูแสวงหาสารสนเทศ เปนขั้นตอนการออกแบบ/วางแผนเพื่อรวบรวม ขอ มูล สารสนเทศ จากแหลงเรยี นรูตา งๆ รวมทัง้ การทดลองเปน ขั้นทีเ่ ด็กใชหลักการนิรภัย (Deduction reasoning) เพือ่ การออกแบบขอ มูล ข้ันตอนที่ 3 การเรียนรูเพ่ือสรางองคความรู เปนข้ันตอนท่ีเด็กมีการคิดวิเคราะหขอมูลเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ การส่ือความหมายขอมูลดวยแบบตางๆ หรือดวยผังกราฟก การแปรผล จนถึง การสรปุ ผล หรอื การสรางคำอธบิ าย เปนการสรา งองคความรู ซ่ึงเปนแกนความรูประเภท 1. ขอ เท็จจรงิ 2. คำนิยาม

3. มโนทศั น 4. หลักการ 5. กฏ 6. ทฤษฏี ขั้นตอนท่ี 4 การเรียนรูเพ่ือการส่ือสาร คือ ข้ันนำเสนอความรูดวยการมใชภาษาที่ถูกตอง ชดั เจน และเปน ที่เขา ใจ อาจเปน การนำเสนอภาษา และนำเสนอดวยวาจา ข้นั ตอนที่ 5 การเรยี นรเู พ่ือตอบแทนสังคม เปนข้นั ตอนการฝก เดก็ ใหน ำความรูทีเ่ ขา ใจ นำการ เรียนรูไปใชประโยชนเพ่ือสวนรวม หรือเห็นตอประโยชนสวนรวมดวยการทำงานเปนกลุม รวมสราง ผลงานที่ไดจากการแกปญหาสังคมอยางสรางสรรค ซ่ึงอาจเปนความรู แนวทางส่ิงประดิษฐ ซ่งึ อาจเปน นวัตกรรม ดวยความรับผิดชอบตอสังคม อันเปนการแสดงออกของการเก้ือกูล และแบงปนใหสังคมมี สนั ตอิ ยา งยัง่ ยืน (นำขอ มูลมาจาก เวบ็ ไซตท รปู ลกู ปญ ญา http://www.trueplookpanya.com/new / cms_detail/ news/23289 ตามท่ีคณะรักษาความสงบแหงชาติ ( คสช. ไดประกาศนโยบายคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ เพื่อเสริมสรา งและปลกู ฝงใหแกเ ยาวชนและคนไทย ดงั น้ี 1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  2. ซอื่ สตั ย เสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ นสิง่ ทดี่ งี ามเพื่อสว นรวม 3. กตัญูตอ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝหาความรู หม่นั ศกึ ษาเลาเรียนทั้งทางตรงและทางออ ม 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสัตย หวงั ดีตอผอู น่ื เผอ่ื แผและแบง ปน 7. เขา ใจเรียนรูการเปน ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุขท่ถี กู ตอ ง 8. มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผูนอ ยรจู ักเคารพผใู หญ 9. มีสติรตู ัว รูคดิ รทู ำ รูปฏบิ ตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว 10. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รูจักออมไวใชเม่ือ ยามจำเปน มีไวพอกนิ พอใช ถา เหลอื กแ็ จกจา ยจำหนาย และพรอ มที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพรอ ม เมื่อมภี มู ิคมุ กันทีด่ ี 11. มีความเขม แขง็ ท้ังทางรา งกายและจติ ใจ ไมย อมแพตออำนาจใฝตำ่ หรอื กเิ ลส มีความ ละอายเกรงกลวั ตอบาปตามหลักของศาสนา 12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชนข องสว นรวมและของชาติมากกวา ผลประโยชนของตนเอง การนำนโยบายคานยิ มหลกั 12 ประการสูการปฏิบัติในสถานศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดนำนโยบายคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ สูการปฏิบัติ โดยกำหนดแนวปฏิบัติในสถานศึกษาและเขตพ้ืนที่การศึกษา ดำเนินการ ดังนี้ 1. ใหสถานศกึ ษาผนวกคานิยมหลัก 12 ประการ ในการจดั การเรยี นรูทุกกลมุ สาระการ เรียนรู และจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนอยางเปนรูปธรรม เชน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีการ ประกวดเลา เร่อื งอา นทำนองเสนาะ ทองบทอาขยาน คัดลายมือ แตงเพลง กาพย กลอน ฯลฯ กลุม สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีกิจกรรมการเรียนรูตามแหลงประวัติศาสตร ทำ โครงงาน/โครงการตามแนวพระราชดำริ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน และกลุม สาระการ เรียนรศู ิลปะ มีการประกวดวาดภาพ รองเพลงเกย่ี วกับวัฒนธรรมประเพณไี ทย เปน ตน 2. ใหสถานศึกษาปลกู ฝงและพฒั นาคานยิ มหลัก 12 ประการใหกับนักเรยี นอยางสมำ่ เสมอ และตอเน่ือง เนนการปฏิบัติจริงในชีวติ ประจำวัน จนเกิดเปนพฤติกรรมท่ีย่ังยืน ท้ังน้ี ใหมีการพฒั นา และประเมนิ อยา งเขม ขนในแตละระดบั ช้ัน ดังน้ี - ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1-3 เนนในดานการรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย (ขอ 1 ความกตัญู (ขอ 3 และการมรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย (ขอ8 - ชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 เนนในดานซ่ือสัตย เสียสละ อดทน (ขอ 2 ใฝหา ความรู หมนั่ ศกึ ษาเลา เรยี น (ขอ 4 และมี ความเขมแข็งทัง้ กายใจ (ขอ 11 - ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1-3 เนนในดานรักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย ( ขอ 5 เขาใจ เรียนรูประชาธิปไตยที่ถูกตอง (ขอ 7 และปฏิบัติตามพระ ราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (ขอ 9 - ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 เนนในดานมีศีลธรรม รักษาความสตั ย (ขอ 6 ดำรงตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( ขอ 10 และการเหน็ แกประโยชนสว นรว ม (ขอ 12 3. ใหสถานศกึ ษากำหนดวิธีการเรยี นรคู านิยมหลัก 12 ประการ ใหเหมาะสมกับวัยและ ศักยภาพผเู รยี น เชน - ระดับประถมศึกษา ใหเรียนรูผานบทเพลง นิทาน เหตกุ ารณ หรือการศกึ ษาจาก แหลงเรียนรูตางๆ อาทิ สถานที่จริงทางประวัติศาสตร หนวยงานตามโครงการพระราชดำริ พพิ ิธภณั ฑ ฯลฯ - ระดับมัธยมศึกษา ใหเรียนรูผานการศึกษาเปรียบเทียบ วิเคราะห สังเคราะห ชีวประวัติ บุคคลสำคัญ บุคคลที่ทำคุณประโยชนตอสว นรวม หรือเหตุการณสำคัญในอดีตและปจ จบุ ัน เพ่อื การพัฒนาการอยูร ว มกันในเชิงสรา งสรรค 4. ใหผูบริหารสถานศึกษากำกับ ติดตาม นิเทศการดำเนินงานเก่ียวกับคานยิ มหลัก 12 ประการ ใหบรรลุวัตถุประสงค 5. ใหสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาติดตาม นิเทศ และประเมินผลสถานศึกษาท่ี ดำเนนิ การเกย่ี วกบั คานิยมหลกั 12 ประการอยา งเปน รูปธรรม และเกิดประสิทธผิ ลท่ีชดั เจน

คานิยม รายการคา นิยม 12 ประการ เนน การปฏบิ ัติจริง ขอ ท่ี ในชวี ติ ประจำวัน ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 1 มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  2 ซือ่ สตั ย เสียสระ อดทน มอี ดุ มการณใ นสิ่งท่ีดงี ามเพอื่ สว นรวม 3 กตัญตู อพอ แม ผูปกครอง ครูบาอาจารย 4 ใฝห าความรู หมน่ั ศกึ ษาเลา เรยี นทัง้ ทางตรงและทางออม 5 รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม 6 มีศีลธรรม รกั ษาความสัตย หวงั ดีตอ ผูอ่ืน เผื่อแผและแบง ปน 7 เขาใจเรยี นรกู ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ ที่ถูกตอ ง 8 มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู อ ยรูจ ักการเคารพผใู หญ 9 มีสติรตู ัว รูคดิ รทู ำ รูปฏิบตั ิตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจา อยหู ัว 10 รูจ กั ดำรงตนอยโู ดยใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11 มคี วามเขม แข็งทงั้ รายกาย และจติ ใจ ไมย อมแพตออำนาจฝา ยต่ำ หรอื กเิ ลสมคี วามละอายเกรงกลัวตอบาปตามหลกั ของศาสนา 12 คำนึงถึงผลประโยชนของสว นรวม และของชาตมิ ากกวาผลประโยชน ของตนเอง https://www.pyo1.go.th/news/index.php?action=dlattach;topic=1116.0;attach=1410. (นำขอ มลู มาจาก เว็บไซตส ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพะเยา เขต ๑ https://sites.google.com /site/prachyasersthkicphxpheiyngm32m/ home/prachya- sersthkic-phx-pheiyng-kab-kar-suksa

4. กรอบแนวคดิ การออกแบบพัฒนานวตั กรรมการจดั การเรยี นรู ผจู ัดทำไดนำนวัตกรรมการจดั การเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน (5 steps) ท่ีเคยมี ผสู รางหรือทำไวแลว นำมาพัฒนาตอยอดโดยบูรณาการคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ โดยได้มี การออกแบบเทคนิคกระบวนการจดั การเรยี นรู้ทส่ี รา้ งสรรค์ มุ่งเน้นผู้เรยี นเป็นสาํ คญั เหมาะสมกบั วยั และมกี ารประยุกต์ใช้เทคโนโลยี หรอื ส่อื ประกอบการจดั การเรยี นรูท้ ่ใี ชค้ ําถามและปัญหาเป็น ฐาน การฝึกทกั ษะปฏบิ ตั ิ มกี ารทาํ กจิ กรรมกลมุ่ โดยใชร้ ปู แบบการสอนแบบรว่ มมอื รว่ มใจ รวมทงั้ มี การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรยี นรูท้ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และมเี น้ือหาสอดคลอ้ ง ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยมกี รอบแนวคดิ และกระบวนการ จัดการเรียนรู ดังน้ี

กรอบแนวคดิ การออกแบบพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นรู การจัดการเรียนรูโดยใชก ระบวนการเรยี นรู 5 ขั้นตอน (5 STEPs) บรู ณาการคานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ครแู ละบุคลากร ศึกษาเอกสาร ตำรา หวั หนาวชิ าการ รวมใหค ำแนะนำ แนวคดิ ทฤษฎี ทีเ่ กยี่ วขอ ง ตรวจสอบ/เสนอแนะ พฒั นารปู แบบ กระบวนการเรียนรู 5 ขนั้ ตอน (5STEPs) ผูป กครอง ดำเนินการพัฒนาตามรปู แบบ แหลง นกั เรยี น จดั ทำแผนการจัดการเรยี นรูดว ยกระบวนการเรยี นรู เรยี นรู 5 ขั้นตอน (5STEPs) โดยบูรณาการคา นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ กำ จดั การเรียนการสอนดวย ประ กับ กระบวนการเรยี นรู 5 ขนั้ ตอน เมิน ติด ขน้ั ท่ี 1 ต้งั คำถาม การ ตาม ดำ ชุมชน การดำ ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาสารสนเทศ เนิน ทองถน่ิ เนิน ขน้ั ท่ี 3 สรางองคค วามรู การ ภูมปิ ญญา การ ขน้ั ท่ี 4 เรียนรเู พอ่ื การส่อื สาร ตาม ทองถน่ิ ทกุ ข้นั ท่ี 5 ตอบแทนสงั คม กระ ข้นั บรู ณาการ บวน ตอน คา นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ การ ประเมินความสามารถ No และพฤติกรรมของผเรียน Yes สรปุ รายงาน เผยแพร

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู ข้ันท่ี 1 กำหนดเปา หมายหลักของการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชีว้ ัด (สอดคลองกบั หลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มคี วามคดิ สรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกป ญหา ทักษะการทำงานรว มกนั และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มจี ติ สำนึกในการใชพ ลงั งาน ทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ ม เพ่อื การดำรงชวี ติ และครอบครัว ตัวชี้วัด ง 1.1 ป.5/1 อธิบายเหตุผลการทำงานแตละข้นั ตอนถูกตอ งตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/2 ใชท กั ษะการจดั การในการทำงานอยา งเปนระบบ ประณีต และมคี วามคิด สรางสรรค สาระการเรยี นรู 1. ประโยชนข องไขใ นงานเกษตร 2. ประโยชนของปุย เปลือกไข 3. ประโยชนของฮอรโ มนไข 4. ประโยชนของจุลินทรียสังเคราะหแสง 5. วิธกี ารทำปยุ เปลอื กไข 6. วิธกี ารทำฮอรโ มนไข 7. วธิ กี ารทำจลุ นิ ทรียส งั เคราะหแ สง สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ หา 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

คานยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ (บรู ณาการ ขอ ที่ 1 ตองมีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย ซ่งึ เปน สถาบันหลกั ของชาติ ขอ ท่ี 2 ซ่ือสัตย เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณ ในส่งิ ทดี่ งี ามเพื่อสว นรวม ขอที่ 3 กตัญูตอพอแม ผปู กครอง ครูบาอาจารย ขอท่ี 4 ใฝหาความรู หมัน่ ศึกษา เลา เรียนทางตรงและทางออ ม ขอที่ 5 รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม ขอ ที่ 6 มศี ีลธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อ ผอู ื่น เผ่ือแผและแบง ปน ขอที่ 7 เขา ใจการเรยี นรกู ารเปน ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุขท่ถี กู ตอง ขอที่ 8 มีระเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรูจกั การเคารพผูใหญ ขอท่ี 9 มีสติรูตวั รูคดิ รูทำ รปู ฏบิ ัตติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ขอที่ 10 รูจักดำรงตนอยูโ ดยใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ขอ ที่ 11 มีความเขมแขง็ ทงั้ รา ยกาย และจิตใจ ไมยอมแพต อ อำนาจฝายต่ำ หรอื กิเลสมีความ ละอายเกรง กลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา ขอ ท่ี 12 คำนงึ ถงึ ผลประโยชนของสวนรวม และของชาติมากกวาผลประโยชนข องตนเอง คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค 1. ใฝเ รยี นรู 2. มุงมัน่ ในการทำงาน ขั้นท่ี 2 กำหนดหลักฐานหรือรองรอยของการเรยี นรู ภาระงาน : ชิ้นงาน/การแสดงออกของนกั เรียน 1. แบบทดสอบกอ นเรียน Pre-test หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 งานเกษตร 2. ใบงานท่ี 1 แผนภาพความคดิ เรือ่ ง ประโยชนข องไขใ นงานเกษตร 3. ใบงานที่ 2 แผนภาพความคิด เรอ่ื ง ชนดิ และประโยชนของปยุ ที่ทำจากไข 4. ใบงานท่ี 3 แผนภาพความคิด เร่อื ง วิธีการผลิตปยุ ทที่ ำจากไข 5. แบบทดสอบหลงั เรียน Post-test หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 งานเกษตร

การประเมินการเรียนรู 1. ประเมินความรู เร่ือง ประโยชนของไขในงานเกษตร ชนิดและประโยชนของปุยที่ทำมา จากไข (K) ดว ยแบบทดสอบ 2. ประเมนิ ช้ินงาน ใบงานที่ 1 แผนภาพความคิด เร่ือง ประโยชนของไขในงานเกษตร (P) ดวย แบบประเมนิ 3. ประเมินชิ้นงาน ใบงานท่ี 2 แผนภาพความคิด เร่ือง ชนิดและประโยชนของปุยท่ีทำจากไข (P) ดว ยแบบประเมนิ 4. ประเมนิ ช้ินงาน ใบงานที่ 3 แผนภาพความคิด เร่ือง วิธกี ารผลิตปยุ ท่ีทำจากไข (P) ดว ยแบบ ประเมิน 5. ประเมินการนำเสนอผลงานรายกลมุ (P) ดว ยแบบประเมิน 6. ประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น (A) ดวยแบบประเมนิ 7. ประเมนิ คานิยมหลกั ของคนไทย (A) ดวยแบบประเมิน 8. ประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ดานใฝเรยี นรู มงุ มน่ั ในการทำงาน (A) ดวยแบบประเมิน แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics) แบบประเมินผลการทำแบบทดสอบ (K) แบบทดสอบ เรือ่ ง ประโยชนข องไขใ นงานเกษตร ชนิดและประโยชนของปุย ทีท่ ำมาจากไข รายการประเมนิ เกณฑการประเมินระดับคณุ ภาพจากแบบทดสอบ ดมี าก ดี พอใช ปรับปรุง ความรูเรอ่ื ง มีผลคะแนน มีผลคะแนน มีผลคะแนน มผี ลคะแนน ประโยชนของไขใน จากการทำ จากการทำ จากการทำ จากการทำ งานเกษตร ชนดิ แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ และประโยชนข อง วัดความรู อยใู น วัดความรู อยใู น วดั ความรู อยใู น วัดความรู ปยุ ทท่ี ำมาจากไข ชว ง 9-10 คะแนน ชวง 7-8 คะแนน ชว ง 5-6 คะแนน ต่ำกวา 5 คะแนน

แบบประเมินชิ้นงาน (P) ใบงานที่ 1 แผนภาพความคดิ เร่ือง ประโยชนของไขในงานเกษตร ใบงานที่ 2 แผนภาพความคดิ เร่อื ง ชนดิ และประโยชนของปุยท่ีทำจากไข ใบงานที่ 3 แผนภาพความคดิ เร่ือง วิธีการผลิตปยุ ทีท่ ำจากไข รายการประเมนิ คำอธบิ ายระดับคุณภาพ 1. สรปุ ความรูได 4 (ดีมาก 3 (ดี 2 (พอใช 1 (ปรบั ปรุง ถูกตอ ง ครบตรง สามารถสรุป ประเดน็ ความรไู ดครบและ สามารถสรุป สรปุ ความรไู มค รบ สรปุ ความรไู ม ตรงประเด็นและ 2. การเชอื่ มโยง ถกู ตอ งทกุ หัวขอ ความรูไดครบ ทกุ ประเดน็ ถูกตอง ความรไู ดถ กู ตอ ง ตามลำดบั ขั้น สามารถเชอ่ื มโยง ตรงประเด็นและมี ความสมั พันธ ความรไู ดถ กู ตอ ง ตามลำดับ ความถกู ตองเปน 3. มีความคดิ ความสัมพนั ธ สรางสรรคใ นการ สว นใหญ เขียนผังความคิด สามารถเขยี นผงั ความคดิ ไดใ น สามารถเชื่อมโยง สามารถเชอ่ื มโยง สามารถเชอื่ มโยง รูปแบบทถ่ี กู ตอง และสวยงาม ความรไู ด และ ความรูแ ละลำดบั ความรไู ด แตไ ม ลำดบั ความ ความสมั พนั ธไ ด เปน ไปตามลำดับ สัมพนั ธไ ด บาง ความสัมพันธ คอ นขางครบ สามารถเขียนผัง สามารถเขยี นผัง สามารถเขียนผงั ความคดิ ไดถูกตอ ง ความคิดได และมี ความคิดได แต และมขี อ บกพรอ ง ขอ บกพรองเปน ขาดรูปแบบและ เพยี งเล็กนอย บางสว น ความสวยงาม

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงานรายกลุม (P) รายการประเมิน ดีมาก เกณฑการประเมนิ ปรับปรงุ 1.ความถกู ตอ งของเน้ือหา มีเนือ้ หาสาระ มเี น้ือหาสาระ ครบถว นสมบูรณ ดี พอใช ไมครบถวนแต 2.วธิ ีการนำเสนอของกลุม มเี นื้อหาสาระ มีเนือ้ หาสาระ ภาพรวมของ รปู แบบการ คอนขางครบถว น ไมครบถว นแต สาระท้ังหมด 3.ใชภ าษาถูกตอ ง นำเสนองาน อยูใ นเกณฑต อ ง เหมาะสม แปลกใหม ภาพรวมของ ปรับปรุง นาสนใจ ลำดบั สาระทั้งหมดอยู รูปแบบการ เรอื่ งราวไดดีมาก ในเกณฑพ อใช นำเสนองานไม ใชภาษาถกู ตอง นา สนใจ ลำดับ เหมาะสม ออก รูปแบบการ รปู แบบการ เร่อื งราวไดไ มด ี เสียงไดถ กู ตอ งดี นำเสนองาน นำเสนองาน มาก ลำดับความ นาสนใจ ลำดบั นา สนใจ พอใช ใชภาษาถกู ตอง ไดช ดั เจนเขาใจ เรือ่ งราวไดดี ลำดับเรอื่ งราวได เหมาะสม ออก งาย พอใช เสยี งไดไมถูกตอ ง ใชภาษาถกู ตอง ลำดับความไม เหมาะสม ออก ใชภาษาถกู ตอ ง ชัดเจน เสียงไดถ กู ตอ งดี เหมาะสมออก ลำดับความไดดี เสียงไดถ ูกตอ ง พอใช พอใชลำดับความ ไดพอเขาใจ

แบบประเมินดา นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค (A) รายการ เกณฑการประเมนิ ประเมนิ 1. ใฝเ รยี นรู ดเี ยี่ยม ดี ผาน ไมผาน 2. มงุ มัน่ ใน (3 (2) (1) (0 การทำงาน ศึกษาคนควา ศกึ ษาคนควา ศึกษาคน ควา ไมศกึ ษาคน ควา หาความรจู าก หาความรูจากหนังสือ หาความรูจากหนงั สือ หาความรู หนงั สือ เอกสาร เอกสาร ส่งิ พิมพ เอกสาร สง่ิ พิมพ สงิ่ พมิ พ สือ่ เทคโนโลยีตางๆ สอ่ื เทคโนโลยตี าง ๆ สื่อเทคโนโลยีตา งๆ แหลงเรียนรูท้ัง แหลงเรยี นรูทง้ั แหลงเรียนรูทงั้ ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก โรงเรยี น โรงเรียน โรงเรยี น เลือกใชสือ่ มกี ารบนั ทกึ ความรู มีการบันทึกความรู ไดอยางเหมาะสม สรปุ เปน องคค วามรู มีการบนั ทึกความรู นำเสนอและ สรปุ เปนองคค วามรู แลกเปลยี่ นความรูกับ นำเสนอและ ผอู ื่นได แลกเปลี่ยนองค ความรูดวยวธิ ีการ ท่หี ลากหลาย ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ตัง้ ใจและรบั ผดิ ชอบ ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบใน ไมต งั้ ใจปฏิบัติ ในการปฏบิ ตั หิ นาท่ี ในการปฏิบตั หิ นา ทีท่ ี่ การปฏิบตั ิหนาที่ท่ี หนาทีก่ ารงาน ทีไ่ ดรับมอบหมายให ไดร บั มอบหมายให ไดร บั มอบหมายให สำเรจ็ มีการ สำเรจ็ มีการปรับปรุง สำเรจ็ มกี ารปรบั ปรุง ปรบั ปรงุ และ และพฒั นาการ และพฒั นาการทำงาน พัฒนาการทำงานให ทำงานใหด ีขึ้นดว ย ใหดขี ้นึ ดขี ้นึ ดวยตนเองและ ตนเอง เปน แบบอยา งท่ีดี

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู รียน ระดับคณุ ภาพ สมรรถนะทป่ี ระเมนิ ดีเย่ียม ดี ผา น ไมผ า น (3 (2 (1 (0) 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1.1 มคี วามสามารถในการรบั - สง สาร 1.2 มคี วามสามารถในการถา ยทอดความรู ความคดิ ความเขา ใจของตนเอง โดยใชภ าษาอยางเหมาะสม 1.3 ใชว ิธกี ารสือ่ สารท่ีเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห 2.2 มีความสามารถในการสรา งองคความรู 3. ความสามารถในการแกปญหา 3.1 มคี วามสามารถในการแกปญ หาและอุปสรรคตางๆ ทเ่ี ผชิญได 3.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู ประยุกต ความรู มาใชใ นการปอ งกนั และแกป ญ หา 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 4.1 ทำงานกลุมรวมกบั ผอู นื่ ได 4.2 นำความรูทไ่ี ดไปใชป ระโยชนในชีวิตประจำวนั 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5.1 เลือกใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม 5.2 มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี สรปุ ผลการประเมิน

แบบประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย (นำมาบูรณาการในแผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 1 งานเกษตร เฉพาะขอ 1,2,4,6,7,8,9,10 เกณฑก ารประเมนิ รายการประเมิน ดีเยีย่ ม ดี ผา น ไมผ าน (0 (3 (2) (1) ไมแสดงออก และตอ ตาน ขอท่ี 1 ตอ งมีความรกั ชาติ รกั และแสดงออก รักและแสดงออก รกั และแสดงออก ความเปนไทย ศาสนา พระมหากษัตริย ถงึ ความเปนไทยใน ถึงความเปนไทย ถงึ ความเปนไทย ไมปฏิบัติ กิจกรรมท่ีไดร บั ซึ่งเปนสถาบันหลกั ของ การรว มกจิ กรรม แตน อย แตไ มแ สดงออก มอบหมายดวย ตนเองและลอก ชาติ มาก ผูอน่ื เสมอ ไมกระตอื รอื รน ขอท่ี 2 ซื่อสัตย เสยี สละ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท่ี ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่ ปฏิบตั ิกจิ กรรมท่ี ไมปฏิบตั ิตาม อดทน มีอดุ มการณใ น ไดร ับมอบหมาย ไดรับมอบหมาย ไดร ับมอบหมาย หลกั ศลี ธรรม ไมร จู ักการ สิ่งท่ดี งี ามเพอ่ื สว นรวม ดว ยตนเองและ ดวยตนเองแตยัง ดว ยตนเองและ แบง ปน และ ชว ยเหลือผูอ ื่น ถูกตองโดยพ่งึ พา ลอกผูอน่ื บาง ลอกผูอื่น ไมเ คารพสิทธิ ของผูอื่น และ ผูอนื่ ไมปฏิบตั ติ น ตามหลัก ขอ ท่ี 4 ใฝหาความรู กระตอื รือรน กลา กระตอื รือรน กลา มคี วาม ประชาธปิ ไตย ไมต รงตอ เวลา หมน่ั ศกึ ษา เลาเรยี น แสดงออกในทาง แสดงออกและ กระตอื รือรน แต และไมค วาม เคารพและ ทางตรงและทางออม สรางสรรคและเปน เปนประโยชนบ าง นานๆ คร้ังจึงกลา ปฏิบัตติ าม คำสั่ง ประโยชน แสดงออก ขอท่ี 6 มีศีลธรรม รักษา ประพฤตติ ามหลกั ปฏิบัตติ ามหลัก ปฏบิ ัตติ ามหลกั ความสัตย หวังดีตอผูอื่น ศลี ธรรม รูจกั การ ศลี ธรรม รจู ักการ ศลี ธรรม รจู ักการ เผื่อแผแ ละแบง ปน แบงปน และ แบงปน และ แบง ปน และ ชวยเหลือผอู ่ืน ชวยเหลอื ผอู ืน่ ชว ยเหลือผูอ นื่ สมำ่ เสมอ บา ง นานๆ คร้งั ขอท่ี 7 เขาใจการเรียนรู เคารพสิทธิของ เคารพสทิ ธิของ เคารพสิทธขิ อง การเปน ประชาธิปไตย ผอู น่ื และปฏบิ ัติ ผูอ่นื และปฏบิ ัติ ผอู นื่ และปฏบิ ตั ิ อันมีพระมหากษัตริยทรง ตนตามหลัก ตนตามหลัก ตนตามหลัก เปนประมขุ ท่ีถูกตอ ง ประชาธปิ ไตย ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย บา งเปน บางคร้งั แตนานๆ ครง้ั ขอท่ี 8 มีระ เบียบ วินั ย ตรงตอ เวลา ให ตรงตอเวลา ให ตรงตอ เวลา ให เคารพกฎหมาย ผูนอ ยรจู ัก ความเคารพและ ความเคารพและ ความเคารพและ การเคารพผใู หญ ปฏบิ ัติตามคำส่ังดี ปฏิบตั ิตามคำสั่งดี ปฏบิ ัตติ ามคำส่งั มาก เปนบางครัง้

ขอที่ 9 มีสติ รูตัว รูคิด สภุ าพเรียบรอ ย สภุ าพเรยี บรอย สภุ าพเรยี บรอย ไมสุภาพ เรยี บรอย และ รูท ำ รูปฏิบัติตามพระราช- และมคี วาม และมีความ และมีความ ขาดความ รอบคอบในการ ดำรัสของพระบาทสมเด็จ รอบคอบในการ รอบคอบในการ รอบคอบในการ ทำงาน พระเจา อยหู วั ทำงานดีมาก ทำงานเปน ทำงาน แตน านๆ ไมมีความ พอประมาณใช บางครง้ั ครั้ง จา ยฟมุ เฟอย และไมค อ ยเขา ขอท่ี 10 รูจกั ดำรงตนอยู ดำเนนิ ชวี ิตอยาง ดำเนินชีวิตอยา ง ดำเนนิ ชวี ิตอยา ง สงั คมปรบั ตวั โดยใชหลักปรัชญาของ พอประมาณ มี เขาสังคมไมได เศรษฐกิจพอเพยี ง รูจ กั เหตผุ ล รอบคอบ พอประมาณ มี พอประมาณ มี อดออมไวใ ชเ มื่อยาม มคี ณุ ธรรม และ จำเปน มไี วพอกินพอใช ภมู คิ ุมกันทีด่ ใี นตวั เหตุผล รอบคอบ เหตผุ ล รอบคอบ ถาเหลือ กแ็ จกจาย ปรับตัวใหอยูใ น จำหนาย และพรอ มที่จะ สงั คมไดอ ยา งมี มคี ณุ ธรรม และ และภูมิคมุ กันและ ขยายกจิ การเม่อื มีความ ความสขุ พรอ ม เมอ่ื มีภมู คิ ุม กันทดี่ ี ภูมิคุมกันที่ดีในตัว เขา สงั คมนานๆ และเขา สงั คมบา ง คร้งั

ขน้ั ที่ 3 การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือประสบการณการเรียนรู 1. การทำแบบทดสอบกอนเรยี น (1 ช่วั โมง 2. ประโยชนของไขใ นงานเกษตร (1 ชั่วโมง 1. ต้งั คำถาม 1. นักเรียนสังเกตภาพไขไก, ปุยเปลือกไข, จุลินทรียสังเคราะหแสง และฮอรโมนไข ในสไลด นำเสนอของครู แลว รวมกันสนทนา โดยตอบคำถาม ดังนี้ - นกั เรียนรจู กั ส่ิงที่เห็นในสไลดหรอื ไม - จากภาพมอี ะไรบา ง - ถานำปยุ ตา งๆ เหลานี้ มาใชบำรงุ ตนไมของเราจะเปน อยา งไร 2. แสวงหาสารสนเทศ 2. นักเรียน รวมกันศึกษาคนควาขอมูลเก่ียวกับ ประโยชนของปุยเปลือกไข, จุลินทรีย สงั เคราะหแสง และฮอรโมนไข จากเว็บไซตทเี่ กย่ี วของในอนิ เทอรเ นต็ 3. สรางองคค วามรู 3. นักเรยี นรว มกนั แสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั ปุยท้ัง 3 ชนิด โดยใชค ำถาม ดงั น้ี - นกั เรยี นคดิ วา ประโยชนข องปยุ ท้ัง 3 ชนิด คืออะไร 4. นักเรียนรวมกันคดิ ประเมินเกย่ี วกบั ประโยชนข องปยุ ทีท่ ำมาจากไขทัง้ 3 ชนดิ โดยใชคำถาม กระตุนความคดิ ดงั นี้ - นกั เรยี นสามารถนำไขม าใชป ระโยชนในงานเกษตรไดอยา งไร 5. นักเรยี นรวมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประโยชนของไขในงานเกษตรเปนแผนภาพ ความคดิ ลงในใบงานท่ี 1 ประโยชนข องไขใ นงานเกษตร ดังตวั อยาง นำไปทำปยุ เปลอื กไข นำไปทำฮอรโ มนไข ประโยชน ของไข ในงานเกษตร นำไปทำจลุ ินทรียส ังเคราะหแสง

4. เรยี นรูเพือ่ สอื่ สาร 6. นักเรยี นออกมานำเสนอแผนภาพความคิดของตนเองหนาชน้ั เรยี น 5. ตอบแทนสังคม 7. นกั เรยี นรวมกนั รวบรวมขอ มูลเก่ยี วประโยชนของไขใ นงานเกษตร เพ่ือเตรียมนำไปเขียนเปน โปสเตอรนำไปติดท่ีปายประชาสัมพันธของโรงเรียน เมื่อเรียนจบหนวยการเรียนรูที่ 1 งานเกษตร เพ่ือ เปน การเผยแพรความรกู ับนักเรียนและผูท ส่ี นใจตอ ไป 3. ชนดิ และประโยชนข องปยุ ทท่ี ำจากไข (1 ช่วั โมง 1. ต้ังคำถาม 1. ครูทบทวนความรใู นชั่วโมงเรียนที่แลว ดวยการเปดสไลดแผนภาพความคิด เร่ือง ประโยชน ของไขใ นงานเกษตร ท่ีมีชนดิ ของปุยที่ทำมาจากไข 3 ชนดิ ดังนี้ 1 การทำปุย เปลอื กไข 2 การทำปยุ ฮอรโมนไข 3 การทำปยุ จลุ ินทรียสังเคราะหแ สง แลวแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหนักเรยี นแตละกลุมสงตัวแทนออกมาจับฉลากเพ่ือเลอื ก หัวขอปุย แลวชวยกันคิดวัสดุอุปกรณท่ีตองใชในการทำปุยที่แตละกลุมไดรับมาใหถูกตองและครบถวน มากทีส่ ุด หลงั จากนัน้ ตัวแทนกลมุ ออกมานำเสนอหนาช้ันเรียน นกั เรียนกลุมใดทบ่ี อกวสั ดุอปุ กรณทใ่ี ชใ น การทำปยุ ไดถ ูกตองและครบถวนท่สี ดุ ถอื เปน ผชู นะ 2. แสวงหาสารสนเทศ 2. นกั เรียนท้ัง 3 กลมุ รวมกันศึกษาคน ควา ขอมูลเกี่ยวกับประโยชนของปุยเปลือกไข, ฮอรโมน ไข และจลุ ินทรยี สงั เคราะหแ สง จากเว็บไซตห รือคลิปวีดโิ อท่เี ก่ยี วขอ งในอินเทอรเน็ต 3. สรางองคความรู 3. นักเรียนรว มกันแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ปยุ ทัง้ 3 ชนดิ โดยใชค ำถาม ดังน้ี - ปุยท้ัง 3 ชนดิ มีอะไรบาง และมปี ระโยชนอยางไร - นกั เรยี นคดิ วา ประโยชนข องปุยท้ัง 3 ชนิด แตกตา งกันหรอื ไม เพราะอะไร 4. นกั เรยี นรว มกนั คดิ ประเมนิ เก่ยี วกับชนดิ และประโยชนข องปุยทีท่ ำจากไข โดยใชค ำถาม กระตนุ ความคดิ ดงั น้ี - นกั เรยี นสามารถนำปุยทงั้ 3 ชนิดมาใชป ระโยชนใ นงานเกษตรไดอยางไร 5. นกั เรียนแตละกลมุ รวมกันสรปุ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชนิดและประโยชนของปุย ทท่ี ำจาก ไขเ ปน แผนภาพความคิดลงในใบงานท่ี 2 ชนิดและประโยชนของปุยทท่ี ำจากไข ดังตวั อยาง

1. เรง ผล เรงดอก 1. รากแขง็ แรง 2. ลำตน เหนยี ว ไมเปราะ 2. ข้วั เหนยี ว ดอกไมห ลุดงา ย หรอื หกั งา ย 3. ออกดอก ออกผล 3. บำรุงราก ใหกบั พชื ผกั เจรญิ เติบโต 4. มสี ารฆาเชอื้ แบคทีเรยี ชนดิ ของ ปยุ ท่ที ำ จากไข จุลินทรยี  1. ลดกรดในดิน สงั เคราะหแ สง 2. เพิ่มไนโตรเจน 3.เปน ปยุ ท่ีปราศจากสารเคมี ทำใหพชื ผักโตเรว็ 3 เทา 4. เรียนรเู พือ่ สอื่ สาร 6. ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอพรอมกับแผนภาพความคิดเก่ียวกับชนิดและ ประโยชนข องปุยท่ีทำจากไขห นา ชัน้ เรียน 5. ตอบแทนสงั คม 7. นักเรียนแตละกลุมชวยกนั รวบรวมขอมูลเก่ียวกับชนดิ และประโยชนของปยุ ทที่ ำจากไข ของ กลุมตนเอง เพ่ือเตรียมนำไปเขียนเปนโปสเตอรนำไปติดท่ีปายประชาสัมพันธของโรงเรียน เม่ือเรียนจบ หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 งานเกษตร เพื่อเปน การเผยแพรความรูกบั นักเรียนและผทู ่สี นใจตอ ไป 4. วิธกี ารผลติ ปุยทีท่ ำจากไข (1 ชั่วโมง 1. ตง้ั คำถาม 1. ครูทบทวนความรูในชั่วโมงเรียนที่แลว ดวยการเปดสไลดแผนภาพความคดิ เรอื่ ง ชนิดและ ประโยชนของปุยทที่ ำจากไข 2. ครแู ละนักเรียนรวมกนั สนทนา โดยใชค ำถาม ดังนี้ - ถา การผลิตปยุ ทงั้ 3 ชนดิ น้ี ตองมีความรเู รื่องใดบาง 2. แสวงหาสารสนเทศ 3. นักเรยี นทั้ง 3 กลุม รว มกันศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับการทำปุยเปลือกไข, ปุยฮอรโมนไข, ปุย ฮอรโ มนนมสด และจุลนิ ทรยี ส ังเคราะหแ สง รวมท้งั วัสดุอปุ กรณท ่ใี ชในการทำปยุ ท่กี ลุมของนกั เรียน

รบั ผิดชอบ จากเวบ็ ไซตหรือคลิปวดี ิโอท่ีเก่ียวของในอินเทอรเน็ต และจดบันทึกช่ือเว็บไซตท่ีนักเรียนได เขาไปศึกษาคน ควา เพอ่ื อา งอิง 3. สรา งองคความรู 4. นกั เรียนรวมกันแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั ปยุ ทงั้ 3 ชนิด โดยใชค ำถาม ดังน้ี - นักเรียนคดิ วาวัสดอุ ุปกรณท ใี่ ชในการทำปยุ แตละชนดิ เหมือนหรอื แตกตา งกนั 5. นกั เรยี นรว มกนั คดิ ประเมนิ เกี่ยวกับการทำปยุ ท้ัง 3 ชนดิ โดยใชคำถามกระตนุ ความคิด ดังนี้ - นกั เรยี นคดิ วา วธิ ีการทำปุย ทงั้ 3 ชนิด มีวิธีการและขนั้ ตอนท่ีแตกตา งกันอยางไร อธิบาย 6. นกั เรยี นรวมกันสรุปความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั การผลิตปุย ดวยไขเปน แผนภาพความคิดลงใน ใบงานท่ี 3 วิธีการผลติ ปยุ ท่ีทำจากไข ดงั ตวั อยาง วัตถปุ ระสงค 1. ใชบ ำรงุ ตน ไม 1. ไขไ ก 3 ฟอง 2. ปรบั สภาพดนิ 2. ผงชรู ส 3 ชอนโตะ การทำจุลินทรยี  3. นำ้ เปลา 1.5 ลิตร/ขวด สังเคราะหแ สง ส่งิ ท่ีจัดเตรยี ม วสั ดอุ ุปกรณ 4. ชาม 5. ชอ น ศึกษาวธิ กี าร วธิ ีการทำจลุ ินทรยี สังเคราะหแสง ใ 1. ตอกไขใ สช ามและนำชอนมาตีใหเขา กนั 2. ใสผงชรู ส 3 ชอ นโตะ 3. ใสก ะป 1 ชอ นโตะ 4. ใชช อ นคนสวนผสมใหเขา กนั 5. นำน้ำสะอาดใสขวด 1.5 ลิตร นำไปตากแดดใหนำ้ อุน 6. นำสว นผสมเติมลงในขวด 1 ชอ นโตะ 7. ปดฝาใหส นทิ เขยาขวด 4. เรยี นรเู พอื่ สอื่ สาร 7. ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอแผนภาพความคิด รวมถงึ วธิ ีการและขั้นตอนการ ทำปุย วสั ดุอปุ กรณ ส่ิงท่ตี องจดั เตรียมในการทำปุยของกลุมตนเองหนา ชั้นเรียน 5. ตอบแทนสังคม 8. นักเรียนแตละกลุมชวยกันรวบรวมขอมูลเกี่ยววิธีการและข้ันตอนการทำปุย รวมทั้งวัสดุ อุปกรณสิง่ ทต่ี องจดั เตรยี มในการทำปยุ ของกลุม ตนเองเพอื่ นำไปเขยี นลงกระดาษชารตใหเพื่อนๆไดศ ึกษา

ขอมูล รวมท้ังใหแตกลุมเตรียมวัสดุอุปกรณในการผลิตปุยท่ีกลุมรับผิดชอบ มาสาธิตการทำในช่ัวโมง เรยี นคร้งั หนา เพือ่ การเผยแพรความรูก ารทำปยุ แตล ะชนดิ ใหทกุ คนในชั้นเรียนไดดูและศึกษาวธิ ีการทำ 5. ปฏิบัติการผลิตปยุ ท่ีทำจากไข (1 ชั่วโมง 1. ต้ังคำถาม 1. ครูทบทวนความรูในช่ัวโมงเรียนที่แลว ดวยการเปดสไลดแผนภาพความคิด เร่อื ง วิธีการผลิต ปยุ ท่ีทำจากไข 2. ครูและนักเรยี นรวมกนั สนทนา โดยใชค ำถาม ดงั น้ี - กอ นการผลติ ปุย ทีท่ ำจากไข สิง่ ท่ีตองเตรียมมอี ะไรบาง 2. แสวงหาสารสนเทศ 2. นักเรียนแตละกลุม จัดฐานใหความรูเร่ืองการทำปุยทั้ง 3 ชนิด โดยวางวัสดุอุปกรณที่ใชใน การผลิตปุยไวบนโตะ และติดกระดาษชารตท่ีฐานของกลุมตนเอง จากน้ันใหน ักเรียนแตละกลุมสลับเขา ฐานแตละฐาน เพอื่ ศึกษาวิธกี ารทำจากกระดาษชารต ทแี่ ตละกลุม จัดทำไว 3. สรางองคค วามรู 3. นกั เรียนรว มกันแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ปยุ ทงั้ 3 ชนิด โดยใชค ำถาม ดังน้ี - จากการเขา ฐาน วสั ดุอปุ กรณท ี่ใชในการผลิตปยุ แตล ะชนดิ เหมือนหรอื แตกตา งกนั อยา งไร - จากการเขา ฐาน ข้นั ตอนและวิธีการผลิตปุย แตล ะชนิด เหมือนหรือแตกตา งกนั อยางไร 4. นกั เรยี นรว มกนั คิดประเมินเก่ียวกับการทำปยุ ทั้ง 3 ชนดิ โดยใชคำถามกระตนุ ความคิด ดังน้ี - นักเรียนคิดวา วธิ ีการทำปยุ ท่ีนกั เรียนคนควา มาสามารถนำไปปรับปรงุ หรือพัฒนาสตู รใหดี ขน้ึ ไดหรือไม เพราะเหตใุ ด 4. เรยี นรูเ พื่อสอื่ สาร 5. ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอวัสดุอุปกรณที่ใชในการผลิตปุย และสาธิตการ ผลติ ปุยของกลมุ ตนเองหนาช้นั เรยี น โดยเรยี งลำดบั การนำเสนอและสาธิตไปทลี ะกลมุ 5. ตอบแทนสังคม 6. นักเรียนแตละกลุมชวยกันรวบรวมขอมูลเก่ียววิธีการและข้ันตอนการทำปุย รวมทั้งวัสดุ อุปกรณส ิง่ ท่ตี อ งจัดเตรียมในการทำปยุ ของกลุมตนเอง เพอ่ื เตรียมนำไปเขียนเปนโปสเตอรนำไปติดทีป่ า ย ประชาสัมพันธของโรงเรียน เมื่อเรียนจบหนวยการเรยี นรูที่ 1 งานเกษตร เพื่อเปน การเผยแพรความรกู ับ นักเรยี นและผูทีส่ นใจตอ ไป 6. การทำแบบทดสอบหลังเรียน (1 ชั่วโมง

ส่อื การเรยี นร/ู แหลง การเรยี นรู 1. สไลดน ำเสนอ เรือ่ ง ประโยชนของไขในงานเกษตร 2. เครอ่ื งคอมพิวเตอรท เ่ี ชื่อมตอระบบอินเทอรเ น็ต 3. ใบงานที่ 1 แผนภาพความคิด เร่ือง ประโยชนข องไขใ นงานเกษตร 4. ใบงานท่ี 2 แผนภาพความคิด เร่ือง ชนดิ และประโยชนข องปุยทที่ ำจากไข 5. ใบงานท่ี 3 แผนภาพความคิด เร่อื ง วธิ ีการผลิตปยุ ที่ทำจากไข 6. วัสดแุ ละอปุ กรณทใี่ ชการผลิตปยุ เปลอื กไข ฮอรโมนไข และจลุ นิ ทรียส งั เคราะหแ สง 7. กระดาษชารต ใหความรูเ รื่องการผลติ ปุยเปลือกไข ฮอรโ มนไข และจุลนิ ทรียสังเคราะหแ สง 8. แหลงเรียนรูอ ินเทอรเ นต็ เชน เว็บไซต คลิปวิดีโอ

แบบทดสอบกอ นเรียน (Pre-test) หนวยการเรียนรูท ่ี 1 งานเกษตร กลุม สาระการงานอาชพี ช้นั ประถมศึกษาปที่ 5 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั นม้ี จี ำนวน 10 ขอ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 30 นาที 2. ใหน กั เรยี นทำเครื่องหมาย X ทบั หัวขอ หนาคำตอบท่ถี ูกตอ งที่สดุ 1. ไข จดั เปนอาหารหลกั หมูใ ด 6. กอนนำฮอรโ มนไขม าผสมนำ้ รดพชื เราตอ ง ก. อาหารหมูที่ 1 นำไปตากแดดทง้ิ ไวเปนเวลานานเทาใด ข. อาหารหมูท่ี 2 ก. 3 วนั ค. อาหารหมูท่ี 3 ข. 7 วัน ง. อาหารหมทู ี่ 4 ค. 1 เดือน ง. 3 เดอื น 2. ขอ ใดไมใ ชประโยชนข องไขในงานเกษตร 7. เราใชสวนผสมใดในการเรง หวั เชือ้ จุลนิ ทรยี  ก. นำเปลอื กไขไ ปพรวนดิน สังเคราะหแ สงใหแ ดงเร็วขึ้น ข. นำไขม าทำปุยฮอรโ มนไข ก. กะป ค. นำเปลือกไขม าทำปยุ เปลอื กไข ข. น้ำแร ง. นำไขมาทำหัวเชอ้ื จุลนิ ทรียส งั เคราะหแ สง ค. ผงชรู ส ง. น้ำตาล 3. ขอ ใดเปนขั้นตอนแรกของการทำปยุ เปลือกไข 8. เราผสมจุลินทรยี สงั เคราะหแสง 200 มล. ตอ ก. ตำเปลอื กไขใ หละเอียด ปริมาณนำ้ กี่ลติ ร กอ นนำไปใชรดพืชผัก ข. นำเปลอื กไขไ ปตากใหแ หง ก. 1 ลิตร ค. ใสสว นผสมตางๆ คลกุ ใหเขา กนั ข. 5 ลิตร ง. ลางทำความสะอาดเปลอื กไขใหสะอาด ค. 10 ลติ ร ง. 20 ลติ ร 4. ขอใดไมใ ชวสั ดุท่ีใชท ำปยุ เปลือกไข 9. ขอ ใดเปน สวนผสมสำคญั ทใี่ ชท ำฮอรโ มนไข ก. เกลอื ก. กะป ข. ผงชรู ส ข. มะนาว ค. นำ้ ตาล ค. นำ้ ปลา ง. เปลือกไข ง. นมเปร้ยี ว 5. ขอใดเปนประโยชนข องปยุ เปลือกไขท ี่มตี อพืช 10. ขอใดกลาวไมถ ูกตอ งเก่ียวกบั ฮอรโ มนไข ก. กำจัดวชั พชื ก. หมกั ฮอรโ มนไขไ ว 3 วนั กอนนำไปใช ข. แกด ินเปรี้ยว ข. สูตรไข 4 ฟอง ใชผ งชูรส 10 ชอนโตะ ค. เรง ผล เรงดอก ค. ใชฮ อรโมนไข 2 ชอนโตะตอ นำ้ 20 ลิตร ง. พืชผักโตเรว็ 3 เทา ง. ฮอรโมนไขชว ยทำใหพ ืชผกั มีรากแข็งแรง

เฉลยแบบทดสอบ หนวยที่ 1 งานเกษตร วชิ า การงานอาชพี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น (Pre-test) 1ก 2ก 3ง 4ค 5ค 6ค 7ก 8ง 9ง 10 ข

แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 งานเกษตร กลุมสาระการงานอาชีพ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มจี ำนวน 10 ขอ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 30 นาที 2. ใหน กั เรยี นทำเครอ่ื งหมาย X ทบั หัวขอหนาคำตอบท่ถี ูกตอ งที่สดุ 1. ขอ ใดเปน สว นผสมสำคัญทใ่ี ชทำฮอรโ มนไข 6. ขอใดเปนข้นั ตอนแรกของการทำปยุ เปลอื กไข ก. กะป ก. ตำเปลอื กไขใ หละเอยี ด ข. มะนาว ข. นำเปลือกไขไ ปตากใหแ หง ค. นำ้ ปลา ค. ใสสวนผสมตา งๆ คลกุ ใหเขากัน ง. นมเปร้ียว ง. ลางทำความสะอาดเปลือกไขใ หสะอาด 2. ขอใดกลาวไมถ ูกตองเก่ยี วกบั ฮอรโ มนไข 7. เราใชสว นผสมใดในการเรงหวั เช้อื จลุ นิ ทรยี  ก. หมักฮอรโมนไขไว 3 วนั กอนนำไปใช สังเคราะหแ สงใหแดงเร็วข้นึ ข. สูตรไข 4 ฟอง ใชผงชรู ส 10 ชอ นโตะ ก. กะป ค. ใชฮอรโมนไข 2 ชอนโตะตอน้ำ 20 ลติ ร ข. น้ำแร ง. ฮอรโมนไขชว ยทำใหพืชผักมรี ากแขง็ แรง ค. ผงชูรส ง. นำ้ ตาล 3. กอ นนำฮอรโมนไขม าผสมนำ้ รดพชื เราตอ ง 8. เราผสมจุลินทรยี สังเคราะหแสง 200 มล. ตอ นำไปตากแดดทิ้งไวเ ปน เวลานานเทา ใด ปรมิ าณนำ้ ก่ีลติ ร กอ นนำไปใชรดพืชผัก ก. 3 วนั ก. 1 ลิตร ข. 7 วนั ข. 5 ลติ ร ค. 1 เดือน ค. 10 ลติ ร ง. 3 เดอื น ง. 20 ลติ ร 4. ขอใดเปน ประโยชนข องปุยเปลือกไขทม่ี ีตอ พชื 9. ไข จดั เปนอาหารหลกั หมใู ด ก. กำจัดวชั พชื ก. อาหารหมูท่ี 1 ข. แกด ินเปรี้ยว ข. อาหารหมูที่ 2 ค. เรงผล เรงดอก ค. อาหารหมทู ี่ 3 ง. พืชผักโตเรว็ 3 เทา ง. อาหารหมูที่ 4 5. ขอ ใดไมใ ชวัสดุท่ีใชท ำปุยเปลือกไข 10. ขอ ใดไมใชป ระโยชนข องไขในงานเกษตร ก. เกลอื ก. นำเปลอื กไขไ ปพรวนดิน ข. ผงชูรส ข. นำไขมาทำปุยฮอรโมนไข ค. น้ำตาล ค. นำเปลือกไขมาทำปุยเปลอื กไข ง. เปลอื กไข ง. นำไขมาทำหัวเชื้อจลุ นิ ทรียสงั เคราะหแสง

เฉลยแบบทดสอบ หนว ยท่ี 1 งานเกษตร วชิ า การงานอาชพี ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 5 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) 1ง 2ข 3ค 4ค 5ค 6ง 7ก 8ง 9ก 10 ก

5. รายงานผลการใชน วตั กรรม การปรบั ปรุง/พัฒนา จากที่ไดนำนวัตกรรม “การจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการเรียนรู 5 ขั้นตอน (5 STEPs) บูรณาการคานยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ” มาใชในการเขียนแผนการจดั การเรยี นรูหนว ยที่ 1 งาน เกษตร วิชาการงานอาชีพ ช้นั ประถมศึกษาปที่ 5 เปนจำนวน 6 ชว่ั โมง และนำไปจดั การเรยี นการสอน ใหก ับนักเรยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 5 โรงเรยี นหัวหมาก จำนวน 37 คน พบวา 1. ดา นพุทธิพิสยั (ความรู จากการประเมนิ ผลการทำแบบทดสอบกอ นเรียนและหลังเรียน สรปุ ผลได ดังนี้ นักเรียนมีความรู เรื่อง ประโยชนของไขในงานเกษตร ชนดิ และประโยชนของปุยท่ีทำมาจากไข เมื่อเปรียบเทียบผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-test) และแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ผลปรากฏวา ในภาพรวมนกั เรียนมผี ลคะแนน อยใู นระดบั “ดมี าก” 2. ดา นทกั ษะพสิ ยั (ทกั ษะ) 2.1 การทำชิ้นงาน จากการประเมนิ ชน้ิ งานท้ัง 3 ชน้ิ สรปุ ผลได ดังนี้ 1. ใบงานที่ 1 แผนภาพความคิด เร่ือง ประโยชนของไขในงานเกษตร ในภาพรวมนักเรียน สามารถทำชิ้นงาน อยูในระดบั คุณภาพ “ดมี าก” 2. ใบงานท่ี 2 แผนภาพความคิด เร่ือง ชนิดและประโยชนของปุยที่ทำจากไข ในภาพรวม นกั เรียนสามารถทำชิ้นงาน อยูในระดบั คณุ ภาพ “ดมี าก” 3. ใบงานท่ี 3 แผนภาพความคิด เร่อื ง วิธีการผลิตปุยท่ีทำจากไข ในภาพรวมนกั เรียนสามารถ ทำชน้ิ งานอยูในระดับคุณภาพ “ดมี าก” สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม นักเรยี นมีทกั ษะในการทำชิน้ งานทั้ง 3 ชนิ้ อยใู นระดับคณุ ภาพ “ดมี าก” 2.2 การนำเสนอผลรายงานกลุม จากการประเมินการนำเสนอผลงานรายกลุม สรุปผลได ดงั น้ี 1. กลุมท่ี 1 ปุยเปลือกไข ในภาพรวมนักเรียนมีทักษะในการนำเสนอผลงานรายกลุม อยูใน ระดับคุณภาพ “ดมี าก” 2. กลุมที่ 2 จุลินทรียสังเคราะหแสง ในภาพรวมนักเรียนมีทักษะในการนำเสนอผลงานราย กลมุ อยใู นระดบั คุณภาพ “ด”ี 3. กลมุ ท่ี 3 ฮอรโ มนไข ในภาพรวมนกั เรียนมที ักษะในการนำเสนอผลงานรายกลุม อยใู นระดับ คุณภาพ “ดมี าก” สรุปผลการประเมินในภาพรวม นักเรียนทั้ง 3 กลุม มีทักษะในการนำเสนอผลงานรายกลุม อยูในระดับคณุ ภาพ “ดีมาก”

3. ดา นเจตพสิ ัย (เจตคติ 3.1 ใฝเ รยี นรู จากการประเมินดา นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ใฝเ รียนรู เปนรายบคุ คล ของนกั เรียน ระดบั ชั้น ประถมศึกษาปท่ี 5 จำนวน 37 คน พบวา มีนักเรียน 32 คนเปนผูใฝเรียนรู อยูในระดับคุณภาพ “ดี เย่ยี ม” และมนี ักเรยี น 5 คน เปนผใู ฝเรยี นรู อยูในระดบั คณุ ภาพ “ด”ี 3.2 มุง มน่ั ในการทำงาน จากการประเมินดานคุณลักษณะอันพึงประสงค มุงม่ันในการทำงาน รายบุคคล ของนักเรียน ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที่ 5 จำนวน 37 คน พบวา มนี ักเรียน 35 คนเปนผมู ีความมุง มัน่ ในการทำงาน อยูใ นระดบั คุณภาพ “ดเี ยี่ยม” และมีนกั เรียน 2 คน เปนผมู งุ มั่นในการทำงาน อยูในระดบั คุณภาพ “ดี” 4. สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น จากสรุปผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเรียนเปนรายบุคคล พบวา มีนกั เรียน 32 คน มี ผลประเมินอยูในระดับคุณภาพ “ดเี ย่ียม” และมีนกั เรยี น 5 คนมีผลประเมนิ อยใู นระดับคณุ ภาพ “ดี” 5. คา นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ จากสรุปผลการประเมินคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ของผูเรียนเปนรายบุคคล พบวา นักเรียน 30 คน มีผลประเมินอยูในระดับคุณภาพ “ดีเยี่ยม” และนักเรียน 7 คน มีผลประเมินอยูใน ระดับคณุ ภาพ “ด”ี การปรับปรุงและพฒั นา 1. ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรูโ ดยเนน การฝกพูดนำเสนอรายกลุม ใหก บั นกั เรียนผา น กิจกรรมนำเสนอใหม ากขน้ึ 2. พฒั นาใบงานของแตล ะแผนการจดั การเรียนรู ใหเ นน การคดิ เชงิ ตรรกะ ฝกใหน ักเรยี นไดใ ช ความคดิ ในการแกปญ หา

ตอนที่ 3 ผลการจัดการเรยี นรู ดา นปริมาณและคณุ ภาพ การปรบั ปรงุ และพฒั นา และขอเสนอแนะ

ผลการจัดการเรยี นรู เชิงปริมาณ การเรียนรูของผูเรยี น 1. ดานความรู ความเขา ใจ หรอื องคความรู (K) 1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 มีความรู เร่ืองประโยชนของไขในงานเกษตร โดยสามารถ สรุปองคความรูเ ปนแผนภาพความคิด จำนวน 37 คน คิดเปน รอ ยละ 100 2. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 มีความรู เร่ือง ชนิดและประโยชนของปุยท่ีทำจากไข โดย สามารถสรปุ องคค วามรูเปนแผนภาพความคิดไดถูกตอง จำนวน 37 คน คิดเปน รอ ยละ 100 3. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 มีความรู เร่ือง วิธีการผลิตปุยท่ีทำจากไข โดยสามารถสรุป องคค วามรเู ปนแผนภาพความคิดไดถ กู ตอ ง จำนวน 37 คน คิดเปน รอยละ 100 2. ดา นทักษะกระบวนการ (P) นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท ่ี 5 รอยละ 100 สามารถนำเสนอและสาธติ การผลิตปยุ ท่ที ำมาจาก ไขเ ปน รายกลมุ 3. ดา นคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A นักเรียนชั้นประถมศึกษา 5 รอยละ 100 ใฝหาความรูเม่ือไดรับมอบหมายงานท่ีคุณครู กำหนดให แสวงหาความรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มีการจดบันทึกความรู ทำใบงานสรุปองค ความรูจากเรื่องท่ีเรียนออกมาเปนแผนภาพความคดิ ดวยความต้ังใจและรับผิดชอบจนสำเร็จ รบั ฟงและ นำงานไปพฒั นาปรับปรุงใหด ขี ึ้นดว ยตนเองได เชงิ คณุ ภาพ 1. สมรรถนะของผเู รยี น นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษา 5 ที่เรียนหนวยการเรียนรทู ่ี 1 งานเกษตร มคี วามสามารถในการ สื่อสาร การคดิ วเิ คราะห การแกป ญหา มที ักษะชีวติ และเลือกใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม รอ ยละ 100 2. คานิยมหลักของคนไทย (บูรณาการ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษา 5 รอ ยละ 100 มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  เห็นคุณคา เพราะเปนสถาบันหลักของชาติ มีความซื่อสัตย เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ ในส่ิงที่ดงี ามเพ่ือสวนรวม ชว ยเหลืองานทั้งในและนอกโรงเรียนเมื่อมีกิจกรรม ชอบใฝห าความรู หม่ันศึกษา เลาเรียนทางตรงและ ทางออมท้ังในและนอกหองเรียน และนอกเหนือจากที่ครูสั่ง และรูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รูจักอดออมไวใ ชเม่ือยามจำเปน มีไวพ อกนิ พอใช ถาเหลือก็แจกจา ยเพ่ือนๆ ในหองมี ความรกั ความเมตตา และพรอมทจ่ี ะกา วสูระดบั ชน้ั ตอ ไปดวยมคี วามพรอมและมีภมู คิ ุมกนั ทดี่ ีเยยี่ ม

3. กระบวนการเรยี นรู 5 ขน้ั ตอน ขัน้ ตอนที่ 1 ดา นการเรียนรตู ้งั คำถาม นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา 5 ทเ่ี รียนวิชาการงานอาชพี หนว ยที่ 1 งานเกษตร รอยละ 100 รจู ักสงั เกต คดิ ตง้ั คำถาม ตอบคำถาม และคาดคะเนคำตอบจากการสืบคน ความรูได ขั้นตอนท่ี 2 ดา นการเรยี นรูแสวงหาสารสนเทศ นักเรยี นชั้นประถมศึกษา 5 ท่เี รยี นวชิ าการงานอาชพี หนว ยท่ี 1 งานเกษตร รอยละ 100 สามารถสืบคน ขอมลู จากสื่อทีห่ ลากหลาย เชน สืบคน จากเวบ็ ไซด http://www.google.co.th ซงึ่ เปน เว็บไซดสำหรบั การคน หาทีห่ ลากหลายในหองคอมพวิ เตอรของโรงเรียนได ขนั้ ตอนท่ี 3 ดา นการเรียนรูเพ่อื สรางองคความรู 1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 มีความรู เรื่องประโยชนของไขในงานเกษตร โดยสามารถ สรปุ องคค วามรูเปน แผนภาพความคดิ จำนวน 37 คน คดิ เปน รอ ยละ 100 2. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 มีความรู เร่ือง ชนิดและประโยชนของปุยท่ีทำจากไข โดย สามารถสรุปองคค วามรูเปนแผนภาพความคดิ ไดถ ูกตอง จำนวน 37 คน คดิ เปน รอ ยละ 100 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 มีความรู เร่ือง วิธีการผลิตปุยที่ทำจากไข โดยสามารถสรุป องคค วามรเู ปน แผนภาพความคิดไดถูกตอ ง จำนวน 37 คน คิดเปน รอยละ 100 ขั้นตอนท่ี 4 ดานการเรยี นรูเ พอ่ื การส่อื สาร นักเรียนช้ันประถมศึกษา 5 ท่ีเรียนวิชาการงานอาชีพ หนวยท่ี 1 งานเกษตร รอยละ 100 นำเสนอแผนภาพความคิด เร่ือง ประโยชนของไขใ นงานเกษตร, ชนดิ และประโยชนของปุยทีท่ ำจากไข, วิธีการผลิตปุย ทที่ ำจากไข รวมทั้งปฏบิ ตั กิ ารสาธติ การผลิตปยุ ท่ีทำจากไขโดยใชก ระบวนการกลุม และการ เรียนรแู บบรวมมือรว มใจไดป ระสบความสำเร็จ ขั้นตอนท่ี 5 ดานการเรียนรูเพอื่ ตอบแทนสงั คม นักเรียนช้ันประถมศึกษา 5 ท่ีเรียนวิชาการงานอาชีพ หนวยที่ 1 งานเกษตร รอยละ 100 รว มกันทำโปสเตอรใ หค วามรูเ รือ่ ง การผลิตปุยท่ีทำจากไข ซ่งึ มี 3 ชนิด มาตดิ ท่ีบอรด ประชาสัมพันธหนา โรงเรียน เพ่ือเผยแพรแ ละใหความรแู กนกั เรียนช้ันอื่น และผูปกครองทีส่ นใจ เปนการบริการสงั คมและ สาธารณประโยชนไดอ ยางยอดเย่ยี ม 4. รายงานการใชสือ่ /อปุ กรณ นักเรียนชั้นประถมศึกษา 5 ที่เรียนวิชาการงานอาชีพ หนวยท่ี 1 งานเกษตร รอยละ 100 ใชว ัสดอุ ุปกรณในการผลติ ปยุ เปลอื กไขทแี่ ตละกลุมเตรยี มมาไดอ ยางคลองแคลว ดีเย่ยี ม สามารถนำเสนอ และสาธิตการผลิตปุยท่ีทำจากไขที่นักเรียนไดมอบหมายดวยความประหยัด รักษาอยางดี มีการจัดเก็บ วัสดอุ ปุ กรณอ ยา งเปน ระเบียบเมือ่ นกั เรยี นเลิกใชแลว เกบ็ เขา ทไี่ ดอ ยา งดีเยย่ี ม 5. ปญ หาและอปุ สรรค เนอื่ งจากการเรียนวิชาการงานอาชพี นักเรียนไดเ รยี นเพียงสัปดาหล ะ 1 ช่ัวโมง ทำใหน ักเรยี น ไมส ามารถเรยี นรแู ละทำกจิ กรรมไดอ ยา งตอเน่อื ง

6. การปรับปรุงและพฒั นา ครตู อ งพยายามเชอ่ื มโยงเนอ้ื หาเขาดวยกันใหม ีความตอเนือ่ ง เพอื่ นกั เรียนจะไดไ มล มื เนอ้ื หาจาก ที่ไดเ รียนในชัว่ โมงทผ่ี า นมา 7. ขอเสนอแนะ ในบางบทเรียนท่ีมีเนื้อหาเยอะครูควรจัดการเรียนการสอนใหกระชับและรวดเร็วโดยการ เตรียมการสอนทมี่ คี วามพรอมทั้งใบความรูและข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม เพือ่ ใหส อนเน้ือหาทนั เวลาใน ชัว่ โมงเรยี นที่กำหนดไว

ภาคผนวก

แบบประเมินผลการทำแบบทดสอบกอนเรยี นและหลงั เรยี น หนว ยท่ี 1 งานเกษตร ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 ลำดบั ชอื่ -นามสกุล Pre-test Post-test 1 เด็กชายฐติ วิ ัจน แสงวเิ ชียร 2 เด็กชายอภชิ าติ เสือรา ย คะแนน เกณฑ คะแนน เกณฑ 3 เด็กชายธนัชพร สมศรี 4 เดก็ ชายปฏวิ ัติ ใจตรง 5 เด็กชายศราวนิ จันทรส วา ง 6 เด็กชายรังสมิ ันตุ พุมเพช็ ร 7 เด็กชายอนุรกั ษ ไหมบวั เขยี ว 8 เด็กชายชนิ วฒุ ิ โซะ ลี 9 เด็กชายกฤษณะ แสงลอย 10 เดก็ ชายสิรวชิ ญ เปอ ินทร 11 เดก็ ชายชวี ิน โซะ ลี 12 เด็กชายธนดล สงั ขเ งนิ 13 เด็กชายอานนท แสงวเิ ชียร 14 เดก็ ชายมีซาน กาโอ 15 เดก็ ชายชยากร พทิ กั ษ 16 เด็กชายศทุ ธพิ งษ เอกบัว 17 เด็กชายจณิ ณพัต พิทกั ษ 18 เด็กชายณัฐศลิ ป เสนหา 19 เด็กชายธนพล อปุ พันธ 20 เด็กชายกติ ตินนั ท จนั ทรมาลี 21 เด็กชายฮัซซาน อสี ามะ 22 เด็กหญิงพรปใหม แยมเกตุ 23 เด็กหญงิ ธัญญา เพมิ่ จิตร 24 เด็กหญงิ พรไพลนิ สหัสสตนนท 25 เด็กหญิงพชั รินทร สคี ำ 26 เดก็ หญิงอารียา บำรงุ รกั ไทย 27 เด็กหญงิ ชลนิชา รตั นลัมภ 28 เด็กหญิงพกาวดี วิริยะอาทร 29 เดก็ หญงิ ปย จติ ร เสย 30 เดก็ หญิงชนษิ ฐา บญุ ยะบา 31 เดก็ หญิงนวพรรณ มูลสภา 32 เดก็ หญิงสมสดุ า ภูชะหาญ 33 เดก็ หญงิ จรัษแสง ก่ำค่ำ 34 เดก็ หญงิ ปาริชาติ มศี รี

ลำดับ ชื่อ-นามสกลุ Pre-test Post-test 35 เดก็ หญงิ ปุณยวีร งดงาม 36 เดก็ หญงิ นาบฮี าน แดงโกเมน คะแนน เกณฑ คะแนน เกณฑ 37 เด็กหญงิ ศรีวภิ า สามารถ เกณฑทางดานคุณภาพ ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ 9-10 ดีมาก 7-8 ดี 5-6 พอใช 0-4 ปรับปรงุ สรปุ ผลการประเมนิ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชอื่ .................................................................. ( นายณฐั วรรธน เลิศภักดวี ฒั นกลุ ผปู ระเมิน

แบบประเมนิ ชน้ิ งาน ใบงานท่ี 1 ประโยชนของไขในงานเกษตร หนว ยที่ 1 งานเกษตร ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5 ลำดบั ชอื่ -นามสกุล 4 ระดบั คะแนน 1 ระดับ 32 คุณภาพ 1 เดก็ ชายฐติ วิ ัจน แสงวเิ ชยี ร 2 เด็กชายอภิชาติ เสือราย 3 เด็กชายธนัชพร สมศรี 4 เดก็ ชายปฏวิ ัติ ใจตรง 5 เด็กชายศราวนิ จันทรส วาง 6 เด็กชายรังสิมนั ตุ พุมเพช็ ร 7 เดก็ ชายอนรุ กั ษ ไหมบวั เขียว 8 เดก็ ชายชินวฒุ ิ โซะ ลี 9 เด็กชายกฤษณะ แสงลอย 10 เด็กชายสริ วิชญ เปอ นิ ทร 11 เดก็ ชายชวี ิน โซะลี 12 เดก็ ชายธนดล สังขเงิน 13 เดก็ ชายอานนท แสงวิเชยี ร 14 เด็กชายมซี าน กาโอ 15 เด็กชายชยากร พทิ กั ษ 16 เดก็ ชายศทุ ธิพงษ เอกบวั 17 เดก็ ชายจิณณพตั พทิ กั ษ 18 เดก็ ชายณฐั ศิลป เสนหา 19 เด็กชายธนพล อุปพนั ธ 20 เดก็ ชายกิตตินนั ท จนั ทรมาลี 21 เดก็ ชายฮัซซาน อีสามะ 22 เดก็ หญิงพรปใหม แยมเกตุ 23 เด็กหญิงธญั ญา เพิ่มจิตร 24 เด็กหญงิ พรไพลิน สหสั สตนนท 25 เด็กหญงิ พัชรนิ ทร สคี ำ 26 เด็กหญงิ อารียา บำรุงรักไทย 27 เดก็ หญิงชลนิชา รัตนลัมภ 28 เด็กหญงิ พกาวดี วิรยิ ะอาทร 29 เด็กหญงิ ปยจติ ร เสย 30 เด็กหญิงชนิษฐา บญุ ยะบา 31 เด็กหญิงนวพรรณ มลู สภา 32 เดก็ หญิงสมสุดา ภูชะหาญ 33 เดก็ หญงิ จรษั แสง กำ่ ค่ำ 34 เด็กหญิงปารชิ าติ มศี รี

ลำดับ ชือ่ -นามสกุล ระดับคะแนน ระดบั 4 3 2 1 คุณภาพ 35 เดก็ หญิงปุณยวีร งดงาม 36 เด็กหญงิ นาบีฮาน แดงโกเมน 37 เดก็ หญิงศรีวภิ า สามารถ เกณฑทางดานคุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 4 ดีมาก 3 ดี 2 พอใช 1 ปรับปรุง สรปุ ผลการประเมนิ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ .................................................................. ( นายณฐั วรรธน เลิศภกั ดีวฒั นกุล ผูป ระเมนิ

แบบประเมินชน้ิ งาน ใบงานที่ 2 ชนิดและประโยชนข องปยุ ท่ที ำจากไข หนว ยท่ี 1 งานเกษตร ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 ลำดับ ชื่อ-นามสกุล 4 ระดับคะแนน 1 ระดับ 32 คุณภาพ 1 เดก็ ชายฐติ วิ ัจน แสงวเิ ชยี ร 2 เด็กชายอภชิ าติ เสอื รา ย 3 เด็กชายธนชั พร สมศรี 4 เดก็ ชายปฏิวตั ิ ใจตรง 5 เด็กชายศราวนิ จันทรส วาง 6 เด็กชายรังสิมนั ตุ พุมเพ็ชร 7 เด็กชายอนุรกั ษ ไหมบัวเขียว 8 เด็กชายชนิ วฒุ ิ โซะ ลี 9 เด็กชายกฤษณะ แสงลอย 10 เดก็ ชายสิรวชิ ญ เปอ ินทร 11 เดก็ ชายชวี นิ โซะลี 12 เดก็ ชายธนดล สงั ขเ งนิ 13 เด็กชายอานนท แสงวิเชยี ร 14 เดก็ ชายมีซาน กาโอ 15 เด็กชายชยากร พทิ ักษ 16 เด็กชายศุทธพิ งษ เอกบวั 17 เด็กชายจิณณพัต พทิ ักษ 18 เด็กชายณัฐศลิ ป เสนหา 19 เด็กชายธนพล อุปพนั ธ 20 เด็กชายกติ ตินนั ท จนั ทรมาลี 21 เด็กชายฮัซซาน อีสามะ 22 เด็กหญิงพรปใ หม แยมเกตุ 23 เด็กหญิงธญั ญา เพิ่มจติ ร 24 เด็กหญิงพรไพลนิ สหสั สตนนท 25 เด็กหญิงพัชรนิ ทร สคี ำ 26 เด็กหญิงอารยี า บำรงุ รกั ไทย 27 เด็กหญงิ ชลนชิ า รตั นลมั ภ 28 เด็กหญงิ พกาวดี วิริยะอาทร 29 เดก็ หญงิ ปย จติ ร เสย 30 เดก็ หญงิ ชนิษฐา บญุ ยะบา 31 เดก็ หญิงนวพรรณ มลู สภา 32 เดก็ หญิงสมสดุ า ภูชะหาญ 33 เดก็ หญิงจรษั แสง กำ่ ค่ำ 34 เดก็ หญงิ ปารชิ าติ มศี รี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook