Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์ยุโยปและในยุคต่างๆ

ประวัติศาสตร์ยุโยปและในยุคต่างๆ

Published by Namevc Barbar, 2021-07-23 06:19:30

Description: ประวัติศาสตร์ยุโยปและในยุคต่างๆ

Search

Read the Text Version

ประวตั ศิ าสตร์ยุโรปและในยุคต่างๆ ทำโดย ณพชนก บูรณะกลู ม.3/1 เลขที่17 คณะพญำไท



บทท่ี1 พฒั นาการทางดา้ นสงั คม วฒั นธรรม สงั คมของยโุ รปในสมยั กลำง ยโุ รปยคุ กลำง เป็นกำรปกครองในระบบขนุ นำงหรือท่ีเรียกวำ่ ระบบฟิ วดลั หรืออำจเรียกอกี ช่ือวำ่ ระบบศกั ดินำสวำมิภกั ด์ิ หมำยถึง ควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งเจำ้ นำย lord กบั ขำ้ ในเรื่องเก่ียวกบั กำรหำ ผลประโยชนข์ องที่ดินเร่ิมจำกกษตั ริยม์ อบที่ดินใหข้ นุ นำง เพอื่ ตอบแทนควำมดีควำมชอบ ขนุ นำงทำ หนำ้ ท่ีปกครองผคู้ นท่ีอำศยั อยใู่ นท่ีดิน และมีพนั ธะต่อกษตั ริยโ์ ดยส่งคนไปชว่ ยรบ

กำเนิดชนช้นั กลำง คริสตศ์ ตวรรษที่ 11 มีกำรขยำยตวั ทำงเศรษฐกิจและกำรเติบโตของเมือง ทำใหเ้ กิดชนช้นั ใหม่ข้ึนเรียกวำ่ “ชนช้นั กลำง” หรือชนช้นั กระฎุมพี ชนช้นั กลำงประกอบดว้ ยพอ่ คำ้ นำยทุน ช่ำงฝีมือ นกั ปรำชญ์ แพทย์ - ชนช้นั กลำงเหล่ำน้ีได้ ร่วมกนั วำงรำกฐำนควำมเจริญใหแ้ ก่สงั คมยโุ รปและปลูกฝังอุดมกำรณ์ และวธิ ีกำรปฏิบตั ิในกำรอยรู่ ่วมกนั ชนช้นั กลำง ใหค้ วำมสำคญั แก่สิทธิ เสรีภำพและควำมเสมอภำคปัจเจกบุคคล ซ่ึงเป็นพ้นื ฐำนสำคญั ท่ีทำใหส้ งั คมยโุ รป สำมำรถ

สงั คมยโุ รปในปัจจุบนั เป็ นสงั คมเมืองเป็นผลมำจำกกำรปฏิวตั ิอตุ สำหกรรมทำใหม้ ีผคู้ นจำกชนบทอพยพเขำ้ มำทำงำนใน เมืองซ่ึงปรำกฏเด่นชดั ต้งั แต่ตอนกลำงคริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 เป็นตน้ มำประชำกรขององั กฤษและ ประเทศที่มีควำมกำ้ วหนำ้ ทำงอุตสำหกรรมมำกกวำ่ คร่ึงหน่ึง ของประชำกรท้งั ประเทศอำศยั อยใู่ นเขต เมืองและส่วนใหญ่เป็นชนช้นั กลำง

บทท่ี 2 พฒั นาการทางดา้ นการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครองสมยั กลาง ในอดีตดินแดนส่วนใหญ่ของทวปี ยโุ รปมีกษตั ริยเ์ ป็นประมุขสูงสุด ต้งั แต่ในสมยั กรีกเรือง อำนำจเม่ือกวำ่ 500 ปี ก่อน คริสตศ์ กั รำช จนถึง ในสมยั จกั รวรรดิโรมนั 27 ปี ก่อนคริสตศ์ กั รำช(ค.ศ.476) พระประมุขสูงสุดของชำวโรมนั เรียกวำ่ ซี ซำร์หรือจกั รพรรดิยโุ รปไดเ้ ขำ้ สู่สมยั กลำง เม่ือจกั รวรรดิโรมนั ล่มสลำย ใน ค.ศ. 476 จำกกำรรุกรำนของพวกชนเผำ่ กอท หรือชนเผำ่ เยอรมนั มีอำณำจกั รใหม่ๆ เกิดข้ึนหลำยอำณำจกั ร มีกษตั ริย์ เป็นประมุข

กำรเมืองกำรปกครองสมยั ใหม่ องั กฤษ เม่ือขนุ นางรวมตวั กนั ต่อตา้ นการใชอ้ านาจการปกครองที่กดข่ีของพระเจา้ จอห์นที่ 5โดยบีบบงั คบั ใหพ้ ระองค์ ทรง ลงนามและยอมปฏิบตั ิตามกฎบตั รแมกนา คาร์ตาในปี ค.ศ.1215ผลท่ีตามมา คือ เป็นการจากดั พระราชอานาจ สิทธ์ิขาดและการกระทาโดยมิชอบของพระองคแ์ ละทาใหฐ้ านะของกษตั ริยอ์ งั กฤษไม่ทรงอยเู่ หนือกฎหมายอีกต่อไป นอกจากน้ีกฎบตั ร แมกนา คาร์ตา ยงั เป็นรากฐานของ“รัฐธรรมนูญ” และ “รัฐสภา” ขององั กฤษในสมยั ต่อมาอีกดว้ ย ในสมยั ต่อมากษตั ริยอ์ งั กฤษในยคุ สมยั หลงั ๆหลายพระองคไ์ ม่ปฏิบตั ิตามกฎบตั รแมกนา คาร์ตา จึงเกิดการต่อตา้ นจา ประชาชนดงั เหตกุ ารณ์ ในปี ค.ศ. 1688 ที่เรียกวา่ “การปฏิวตั ิอนั รุ่งโรจน์”

การเมืองการปกครองสมยั ปัจจุบนั กำรปกครองระบอบประชำธิปไตย มีตน้ กำเนิดมำต้งั แต่สมยั กรีกโบรำณเป็นระบอบท่ีเนน้ ควำมเป็นปัจเจกบุคคลนิยม เหตุผลนิยมและเสรีภำพหลกั กำร สำคญั ของแนวควำมคิดประชำธิปไตย คือ สิทธิ เสรีภำพของประชำชนกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยเป็นกำร ปกครองที่ประชำชนมีอำนำจสูงสุดกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย 3 รูปแบบ คือ แบบรัฐสภำแบบประธำนำธิบดี และ แบบผสม ( ก่ึงรัฐสภำและก่ึงประธำนำธิบดี )

บทท่ี 3 พฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกิจ เศรษฐกิจสมยั กลำง เศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ เป็นระบบกำรผลิต เพ่ือเล้ียงตวั เองในแต่ละแมนอร์ มีขนุ นำงเป็นผปู้ กครอง โดยจดั แบ่ง ท่ีดินใหร้ ำษฎรเช่ำทำกำรเกษตรส่วนหน่ึงและของขนุ นำงเองอีกส่วนหน่ึงมีกำรนำผลผลิตไปขำยท้งั ภำยในแมนอร์และนอกแมนอร์ เศรษฐกิจแบบแมนอร์ ทำใหก้ ำรคำ้ ที่เคยรุ่งเรืองในสมยั จกั รวรรดิโรมนั ตอ้ งหยดุ ชะงกั กวำ่ 500 ปี เศรษฐกิจสมยั ใหม่ ในคริสตศ์ ตวรรษที่ 16 เม่ือยโุ รปเขำ้ สู่สมยั ใหม่ กำรคำ้ ขำยทำงทะเลในดินแดนไกลโพน้ มีควำมเจริญรุ่งเรืองมำก มีกำร สำรวจทำงทะเลเพือ่ แสวงหำเสน้ ทำงเดินเรือและคน้ พบดินแดนใหม่ๆ ท้งั ในทวปี อเมริกำเอเชีย และแอฟริกำ ทำใหช้ ำติในยโุ รปเกิดพฒั นำกำร ทำงดำ้ นเศรษฐกิจในรูปแบบ ต่ำง ๆ

พาณิชยนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนและพฒั นำพร้อมๆ กบั กำรก่อตวั ของรัฐชำติ เป็นรูปแบบของเศรษฐกิจคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๖-๑๘ โดยรัฐเขำ้ ควบคุมอุตสำหกรรม และกำรคำ้ ภำยในประเทศ ส่งเสริมกำรดำเนินธุรกิจของพอ่ คำ้ กำรส่งสินคำ้ ออก และกีดกนั กำรนำเขำ้ สินคำ้ จำกต่ำงประเทศ ลทั ธิพำณิชยนิยมเป็นผลจำกควำม เช่ือวำ่ กำรควบคุมและกำรดำเนินธุรกิจต่ำงๆ จะทำใหร้ ัฐมนั่ คง เขม้ แขง็ ดงั น้นั จึงถือเป็นหนำ้ ท่ีและควำมจำเป็นของรัฐท่ีจะตอ้ งดำเนินกำรทุกวถิ ีทำงเพื่อเป็น เจำ้ ของทรัพยำกรและโภคทรัพยต์ ่ำงๆ และเขำ้ ครอบครองดินแดนต่ำงๆ แลว้ จดั ต้งั เป็นอำณำนิคม เผยแผศ่ ำสนำ ทำ้ ยที่สุดกก็ ่อใหเ้ กิดควำมขดั แยง้ กนั เองและเขำ้ สู่สงครำม กลำยเป็นสงครำมที่ลุกลำมในภูมิภำคอื่นๆ ของโลก เช่น สงครามเจด็ ปี ค.ศ. ๑๗๕๖-๑๗๖๓ระหวำ่ งฝรั่งเศสและออสเตรีย กบั องั กฤษและปรัสเซีย ก่อใหเ้ กิดกำรรบกนั ท้งั ในทวปี ยโุ รป อเมริกำ และเอเชีย

ทุนนิยม ปลำยคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๘ ไดเ้ กิดแนวคิดทำงเศรษฐศำสตร์และกำรเมืองท่ีสำคญั คือ แนวคิด ไลส์เซ-แฟร์ แนวคิดกำรคำ้ เสรี ของแอดมั สมิท ชำว สกอต ท่ีกำหนดใหอ้ ุปสงคแ์ ละอุปทำนเป็นตวั กำหนดกลไกของตลำดดำ้ นเศรษฐกิจน้นั ไลส์เซ-แฟร์ หมำยถึง กำรดำเนินนโยบำยภำยในที่รัฐบำล ไม่ควรเขำ้ ไปกำ้ วก่ำยกบั กำรคำ้ เป็นธุรกิจของภำคเอกชนท้งั ในดำ้ นอุตสำหกรรมและกำรเงิน ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมส่งเสริมใหน้ ำยทุน แข่งขนั กนั อยำ่ งเสรี ผบู้ ริโภคจะทำใหก้ ลไกของตลำดเคล่ือนไหวและนำควำมมงั่ คง่ั มำสู่รัฐไดอ้ ยำ่ งไรกด็ ี ท้งั แนวคิดไลส์เซ แฟร์ และกำรคำ้ เสรี ดงั กล่ำวไดร้ ับกำรสนบั สนุนจำกชนช้นั นำยทุนอีกท้งั สอดคลอ้ งกบั ลทั ธิเสรีนิยม จึงทำใหเ้ กิดกำรสะสมทุน กำรลงทุน และขยำยทุนอยำ่ งกวำ้ งขวำง เกิดระบบตลำดกำรคำ้ เสรีแบบทุนนิยม ไปทว่ั โลก โดยรัฐใหก้ ำรสนบั สนุนและออกกฎหมำยเพอื่ กำรครอบครองทรัพยส์ ินและกำรทำสญั ญำต่ำงๆ ในโลกปัจจุบนั ระบบทุนนิยมและแนวคิดไลส์เซ แฟร์ และกำรคำ้ เสรีกย็ งั คงเป็นนโยบำยเศรษฐกิจที่สำคญั ของประเทศประชำธิปไตย โดยรัฐเขำ้ มำ มีบทบำทในดำ้ นกำรวำงนโยบำย กำรควบคุมคุณภำพและวธิ ีกำรผลิตตลอดจนกำรดูแลในเรื่องสวสั ดิกำรของผใู้ ชแ้ รงงำนดว้ ย

สงั คมนิยม เศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่พฒั นำมำจำกแนวควำมคิดทำงกำรเมืองของคำร์ล มำกซ์ นกั สงั คมนิยมที่มีชื่อเสียงของยโุ รป เกิดข้ึนกลำงคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ เพอ่ื ตอบโตก้ ำรขยำยตวั ของลทั ธิทุนนิยมและกำรเอำรัดเอำเปรียบชนช้นั แรงงำน เขำตอ้ งกำรสร้ำงระบบ เศรษฐกิจที่เสมอภำค คือ กำรยกเลิกกรรมสิทธ์ิทรัพยส์ ินส่วนบุคคล และใหม้ ีกำรจดั กำรทำงกำรผลิตโดยชนช้นั แรงงำน ซ่ึงชนช้นั แรงงำนจะ ใชอ้ ำนำจเผดจ็ กำรในกำรปกครองเพอื่ ผลกั ดนั นโยบำยสงั คมนิยมใหบ้ รรลุผลสำเร็จ

บทที่ 4 อิทธิพลท่ีมีต่อสงั คมโลก ดา้ นการเมืองการปกครอง -แนวคิดประชาธิปไตยสมยั กรีก เป็นแม่แบบของระบอบประชาธิปไตย และระบอบ กษตั ริยภ์ ายใตร้ ัฐธรรมนูญ -กฎหมายสิบสองโตะ๊ ของโรมนั เป็นแม่แบบของประมวลกฎหมายในประเทศทว่ั โลก -เมืองและระบบเทศาภิบาลในสมยั กลาง เป็นแม่แบบของเมืองในปัจจุบนั -ผลจากลทั ธิสงั คมนิยมนาไปสู่การปฏิวตั ิรัสเซีย เกิดการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ และขยายตวั ไปยงั ที่ต่าง ๆทว่ั โลก -หลงั สิ้นสุดสงครามโลกคร้ังที่ 2 เกิดการจดั ต้งั องคก์ รระหวา่ งประเทศ เพ่ือเสริมสร้าง สนั ติภาพ และความร่วมมือของโลก

ดำ้ นกำรปฏิวตั ิต่ำง ๆ - กำรปฏิวตั ิวทิ ยำศำสตร์ทำใหส้ งั คมตะวนั ตกกำ้ วหนำ้ ดำ้ นเทคโนโลยแี ละวทิ ยำกำรต่ำง ๆ มำกกวำ่ ดินแดนอ่ืน ๆ ของโลก - กำรปฏิวตั ิอุตสำหกรรมทำใหย้ โุ รปเปลี่ยนแปลงจำกสงั คมเกษตรกรรมเป็นสงั คมอุตสำหกรรม ท่ีทนั สมยั ประชำชนมีกำรกินดีอยดู่ ี ทำให้ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมขยำยตวั อยำ่ งมำก - กำรปฏิวตั ิฝรั่งเศสของชนช้นั กลำงเพ่ือควำมเป็นประชำธิปไตยตำมแนวทำงของเสรีภำพควำมเสมอภำค และภรำดรภำพ ต่อมำยงั นำไปสู่กำร เกิดลทั ธิชำตินิยม

ขอจบการบนั ทึกในทวีปยุโรปเพยี งเท่าน้ีครบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook