100
5 ยุทธศาสตร์ และภารกจิ ของแตล่ ะ กระทรวงและหนว่ ยงานหลัก ทรี่ ับผดิ ชอบงาน ทเี่ ก่ยี วกบั ASEAN ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม 101
5.1 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแตล่ ะกระทรวง กระทรวงการวางแผนและการลงทุน (Ministry of Planning and Investment) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาการลด ซีโอทู (CO2) - ชี้นำ�ทิศทางนโยบายการพัฒนา หรือคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีกระทรวง สิ่งแวดลอ้ ม โดยเสนอ 17 แนวทาง วางแผนและการลงทุนได้วางแผนเป็น การแก้ไขปัญหาเพอ่ื ทุกภาคส่วนและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสิ่งแวดล้อม จงั หวัดต่างๆ แห่งชาติระหว่าง พ.ศ. 2554 – 2563 - ท�ำ 10 โครงการพฒั นาสิง่ แวดล้อม (ค.ศ.2011 – 2020) ดว้ ยวสิ ยั ทศั น์ นำ�รอ่ งอย่างเรง่ ดว่ น พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050) ซ่ึงประกอบ - ท�ำ ตามยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม ด้วย 3 กลยุทธ์ทีร่ ับภาระในกรอบงาน เวียดนามทอี่ ยูเ่ ป้าหมาย ว่า ของยทุ ธศาสตรห์ ลกั มดี งั น้ี 1) ในปี พ.ศ. 2563 รายได้ต่อหัว 1. การลดคารบ์ อนขยายตัวมากขึ้น ประชากรของเวียดนามเพ่ิมขึ้นหนึ่ง 2. มผี ลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เทา่ ตวั 3. รปู แบบชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 2) ลดการใชพ้ ลงั งานในอัตรารอ้ ยละ 1.5 ถงึ รอ้ ยละ 2 ตอ่ ปี 3) ลดภาวะเรอื นกระจกโลกตอ่ หนว่ ยของ GDP ในอตั รารอ้ ยละ 8 ถงึ รอ้ ยละ 10 หรือสองเท่าของเป้าหมายที่นานา ประเทศสนบั สนุน 102
ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 4) ในปีพ.ศ.2573ลดกา๊ ซเรอื นกระจก ได้ร้อยละ 1 โดยไม่รับการช่วยเหลือ และลดลงร้อยละ 2 โดยการช่วย เหลอื จากนานาชาติ ความเสอ่ื มโทรม ของสิ่งแวดล้อมและแหล่งธรรมชาติ ที่สำ�คัญจะได้รับการปรับปรุง โดยการเขา้ ไปดแู ลและการใชเ้ ทคโนโลยี สิ่งแวดล้อมรักษาความสะอาดเป็น เรื่องสำ�คัญที่ต้องส่งเสริมในปี พ.ศ. 2593 เวยี ดนามยงั คงรกั ษาการพฒั นา เศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอ้ มเปน็ กระแสหลกั กระทรวงอตุ สาหกรรมและการค้า (Ministry of Industry and Trade) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม - ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม และการค้าสร้างยุทธศาสตร์ผลิตผล ได้เตรียมการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2558 อตุ สาหกรรมทส่ี ะอาดปี พ.ศ. 2563 - ร้อยล ะ 5 0 ข อ ง ผลิตผ ล ท า ง อุตสาหกรรมทส่ี ร้างผลประโยชน์ ให้ผลิตผลอุตสาหกรรมทส่ี ะอาด ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม 103
ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 104 - ร้อยละ 25 ของผลิตผ ล ท า ง อุตสาหกรรมจะเป็นผลผลิตจาก อุตสาหกรรมทส่ี ะอาด ทั้งจะช่วย ให้ประหยัดร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 8 ของการใช้พลังงาน วัตถุดิบ และ เชื้อเพลิงที่สิ้นเปลืองต่อผลิตภัณฑ์ - รอ้ ยละ 70 ของกระทรวงอตุ สาหกรรม และการค้าจะมีพนักงานชำ�นาญ เฉพาะทางท่มี ีคุณสมบัติแนะนำ� เรื่องผลผลิตที่สะอาดในการเริ่ม อุตสาหกรรม จากในปี พ.ศ. 2559 – 2563 - รอ้ ย ล ะ 9 0 ข อ ง ผ ลิต ผ ล ท า ง อุตสาหกรรมจะสร้างผลประโยชน์ ให้ผลิตผลอุสาหกรรมที่สะอาด - ร้อยละ 50 ของผลิตผลทาง อุตสาหกรรมจะเป็นผลผลิตจาก อุตสาหกรรมที่สะอาด ทั้งจะช่วย ให้ประหยัดร้อยละ 8 ถึงร้อยละ 13 ของการใช้พลังงาน วัตถุดิบและ เ ชื้ อ เ พ ลิ ง ท่ี สิ้ น เ ป ลื อ ง ต่ อ ผลิตภัณฑ์ และร้อยละ 90 ของ
ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ใหญ่จะมีหน่วยชำ�นาญการด้าน ผลติ ผลท่ีสะอาด - ร้อ ย ล ะ 9 0 ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง อุตสาหกรรมและการค้าจะมี พนักงานชำ�นาญเฉพาะทางท่มี ี คุณสมบัติแนะนำ�เรื่องผลผลิตที่ สะอาดในการเริ่มอุตสาหกรรม ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวียดนาม 105
กระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบท (Ministry of Agriculture and Rural Development) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรภายใต้ - สง่ เสรมิ การเพม่ิ ผลผลติ ในภาคเกษตร แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ปี พ.ศ. 2554 – - สง่ เสรมิ การเพม่ิ รายไดแ้ ละสรา้ งแรง 2563 จงู ใจในงานภาคเกษตร - การลงทนุ ของรฐั จะไมเ่ ปน็ การบดิ เบอื น กลไกตลาด และทำ�ลายความสนใจ การลงทนุ ของภาคเอกชน - การลงทุนของรัฐจะเป็นการเสริม การสร้างงานในชนบท เพิ่มรายได้ และมผี ลตอ่ การลดความยากจน - กระตนุ้ การพฒั นาเศรษฐกจิ ในชนบท 106
กระทรวงการก่อสรา้ ง ภารกจิ (Ministry of Construction) - ในปี พ.ศ. 2558 ประชากรชมุ ชน ยทุ ธศาสตร์ เ มื อ ง ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ จ ะ เ พ่ิ ม ข้ึ น ประมาณ 35 ลา้ นคน มอี ัตราสว่ น ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนเมือง การท�ำ ใหเ้ ปน็ เมอื งใหญถ่ งึ รอ้ ยละ 38 เพอื่ ระบบเมืองในเวยี ดนามถึงปี พ.ศ. - ในปี พ.ศ. 2568 ประชากรชมุ ชน 2593 (ค.ศ.2050) ท้งั วิสัยทศั น์แหง่ เ มื อ ง ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ จ ะ เ พ่ิ ม ข้ึ น ชาติกับโครงการเช่ือมโยงสู่ภูมิภาคปี ประมาณ 52 ล้านคน มอี ัตราส่วน พ.ศ. 2593 การท�ำ ใหเ้ ปน็ เมอื งใหญถ่ งึ รอ้ ยละ55 โครงการน้ีมีความมุ่งหมายท่ีจะให้ - ในปี พ.ศ. 2558 ศนู ย์กลางชมุ ชน ประสบความสำ�เร็จตามวิสัยทัศน์ เมืองของประเทศรวมกันแล้ว ภายใน 50 ปขี า้ งหน้า และมคี วาม มากกวา่ 870 แห่ง จำ�เป็นในการแบ่งงานเป็นช่วงระยะ - ในปี พ.ศ. 2568 ศนู ยก์ ลางชมุ ชนเมือง 10 ตามวงจรเศรษฐกิจ ซึง่ อาจมกี าร ของประเทศรวมกันแล้วเกือบถึง พัฒนาต่างกันในแต่ละช่วง และมี 3 1,000แห่งจากการขยายตัวของ โครงการหลกั ดังน้ี ชุมชนเมืองจึงเป็นภาระกิจท่ี 1. โครงการชนุ ชนเมืองในภมู ภิ าค กระทรวงก่อสร้างต้องมีความเข้าใจ 2. โครงการชุนชนเมืองในมหานคร และเข้าไปมีสว่ นรว่ มในทกุ ดา้ น 3. โครงการเช่อื มโยงภูมภิ าค - ระบบชุมชนเมืองเวียดนามได้ก่อตัว มากกว่านั้นยังมีโครงการท้องถ่ินใน พฒั นาทลี ะเลก็ ทลี ะนอ้ ย จนกลายเปน็ ภูมิภาคที่อธิบายรูปแบบที่มีอยู่ของ รปู แบบเครือขา่ ยชุมชน การพัฒนาแต่ไม่ใช่โครงการพัฒนาที่ ถูกพจิ ารณานำ�มาใช้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวียดนาม 107
ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ - การพฒั นาไปพรอ้ มกนั ระหวา่ งเทคนคิ ท่ที ันสมัยและโครงสร้างทางสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต ของชมุ ชนเมอื งไดร้ บั การสรา้ งสรรค์ เช่น การพัฒนาสถาปัตย์ชุมชนที่ ก้าวหน้ามีเอกลักษณ์ของชาติ มี การยกระดับความสามารถในการ แข่งขันในการพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คมในระดับชาติ ระดบั ภูมภิ าค และระดับนานาชาติ ทั้งการ ปรับทิศทางการพัฒนาชุมชนเมือง เวียดนามและยุทธศาสตร์ตาม วิสยั ทศั นป์ ี พ.ศ. 2593 ทกี่ ำ�หนด วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์เพ่ือระบบ ชุมชนเมืองและโครงสร้างพ้ืนฐาน ดา้ นเทคนคิ ในบรบิ ทของเศรษฐกิจ โลก ระบบชุมชนแห่งชาติประสบ ความสำ�เร็จตามวัตถุประสงค์ของ การพัฒนาอย่างยั่งยืนและการรวม เป็นอันหนง่ึ อนั เดียวกัน 108
กระทรวงการขนส่ง ภารกจิ (Ministry of Transport) กระทรวงการขนส่งมีนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ทไ่ี ด้จัดทำ�เป็นอันดับแรกๆ จนถงึ ปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) โดยยกเลิก ยุทธศาสตร์บนความรับผิดชอบของ การเกบ็ พน้ื ทร่ี อ้ ยละ 16 ถงึ ร้อยละ26 การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ของเขตเมืองเพื่อการขนส่งของ ยุทธศาสตร์การเติบโตด้วยความ เขตเมืองยกระดับเรื่องต่อไปนี้ เปน็ มิตรกบั ธรรมชาติ - เ พิ่ ม ร ะ บ บ ร ถ เ ม ล์ ส า ธ า ร ณ ะ ยุทธศาสตร์บนการพัฒนาการขนส่ง และสร้างการเชื่อมโยง การขนส่ง เพื่อป้องกันสงิ่ แวดล้อม สาธารณะ เช่น BRT และ MRT เพอ่ื บริการตามความต้องการของคน เดินทางร้อยละ 25 ถึงร้อยละ 30 - ควบคุมจำ�นวนรถมอเตอร์ไซต์ และรถยนต์โดยสาร โดยเฉพาะใน ฮานอยและโฮจิมินต์ซิตี้ โดยในปี พ.ศ. 2563 จำ�นวนรถมอเตอรไ์ ซต์ รวมกันประมาณ 3.2 - 3.5 ล้านคัน - พัฒนาการขนส่งท่ีหลากหลายให้ บริการด้านโลจิสติคและเครือข่าย ทา่ เรอื ICD ปรบั ปรงุ เรื่องต่อไปนี้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม 109
ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ - น�ำ น�ำ้ มนั Euro 3 มาใชก้ บั มอเตอรไ์ ซต์ และรถยนตใ์ นปี พ.ศ. 2560 - ส่งเสริมการใช้รถยนต์สะอาดและ รถยนต์ที่มีคาร์บอนต� (แท๊กซ่ี LPG รถประจ�ำ ทาง CNG เป็นตน้ ) - การใชเ้ ชอื้ เพลิงท่สี ะอาด เชือ้ เพลงิ ทางเลอื ก และน�ำ เชอ้ื เพลงิ มาท�ำ ใหม่ - ปฏิบัติการตรวจวัดเครื่องยนต์ อย่างมีประสิทธิภาพในภาค การขนสง่ - ปรบั ปรงุ การจราจรทแ่ี ออดั เกินไป 110
กระทรวงการตา่ งประเทศ ภารกจิ (Ministry of Foreign Affairs) ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตรส์ ร้างคนสรา้ งเครอื ข่าย - เวียดนามเปิดความสัมพันธ์กับ ทกุ ประเทศทตี่ ้องการมิตร - การสรา้ งคนทก่ี ระทรวงการตา่ งประเทศ ได้ดำ�เนินอยู่ คือ การเปิดสถาบัน ทางการทูตของเวียดนาม (The Diplomatic Academy of Vietnam) ท่ีมีการสอนตง้ั แต่ระดับปรญิ ญาตรี ถงึ ปรญิ ญาเอก ฯลฯ กระทรวงการคลงั ภารกจิ (Ministry of Finance) การกู้เงินเพื่อมาพัฒนาประเทศเป็น ยุทธศาสตร์ เรื่องธรรมดา แต่สำ�หรับประเทศที่ กู้ต้องมีวินัยทางการเงินและต้องคิด ยุทธศาสตร์หน้ีสาธารณะและหน้ีกู้ วิธีการหาเงนิ คนื ซึง่ เป็นหนา้ ท่ีของ จากต่างประเทศของชาติในช่วงปี กระทรวงการคลงั ทต่ี อ้ งคอยก�ำ กบั ซงึ่ พ.ศ. 2554 – 2563 และวิสยั ทศั น์ จะยกมาเป็นตวั อย่างดังน้ี พ.ศ. 2573 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม 111
ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ 112 - เงินกู้ภายในประเทศหรือต่าง ป ร ะ เ ท ศ ส า ม า ร ถ ใ ช้ คื น เ งิ น งบประมาณท่ีใช้ เ กิ น ไ ป ไ ด้ แ ล ะ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ที่ จ ะ ล ด ค่ า ใช้จ่าย ส่วนท่ีเกินไป(รวมถึงพันธบัตร รฐั บาล) ให้ต�่ำ กว่ารอั ยละ 4.5 ของ GDP ในปี พ.ศ. 2558 และร้อยละ 4 ของ GDP ในปี พ.ศ. 2559 ถงึ พ.ศ. 2563 และรอ้ ยละ 3 ของ GDP หลงั ปี พ.ศ. 2563 - พนั ธบตั รรฐั บาลควรจะลงทนุ ในดา้ น การขนส่ง การชลประทาน ด้าน สาธารณสขุ และดา้ นการศกึ ษา รวมกนั มากที่สุดท่ี 225 ลา้ นลา้ นด่อง ในปี พ.ศ. 2554 – 2558 และใช้เฉล่ยี ปี ละ 45 ล้านล้านด่อง การใช้เงนิ รวม สงู สุดในชว่ ง พ.ศ. 2559 – 2563 ท่ี 500 ล้านล้านดอ่ ง ซ่ึงเงนิ จำ�นวน น้ใี ช้ 350 ล้านล้านดอ่ งในการลงทนุ พฒั นา และนำ�ไปกูเ้ งนิ ใหม่ ฯลฯ
กระทรวงยุตธิ รรม ภารกจิ (Ministry of Justice) - ให้การสนับสนุนด้านการค้า และ ยุทธศาสตร์ การพฒั นาในส่วนของผู้หญิง ชนเผ่า หรือชาติพันธุ์ส่วนน้อยโดยรวมถึง กระทรวงยุติธรรมเป็นผู้ลงนามใน กลมุ่ เปราะบางทด่ี อ้ ยโอกาสในทกุ ดา้ น การทำ�ยุทธศาสตร์ความร่วมมือใน ส่วนภาระกิจอ่ืนของกระทรวง การพัฒนาประเทศกับสหรัฐอเมริกา ยตุ ธิ รรมคอื ระหวา่ งปี พ.ศ.2557 - 2561 โดย - ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการ การทำ�งานรว่ มกบั รฐั สภา กระทรวง ให้เป็นไปตามกฎหมายอย่าง อตุ สาหกรรมและการค้า กระทรวง ถกู ตอ้ งเป็นธรรม การคลัง และกระทรวงวางแผนและ - คมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล การลงทนุ ตามท่ีกฎหมายไดก้ �ำ หนดไว้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม 113
กระทรวงแรงงาน ทหารผา่ นศกึ และสวสั ดิการสังคม (Ministry of Labour, War Invalids and Social Affairs) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ยทุ ธศาสตร์แหง่ ชาติในความเท่าเทยี ม ในปี พ.ศ. 2563 ทำ�ให้เกิดความ กันทางเพศในปี พ.ศ. 2554 – 2563 เท่าเทียมกันที่เป็นสาระสำ�คัญ ระหวา่ งหญิงและชาย ทม่ี ีพื้นฐาน ความน่าเชื่อถือในการได้โอกาส การมสี ่วนร่วม และผลประโยชน์ ในทางการเมอื ง เศรษฐกจิ วฒั นธรรม และสังคมท่ขี ยายตัวอย่างรวดเร็ว และการพฒั นาชาตอิ ยา่ งย่ังยนื 114
กระทรวงวฒั นธรรม การกฬี า และการท่องเท่ยี ว (Ministry of Culture, Sports and Tourism) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวในปี พ.ศ. - ในปี พ.ศ. 2563 การท่องเท่ยี วจะ 2563 และวสิ ยั ทัศน์ พ.ศ. 2573 เป็นรายได้พื้นฐานท่ีเป็นกุญแจ สำ�คัญของภาคเศรษฐกิจที่ทันสมัย อ ย่ า ง มื อ อ า ชี พ ท่ี สั ม พั น ธ์ กั บ โครงสร้างพ้ืนฐานทางเทคนิคแบบ เดียวกนั - ผลผลติ ทางการทอ่ งเทย่ี วมคี ณุ ภาพสูง มีความหลากหลาย และมีชื่อเสียง - เติมเต็มเอกลักษณ์ของชาติท่ี สามารถนำ�ไปแข่งขันเปรียบเทียบ ได้ทั้งในภมู ิภา ค แ ล ะ โ ล ก ในปี พ.ศ. 2573 ประเทศเวียดนามจะ เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ พั ฒ น า ภ า ค การท่องเที่ยวแล้ว ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม 115
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและการฝกึ อบรม ภารกิจ (Ministry of Education and Training) ยุทธศาสตร์ ประเทศเวียดนามมียุทธศาสตร์การ - เปลีย่ นแปลงจากปริมาณสูค่ ุณภาพ พัฒนาการศกึ ษาปี พ.ศ. 2554 – 2563 การศกึ ษาทีด่ ีกว่า เ ป็ น โ ค ร ง ร่ า ง ท่ี ยั ง ไ ม่ ป ร ะ ก า ศ ต่ อ - จัดการศึกษาให้เด็กประถมและ สาธารณะ แต่มีแผนการจดั การศึกษา มัธยมต้นไดท้ ว่ั ทั้งหมด เพ่ือทุกคนจากปี พ.ศ. 2543 – 2558 - ให้โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชวี ิต - การมสี ว่ นรว่ มของชุมชนอย่างเต็มท่ี - การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ที่น่าเชื่อถือ และการเปล่ียนแปลง ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิผล กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Health) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ - การสาธารณสุขที่ดี ที่ครอบคลุมถึง - ส่งเสริมบุคลากรในการศึกษาดูงาน สขุ ภาพของประชาชนโดยรวม ด้านการแพทย์ในต่างประเทศ เพอ่ื นำ�มาปรบั ใช้ภายในประเทศ - ควบคมุ มาตรฐานดา้ นการสาธารณสขุ ใหม้ ีความเป็นสากล 116
กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Ministry of Science and Technology) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็น ร่วมรับผิดชอบในการทำ�ยุทธศาสตร์ ฐานของแรงการขับเคลื่อนใน การพัฒนาที่ย่ังยืนของเวียดนามในปี การพัฒนาแบบยั่งยืน ทันสมัย พ.ศ. 2554 – 2563 สะอาดและเป็นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยีต่างๆควรจะกระจาย ให้กว้างในการประยุกต์ใช้สนาม กระทรวงความมัน่ คงสาธารณะ การสรา้ งการผลิต (Ministry of Public Security) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ กระทรวงความมน่ั คงสาธารณะ รว่ มมอื - ภารกิจให้ความร่วมมือกับUNODC กบั ส�ำ นกั งานยาเสพตดิ และอาชญากรรม โ ด ย ก ร ะ ท ร ว ง ค ว า ม ม่ั น ค ง แหง่ องคก์ ารสหประชาชาติ (UNODC) สาธารณะที่กำ�กับตำ�รวจ ต้องใช้ ทำ�ยุทธศาสตร์การควบคุมยาเสพติด การปฏิบัติการทางกฎหมาย จนถงึ พ.ศ. 2563 ในการจัดการด้านการค้ายาเสพติด รวมทั้งการกระจายการยกระดับ ก า ร ต่ อ ต้ า น ย า เ ส พ ติ ด แ ล ะ อาชญากรรม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม 117
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม (Ministry of Natural Resources and Environment) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง - เพิ่มการเติบโตอย่างเป็นมิตรกับ แวดล้อมได้กำ�หนดยุทธศาสตร์การ สง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ หมายถงึ ความส�ำ เรจ็ เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในเศรษฐกิจ โดยการลดคาร์บอนฯ แห่งชาติ เพื่อรองรบั การเปลย่ี นแปลง และเป็นการเพิ่มทุนธรรมชาติ ของภูมอิ ากาศ พ.ศ. 2555 – 2563 ซึ่งเป็นทิศทางของหลักเกณฑ์ใน การพัฒนาเศรษฐกจิ อยา่ งยงั่ ยืน - การลดก๊าซเรือนกระจก และเพิ่ม ความสามารถในการซึมซับก๊าซ เรอื นกระจก ที่เป็นหน้าท่ีอย่าง ค่อยเป็นคอ่ ยไป และเปน็ เครอ่ื งชว้ี ดั สำ�คัญในการพฒั นาเศรษฐกิจสังคม - สร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจ การลดคาร์บอน และสร้างความ เปน็ มติ รกับธรรมชาติในประเทศ - ร่วมกับชุมชนนานาชาติใน ก า ร ล ด ก๊ า ซ เรือกระจกและ การพัฒนา 118
ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ทย่ี ง่ั ยนื - ทำ�ให้ก๊าซเรือนกระจกเบาบางลง ตามเปา้ หมายของปี พ.ศ. 2563 ดงั น้ี - จากดา้ นพลงั งานรอ้ ยละ 8 (ตามฐานปี พ.ศ. 2548) - จากด้านการเกษตรร้อยละ 20 - จากการการใช้ที่ดิน การเปลย่ี นแปลงการใช้ที่ดิน และการปา่ ไมร้ อ้ ยละ 20 - จากการก�ำ จดั ของเสยี รอ้ ยละ 5 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม 119
กระทรวงข้อมลู และการสอื่ สาร (Ministry of Information and Communications) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ยุทธศาสตร์การยกระดับ IT ของ - เพม่ิ รายไดร้ วมจากภาค IT ในอตั รา ประเทศในปี พ.ศ. 2563 รอ้ ยละของ GDP ระหวา่ งรอ้ ยละ 17 ถึงร้อยละ 20 และในระยะยาวเพิ่ม กระทรวงกิจการภายใน การขยายตวั ของภาคขอ้ มลู การส่อื สาร (Ministry of Home Affairs) โดยจะเพิ่ม GDP ให้อยรู่ ะหว่าง รอ้ ยละ 20 ถงึ รอ้ ยละ 23 ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงกจิ การภายใน - ให้การศึกษาแก่เยาวชนให้มีความ ในปี พ.ศ. 2554 – 2563 มีดงั นี้ รกั ชาติ มอี ดุ มการณ์ เปน็ นกั ปฏวิ ตั ิ - สร้างเยาวชนในอีกรนุ่ อายใุ หเ้ ปน็ มศี ีลธรรม วิถีชีวิตแห่งชาติ และ ผทู้ ่ไี ด้รับการพัฒนาความหยั่งรู้ ความนบั ถอื ตวั เอง เคารพและเขา้ ใจ มีความรักชาติสูง มีความชำ�นาญ การปกครองโดยกฎหมาย และ เยี่ยงนักปฏิวัติที่มีศีลธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้ง เปน็ ประชาชนที่ต่ืนตัวในอดุ มคตขิ อง ความนับถือชุมชน ทั้งนี้กระทรวง สังคมนิยม มีการศึกษา และ ความมั่นคงภายในมปี ระมวล ความชำ�นาญในทักษะดา้ นต่างๆ ทต่ี ้องทำ�ดังนี้ 120
ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ - ยกระดับการศึกษา ใช้ภาษาอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ มที กั ษะความช�ำ นาญ มีฝีมือ และความเปน็ มอื อาชพี ทส่ี นอง ความต้องการการพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คมของประเทศ - ให้การฝึกอบรมท่ีสำ�คัญและพัฒนา แรงงานเยาวชนใหม้ คี ณุ ภาพ รวมทง้ั การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาประเทศ - ฝกึ อบรม ใหก้ ารศกึ ษา มอบหมายงาน ให้ทำ�และใหค้ ณุ คา่ เยาวชนทม่ี คี วามเกง่ และพัฒนาคุณภาพเยาวชนท่ไี ด้ผ่าน การคดั เลอื กเขา้ มาแลว้ - การปรบั ปรงุ ดา้ นสขุ ภาพ ในดา้ นรา่ งกาย ที่แข็งแรงสุขภาพจิตที่ดีเพอ่ื เยาวชน ในอีกรุ่นอายุสามารถเรียนรู้และ ฝึกอบรมได้ด้วยตนเองมีเครอ่ื งมอื ทด่ี ี ส�ำ หรบั ทกั ษะชวี ติ ทย่ี ง่ั ยนื สามารถน�ำ ไป ปรับใช้และประสบความสำ�เร็จใน การด�ำ เนนิ ชวี ติ ทม่ี คี วามไมแ่ นน่ อนและ สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สง่ิ แวดลอ้ มใน การท�ำ งาน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม 121
5.2 หนว่ ยงานหลกั ทร่ี บั ผดิ ชอบงานทเ่ี กยี่ วกบั ASEAN ประเทศเวยี ดนามใหค้ วามส�ำ คญั กบั ภารกจิ อาเซยี น โดยจดั ตง้ั ใหห้ นว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบดแู ลงานเกย่ี วกบั อาเซยี น แบง่ ไดต้ ามตาราง ต่อไปน้ี หนว่ ยงาน ความรบั ผดิ ชอบ กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า - เป็นผู้แทนในการเจรจาขจัด มาตรการทางการค้าระหว่าง ประเทศ ที่มิใช่ภาษีในอาเซียน - เ ป็ น ผู้แ ท น ใ น ก า ร เจ ร จ า จั ด ทำ � และดำ�เนินการด้านการอำ�นวย ความสะดวกทางการคา้ ของอาเซยี น - เป็นผู้แทนในการเจรจาเปิดเสรี ด้านการค้าและการบริการ ซึ่ง มีเป้าหมายการลดข้อกีดกันใน ก า ร เ ปิ ด เ ส รี ก า ร ค้ า บ ริ ก า ร รวมถงึ การดแู ลด้านการเคลอ่ื นยา้ ย บคุ ลากรในภูมิภาคอาเซียน - สนับสนุนการดำ�เนินงานด้านต่างๆ ท่ีเก่ียวกับอุตสาหกรรมภายใน ประเทศเ พ่ือ ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น การเป็นประเทศอุตสาหกรรม ภายใน พ.ศ. 2563 122
หนว่ ยงาน ความรบั ผดิ ชอบ กระทรวงการวางแผนและการลงทุน - เป็นผู้แทนในเข้าร่วมประชุมคณะ ผู้เช่ียวชาญอาเซียนด้านนโยบายใน การลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก - สรุปและรายงานผลการลงทุน ภายในอาเซียน เพื่อจัดทำ�แผนการ สง่ เสรมิ การลงทนุ โดยเฉพาะส�ำ หรบั อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เพอ่ื ให้ สอดคล้องกับเป้าหมายประเทศ ในการเป็นประเทศอุตสาหกรรม - ส่งเสริมเครือข่ายในการลงทุน ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน - ให้การสนับสนุนด้านการลงทุน ต่อประเทศสมาชิกอาเซียนใน การเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรม ขนาดใหญภ่ ายในประเทศเวยี ดนาม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม 123
หนว่ ยงาน ความรบั ผดิ ชอบ กระทรวงการคลงั - เป็นผู้แทนร่วมกับธนาคารชาติ เวียดนามในการเข้าร่วมประชุม รัฐมนตรีคลังอาเซียน - เป็นผู้แทนการเจรจาเก่ียวกับ ผลประโยชน์ต่างๆ ในด้านภาษีที่ เกี่ยวข้องกับนโยบายอาเซียน - ควบคมุ และดแู ลการด�ำ เนนิ นโยบาย ก า ร เ งิ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ือ ใ ห้ สอดคล้องกับนโยบายของอาเซียน - ปรบั ปรงุ นโยบายการคลงั เพอ่ื รกั ษา เสถยี รภาพทางการเงนิ ของประเทศ 124
หน่วยงาน ความรบั ผดิ ชอบ ธนาคารชาตเิ วียดนาม - เป็นผ้แู ทนร่วมกับกระทรวงการคลัง ในการดำ�เนินงานด้านความร่วมมือ กระทรวงการต่างประเทศ ทางการเงินตามกรอบประชุมของ รฐั มนตรคี ลงั อาเซยี น - เจรจาและก�ำ กบั ดแู ลการเปดิ เสรีด้าน เงินทุน ตามหลักการที่อาเซียนได้ ก�ำ หนดไว้ - เป็นผู้แทนการเจรจาในประเด็น เรอ่ื งขอ้ จ�ำ กดั ในการเคลอ่ื นยา้ ยทนุ - ปรบั ปรงุ นโยบายในการควบคมุ อตั รา เงินเฟ้อ เพอ่ื รองรับนโยบายด้าน การเงนิ ระหวา่ งประเทศสมาชกิ - เป็นผู้แทนในการเข้าประชุมด้าน นโยบายในการรวมกล่มุ ของอาเซียน และการประชมุ รฐั มนตรตี า่ งประเทศ อาเซียน เพอ่ื น�ำ นโยบายมาปรับใช้ ในการพฒั นาการทย่ี ง่ั ยนื ของประเทศ สมาชกิ ภายในอาเซยี น - อำ�นวยความสะดวกในการออกวีซ่า ส�ำ หรบั แรงงานมฝี มี อื และผปู้ ระกอบ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม 125
หน่วยงาน ความรบั ผดิ ชอบ วิชาชีพในอาเซียนเพ่ือตอบรับกับ นโยบายด้ า น ก า ร เ ค ล่ือ น ย้ า ย ฝีมือแรงงานในอาเซียน - ปรับปรุงนโยบายในการอำ�นวย ความสะดวกในการออกวีซ่าท่องเท่ียว สำ�หรับประชากรในกลุ่มประเทศ สมาชกิ ใหม้ คี วามสะดวก และรวดเรว็ ยง่ิ ขน้ึ กระทรวงแรงงาน ทหารผ่านศกึ - เปน็ ผแู้ ทนเขา้ รว่ มประชมุ กบั รฐั มนตรี และสวัสดิการสังคม แรงงานของอาเซยี น - อำ�นวยความสะดวกในการออก ใบอนุญาตทำ�งานสำ�หรับวิชาชีพ เชย่ี วชาญเฉพาะ - ดำ�เนินการปรับปรุงนโยบายด้าน สวัสดิการสังคม เพื่อดึงดูดแรงงาน ไร้ฝีมือกลับคืนสู่ประเทศ เพอ่ื เปน็ ก�ำ ลงั ในการพฒั นาประเทศใหเ้ ทา่ ทนั ประเทศสมาชกิ อาเซยี นอน่ื ๆ 126
หนว่ ยงาน ความรับผิดชอบ กระทรวงวัฒนธรรม การกีฬา และ - เป็นผู้แทนเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรี การทอ่ งเที่ยว ทอ่ งเทย่ี วอาเซยี น - ส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรม ของชาตเิ พอ่ื สรา้ งเอกลกั ษณท์ ่ี ชดั เจนของประเทศเพื่อให้ประเทศ มีความมน่ั คงไมถ่ กู กลนื ทางวฒั นธรรม กบั ประเทศสมาชกิ อน่ื ในอาเซยี น - ดำ�เนินการตามแผนในการรวม กลมุ่ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วของอาเซยี น - เร่งดำ�เนินการในการบูรณะสถานที่ ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ซึ่งถือ เป็นหนึ่งในนโยบายการส่งเสริม การทอ่ งเทย่ี ว เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ ม ในการเปิดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวียดนาม 127
หนว่ ยงาน ความรับผิดชอบ กระทรวงการขนส่ง - เป็นผู้แทนในการเข้าร่วมประชุม รฐั มนตรดี า้ นการขนสง่ ของอาเซยี น - จัดทำ�ความร่วมมือภายในอาเซียน ด้านการขนส่ง - ด�ำ เนินการตามขอ้ ตกลงว่าด้วยการ อำ�นวยความสะดวกในการขนส่ง สินค้าผ่านแดน - ด�ำ เนนิ การตามความตกลงพหภุ าคี อาเซียนว่าด้วยการให้บริการ ทางการขนส่งทางบกทางเรือและ ทางอากาศ 128
หนว่ ยงาน ความรับผิดชอบ กระทรวงเกษตรและพฒั นาชนบท - เป็นผู้แทนหลักเข้าร่วมประชุม รัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้ของ อาเซียน - ดำ�เนินการในการปรับลดภาษี สินค้าด้านการเกษตรระหว่าง ประเทศสมาชิก - ปรับระดับปริมาณสารตกค้าง สู ง สุ ด ที่ ย อ ม รั บ ไ ด้ ข อ ง ย า ปราบศัตรูพืช ในการผลิตสินค้า เกษตรตามนโยบายอาเซียน เพื่อ สนับสนุนการส่งออกสินค้า เกษตรระหว่างประเทศสมาชิก - ปรับมาตรฐานด้านความปลอดภัย และคณุ ภาพผลิตภัณฑ์พชื สวนและ ผลติ ภณั ฑเ์ กษตร เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐาน ตามหลักสากล และอาเซียน - สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิด สหกรณ์การเกษตรของอาเซียน ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม 129
หน่วยงาน ความรบั ผดิ ชอบ กระทรวงศึกษาธิการและ - เป็นผู้แทนในการเจรจาด้าน การฝึกอบรม การศกึ ษา - ประสานและส่งเสริมการดูงาน 130 ด้านการศึกษาในประเทศสมาชิก อาเซยี น - พฒั นาคณุ ภาพการฝกึ อบรมระยะสน้ั ของเจา้ หนา้ ทด่ี า้ นตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั อาเซยี น - พัฒนาการศึกษาภายในประเทศ โดยให้ความสำ�คัญและยกย่อง อาชีพครูให้เป็นหน่ึงในอาชีพท่ีมี คุณค่าสำ�หรับประเทศ เพื่อให้ สามารถผลิตบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถในการพัฒนา ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ มี ค ว า ม ทั ด เ ที ย ม ประเทศสมาชกิ อน่ื ๆ ในอาเซยี น - สนับสนุนการศึกษาต่อในต่าง ประเทศ โดยเฉพาะประเทศใน สมาชิกอาเซียน เพื่อความเข้าใจ อยา่ งลกึ ซง้ึ ตอ่ วฒั นธรรมตา่ งๆ ใน ประเทศสมาชกิ
6 ระบบการพัฒนา ขา้ ราชการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม 131
6.1 ภาพรวมของการพฒั นาขา้ ราชการ หน่วยงานในภาคราชการของเวียดนามมีเป้าหมายอย่างชัดเจน ในการเช่ือมโยงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับการปฏิรูป ระบบเศรษฐกิจโดยใช้กลไกตลาด รวมทั้งการมุ่งสู่ประเทศที่มีรายได้ ปานกลาง ดงั น้ันการเชอ่ื มโยงเป้าหมายสว่ นบุคคลเข้ากบั เป้าหมายของ องคก์ ารจงึ เป็นส่งิ ท่ีรฐั ให้ความสำ�คัญเป็นอย่างยิง่ การพฒั นาทรพั ยากร มนุษย์ในเวียดนามจึงมิใช่เพียงแต่การพัฒนาในระดับบุคคลเพียงด้าน เดียว แต่ยังเป็นการพัฒนาภาพรวมในระดับองค์การให้สอดคล้องกับ เปา้ หมายหลักของประเทศเปน็ ส�ำ คญั 6.2 วิธพี ฒั นาข้าราชการ 6.2.1 ระบบการพฒั นาขา้ ราชการ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระบบข้าราชการมีจุดเร่ิมต้น มาจากความพยายามของเวียดนามที่จะปฏิรูปการบริหารงานใน ภาครฐั (Public Administration Reform) ใหส้ อดคล้องกับการปฏริ ปู ระบบเศรษฐกจิ ภายใตน้ โยบายโดย่ เหมย (Doi Moi) ด้วยวตั ถปุ ระสงค์ ท่ีจะเปลี่ยนจากระบบวางแผนโดยส่วนกลางไปสู่การใช้ระบบเศรษฐกิจ แบบกลไกตลาดมากขึ้น โดยมีเป้าหมายจะเป็นประเทศที่มีรายได้ใน ระดบั ปานกลาง ถงึ แมเ้ วยี ดนามจะประสบความส�ำ เร็จในการเปน็ ประเทศ ที่มีรายได้ปานกลาง แต่เวียดนามยังจะต้องเผชิญกับความท้าทาย ใหมๆ่ เช่น การปรบั ลดลงของระดับความช่วยเหลือ ความคาดหวงั ที่ 132
สูงขึ้นของประชากร และการต้องแข่งขันในระดับโลกกับประเทศที่มี รายไดร้ ะดบั ปานกลางเช่นกนั จึงจ�ำ เป็นตอ้ งแน่ใจว่าระบบข้าราชการ พลเรอื น ประชากร และทรัพยากรของเวยี ดนามมคี วามสอดคล้องกบั จุดประสงค์ในการบริหารระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ซง่ึ เป็นท่ีมาของ แนวคิดทีจ่ ะปฏิรูประบบขา้ ราชการพลเรือนใหม้ ีความทันสมยั โดยการ เปล่ียนจากข้าราชการระบบการเติบโตตามสายอาชีพไปสู่ระบบการ เติบโตตามต�ำ แหนง่ [40] การเตบิ โตตามสายอาชพี ซง่ึ เปน็ ระบบทข่ี า้ ราชการจะถกู คาดหวงั ใหอ้ ยใู่ นระบบตลอดชวี ติ การท�ำ งาน การเขา้ ท�ำ งานพจิ ารณาจากคณุ วฒุ ิ ทางการศึกษาหรือการสอบเข้า เมื่อรับคนเข้ามาใหม่จะถูกวางตัว ลงในตำ�แหน่งใดตำ�แหน่งหนึ่งตามแต่องค์การจะพิจารณา ซึ่งลักษณะนี้ รวมไปถึงการย้ายคนข้ามหน่วยงานหรือข้ามสายงาน การเลื่อนขั้น สู่ตำ�แหน่งที่สูงขึ้นใช้รูปแบบของระดับ (Grades) ของแต่ละบุคคล มากกว่าเรื่องของสายงาน ลักษณะเด่นชัดคือความเป็นไปได้น้อย ที่จะเข้างานกลางคัน หรือพัฒนาความสามารถของตนในงานนั้นๆ ไปสู่ระบบการเติบโตตามตำ�แหน่ง ซึ่งเป็นระบบที่จะพบได้ในประเทศ ที่ตื่นตัวเรื่องการปฏิรูประบบราชการในช่วง 2 ทศวรรษที่ผา่ นมา ได้แก่ แคนาดา ไอซ์แลนด์ นิวซีแลนด์ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร เป็นต้น โดยระบบนี้จะมุ่งเน้นที่การเลือกบคุ คล ที่เหมาะสมที่สุดมาทำ�หน้าที่ไม่ว่าจะเป็นการรับบุคคลภายนอก หรอื เลอื่ นระดบั จากในองค์การเอง ซึ่งระบบน้ีจะเปิดกว้างมากกว่า[12] ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม 133
ระบบข้าราชการของเวียดนามเดิมเป็นระบบการเติบโต ตามสายอาชีพซึ่งแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม (Grades) คือ กลุ่ม A ผเู้ ช่ยี วชาญอาวุโส (Senior Expert) กลุม่ B ผ้เู ชี่ยวชาญหลัก (Princi- ple Expert) กลุ่ม C ผู้เชยี่ วชาญ (Expert) กลุม่ D ต�กวา่ ผู้เช่ยี วชาญ (Below Expert) การเลื่อนตำ�แหน่งเป็นไปตามระดับอาวุโสและ การเลื่อนตำ�แหน่ง โดยทั่วไปใช้เวลา 9 ปีในการเลื่อนตำ�แหน่ง จากผู้เชี่ยวชาญไปเป็นผู้เชี่ยวชาญขั้นต้น และ 6 ปีจากผู้เชี่ยวชาญ ข้นั ตน้ ไปเปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญอาวุโส [40] การท่เี วียดนามได้เร่มิ ปฏิรูปจากระบบการเติบโตตามสายอาชีพ มาเป็นการเติบโตตามตำ�แหน่งเพ่ือให้สอดคล้องกับการปฏิรูป การบริหารงานในภาครัฐ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและ เ ส ริ ม ส ร้ า ง เ ส ถี ย ร ภ า พ ท า ง ก า ร เ มื อ ง บ น พ้ื น ฐ า น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ที่มากขึ้นจะอำ�นวยความสะดวกให้ระบบราชการเกดิ ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลมากขน้ึ โดยการปฏิรูปมาสู่ระบบดังกล่าว จะเกี่ยวข้อง กับระบบการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ใน 3 ส่วนหลักๆ คอื การสรรหา(Recruitment) การบรหิ ารจดั การผลการปฏบิ ตั งิ าน(Performance Management) และการบรหิ ารคา่ ตอบแทน (Compensation and Incentive) ซึ่งหากการปฏิรูปในทั้ง 3 ระบบประสบความสำ�เร็จจะช่วยเพิ่ม การเสริมส ร้ า ง ป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ ใ น ก า ร ส ่ ง ม อ บ ผ ล ง า น ข อ ง ร ะ บ บ ข้าราชการ[23] ซึ่งการนำ�ระบบการเติบโตตามตำ�แหนง่ มาใช้ จะทำ�ให้ เกิดการกระจายอ�ำ นาจมากย่งิ ข้นึ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ จะให้ความสำ�คัญ กับความสามารถของผู้ทจี่ ะสอบเขา้ มาในต�ำ แหน่งตา่ งๆ โดยเปดิ โอกาส 134
ให้สามารถสอบเข้าได้ในระดับกลางและสูง ไม่จำ�เป็นต้องเลื่อนขั้น ตามความอาวโุ ส ความเช่ยี วชาญในทักษะถอื เปน็ ปัจจยั ส�ำ คญั ท่มี คี ณุ ค่า ในระบบดังกล่าว ซ่งึ อาจเรยี กได้ว่าเป็นระบบราชการทมี่ ีความทันสมยั และยืดหยุ่น แต่อย่างไรก็ตามการนำ�ระบบดังกล่าวมาใช้จะส่งผลให้ เกดิ การเปล่ียนแปลงตอ่ ระบบงานทรัพยากรมนษุ ยเ์ ป็นอย่างยิ่ง เพราะ การท่ีเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถสอบเข้าโดยไม่จำ�เป็นต้อง เรม่ิ งานในระดบั ตน้ แตส่ ามารถเขา้ สตู่ �ำ แหนง่ ในระดบั กลางและระดบั สงู ได้เลยนั้น ล้วนมีทั้งข้อดีและข้อเสียกล่าวคือ ข้อดีเป็นการกระจาย อำ�นาจ เปิดโอกาสให้ผู้มีความสามารถเข้าสู่ระบบราชการ ยืดหยุ่น จูงใจผู้มีความสามารถให้ขึ้นสู่ระดับสูง แตใ่ นขณะเดยี วกันกม็ ขี อ้ เสีย คืออาจทำ�ให้พนักงานเดิมขาดขวัญและกำ�ลังใจในการท่ีจะได้รับความ กา้ วหน้าในต�ำ แหน่ง ร้สู กึ ขาดความม่นั คง เปน็ ต้น ดังนนั้ การให้ความ รู้และพัฒนาทักษะพนักงานเดิมให้มีความสามารถทัดเทียมจนสามารถ แขง่ ขนั กบั บคุ คลภายนอกได้ จงึ เปน็ สง่ิ ทส่ี �ำ คญั อยา่ งยง่ิ กบั ระบบดงั กลา่ ว 6.2.2 วธิ กี ารพฒั นาขา้ ราชการ วิธีการพัฒนาข้าราชการของเวียดนามเริ่มใช้ระบบการบริหาร ผลการปฏบิ ตั ิงาน (Performance Management) เนือ่ งจากการ ปฏริ ปู ระบบราชการโดยแนวคิดการเตบิ โตตามตำ�แหนง่ ท�ำ ให้การขบั เคลือ่ นมขี อ้ กงั วลทีว่ า่ รปู แบบการบรหิ ารภาครัฐแบบดงั้ เดมิ แมม้ ุ่งเนน้ ไปทต่ี วั บุคคลและความสำ�เรจ็ ขององค์การ แต่ไม่ไดใ้ ห้ความสนใจระบบ ทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ กดิ ความส�ำ เรจ็ อยา่ งแทจ้ รงิ ซึ่งภายหลังทั้งรัฐบาล ท้องถิ่น ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม 135
และองค์การระหว่างประเทศที่ให้ความชว่ ยเหลอื เรม่ิ ทจ่ี ะใหค้ วามสำ�คัญ กบั ระบบการบรหิ ารผลการปฏบิ ตั งิ าน (Performance Management) มากยง่ิ ขน้ึ จากการสนบั สนนุ ให้ประเทศที่กำ�ลังพัฒนามีการสร้างระบบ บริหารผลการปฏบิ ตั งิ านของเวียดนามเอง การวัดผลการปฏิบัติงาน ถูกให้คำ�จำ�กัดความว่าเป็นการสังเกต ติดตามการดำ�เนินงานและ ผลลัพธ์อย่างระมัดระวังและสม่ำ�เสมอโดยใช้ระบบการเก็บข้อมูล ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานหรือการจัดการผลลัพธ์ ใชก้ ารเกบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื พสิ จู นก์ ารบรรลเุ ปา้ หมายในการชี้วัดความคืบหน้า ของเป้าหมายแผนงานและหน่วยงาน จดุ ประสงคห์ ลกั ของการวดั ผลงานคอื เพอ่ื น�ำ ไปใชใ้ นการพฒั นา จดุ ประสงคอ์ น่ื ๆ ไม่วา่ จะเปน็ การเพิม่ ความรบั ผิดชอบในงาน การส่อื สาร การตดั สนิ ใจในการใชง้ บประมาณอยา่ งเหมาะสม และการสรา้ งแรงจงู ใจ ให้แก่พนกั งาน ลว้ นแลว้ แต่เพื่อบรรลุวตั ถปุ ระสงคห์ ลักดงั กล่าวทง้ั สิ้น ระบบบริหารผลงานปฏิบัติงานในอดีตของเวียดนาม ต้องมีการจัดระบบใหม่ เพื่อให้มีความเหมาะสม เกิดประสิทธิภาพ เพอ่ื ใหส้ ามารถตดิ ตามผลการปฏบิ ตั งิ าน และสรา้ งความสอดคลอ้ งระหวา่ ง ผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจส่วนบุคคลกับเป้าหมายองค์การ ระบบ การบริหารผลงานส่วนบุคคลถูกนำ�มาใช้ เพื่อให้มีการตั้งเป้าหมาย ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในงานและมีการติดตาม พัฒนา ปรับปรุง ผลงาน รวมไปถึงสนับสนุนเป้าหมายของหน่วยงานอย่างชัดเจน ซึ่ ง ก า ร ป ฏิ รู ป ดั ง ก ล่ า ว รั ฐ บ า ล เ วี ย ด น า ม ตั้ ง เ ป้ า ห ม า ย ที่ จ ะ ส ร้ า ง ความแข็งแกร่ง ความเป็นมืออาชีพ ระบบบริหารภาครัฐที่ก่อให้เกิด ประสทิ ธิภาพและมีประสิทธผิ ล ซ่ึงเป้าหมายดงั กล่าวต้องอาศยั กลยุทธ์ 136
การบรหิ ารผลการปฏบิ ตั งิ านทช่ี ดั เจนและมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถ ประเมินความทุ่มเทของข้าราชการต่อเป้าหมายขององค์การได้ ซึ่งกฎหมายและพระราชบัญญัติเดิมท่ีมีอยู่ได้มีบทบัญญัติท่ีกล่าวถึง การประเมินผลการปฏิบัติงานส่วนบุคคลของข้าราชการ แต่ยงั ขาด การเชื่อมโยงกับระบบการขึ้นเงินเดือนและการออกแบบให้เหมาะสม กั บ ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง ง า น แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น แ ต่ ล ะ ตำ � แ ห น่ ง โดยเฉพาะ ซึ่งถือเป็นความท้าทายที่จะปฏิรูประบบการบริหาร ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง เ วี ย ด น า ม ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ แ ต่ ล ะ ตำ � แ ห น่ ง ง า น เ พื่ อ ท่ี จ ะ ใ ห้ มั่ น ใ จ ว่ า ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ผลการปฏิบัติงานดังกล่าวจะประสบความสำ�เร็จภายใต้บริบท ของระบบขา้ ราชการเวยี ดนาม ระบบบรหิ ารผลงานของเวยี ดนามแบง่ การประเมนิ ออกเปน็ 3 ระดบั คอื • การประเมนิ ตนเอง ( Self A ssessment): การประเมนิ ตนเอง ท้ังในด้านการบรรลเุ ปา้ หมายและความคบื หนา้ • การประเมนิ โดยเพือ่ นร่วมงาน (Peer Review): ผลการ ประเมินจะถูกนำ�มาอภิปรายและมีการนำ�เสนอต่อเพื่อนร่วมงาน โดย จะมีการพิจารณาและโหวต แตจ่ ะไม่มีการระบุชอื่ และจะใชผ้ ลตาม ฉนั ทามติ • การประเมนิ โดยหวั หนา้ งาน (Evaluation by Immediate Supervisor): ผู้บังคับบัญชาโดยตรงจะเป็นผู้พิจารณาในขั้นสุดท้าย กรณีที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันผู้บังคับบัญชาจะเป็นผู้ตัดสินใจ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม 137
โดยความถี่ในการประเมินขึ้นอยู่กับแต่ละหน่วยงาน อาจจะ เป็นปีละครั้งหรือสองครั้ง ซึ่งเพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิรูประบบ ราชการ งานวิจัยเรื่องการนำ�ระบบการเติบโตตามตำ�แหน่งมาใช้ใน ระบบข้าราชการเวียดนาม[23] ได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏริ ูป ระบบบริหารผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับระบบการเติบโตตาม ต�ำ แหน่ง ไวด้ งั น้ี 1. มอบหมายความรับผิดชอบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ในระดับหน่วยงานมากขึ้น เนื่องจากระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ในปัจจุบันยังมีลักษณะรวมศูนย์อำ�นาจในแง่การวางเป้าหมาย ดังนั้น ในแต่ละหน่วยงานควรมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการออกแบบการบริหาร ผลการปฏิบัติงานในเชิงกลยุทธ์ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกับ เป้าหมายองค์การและสอดคล้องกับลักษณะงาน ซึง่ วิธีการดังกลา่ ว จะช่วยทำ�ให้ระบบบริหารผลการปฏิบัติงานที่เคยเน้นตามสายอาชีพ ได้เปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับระบบการเติบโตตามตำ�แหน่งมาก ข้ึน 2. เสรมิ สรา้ งความเชอ่ื มโยงระหวา่ งพนกั งานกบั ต�ำ แหนง่ เฉพาะ โดยใช้คำ�อธิบายเน้อื งานตามแนวทางของระบบการเติบโตตามตำ�แหน่ง การขาดคำ�อธิบายเนื้องานของระบบข้าราชการเวียดนามเป็น อุปสรรคหลักในการนำ�ไปสู่ระบบบริหารผลการปฏิบัติงานตามระบบ การเติบโตตามตำ�แหน่ง ซึ่งทุกหน่วยงานจะต้องอธิบายรายละเอียด และประมวลผลงาน หน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละตำ�แหน่งภายใน องค์การ โดยความรบั ผดิ ชอบและระดบั ของภาระงานที่ต้องวัดปริมาณ โดยเฉพาะเจาะจงกับตำ�แหน่งและเชื่อมโยงกับระดับเงินเดือน ทส่ี อดคล้องกบั ต�ำ แหน่งน้นั ๆ 138
3. เสริมสร้างการส่ือสารและความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง พนักงานและผู้บังคับบัญชาโดยตรงในทุกระดับขององค์การ โดย มุ่งเน้นการมีส่วนร่วม หากเกณฑ์ในการประเมินมีความชัดเจน มีการสื่อสารตกลงร่วมกัน โอกาสที่ผลงานจะเป็นที่น่าพึงพอใจก็จะ มีมากขึ้น เพื่อสนับสนุนให้พนักงานและผู้บังคับบัญชามีการพัฒนา เปา้ หมายรว่ มกนั โดยเชอ่ื มโยงกบั เปา้ หมายของหนว่ ยงานโดยตรง ตวั ชว้ี ดั ในการวัดความก้าวหน้าของเป้าหมายควรเป็นตัวชี้วัดเชิงปริมาณ และควรเป็นตัวชี้วัดเชิงคุณภาพที่ชัดเจนอีกด้วย พนักงานและ ผู้บังคับบัญชาควรมีข้อตกลงร่วมกัน ซึ่งไม่ใช่เฉพาะที่เกี่ยวกับความ รับผิดชอบและหน้าที่ของพนักงานเพียงเท่านั้น แต่ยังต้องระบุถึง ความต้องการของพนักงานในการพฒั นาทักษะ ความรู้ ความสามารถ ของพนักงานอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อตกลงด้านการพัฒนา พนักงานควรมีโอกาสได้รับการฝึกอบรมที่เหมาะสม สอดคล้องกับ การบริหารผลการปฏิบัติงานในแต่ละตำ�แหน่งโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ควรมีการกำ�หนดช่วงเวลาในการประเมินติดตามและพัฒนาผล การปฏบิ ัตงิ านท่ชี ัดเจน รวมทั้งมีการให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อการพัฒนา อย่างเป็นระบบอีกด้วย 4. เสริมสร้างการเชื่อมโยงผลงานระดับบุคคล กลุ่ม และ องค์การเข้าด้วยกัน ผู้บังคับบัญชาถือเป็นส่วนสำ�คัญที่ต้องเชื่อมโยง เป้าหมายส่วนบุคคลให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกลุ่มและองค์การ โดยการตง้ั เป้าหมายท่จี ะสง่ เสรมิ ให้องค์การบรรลเุ ป้าหมายอยา่ งแทจ้ รงิ ระดับบังคับบัญชาควรมีแผนงานและมีการประมวลเป้าหมายหลักของ องคก์ าร และเชื่อมโยงกับความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลในหน่วยงาน ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม 139
เพื่อที่จะผลักดันให้เกิดสมรรถนะที่สูงสุด ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ ระดบั กลมุ่ และ องค์การ 5. เปลย่ี นกลไกการประเมนิ ตนเองและทบทวนโดยเพอ่ื นรว่ มงาน ไปสเู่ คร่ืองมือในการตดิ ตามผลงานระดับบคุ คลและระดับกลมุ่ ควรจะ มีการพัฒนาระบบการประเมินตนเองในปัจจุบันให้กลายเป็นส่วนหนึ่ง ของการเช่อื มโยงความรับผดิ ชอบเขา้ กับแผนงาน และข้อตกลงในแตล่ ะ ระดบั ขององคก์ ารพนกั งานในแตล่ ะหนว่ ยงานยอ่ ยๆ ควรจะมกี ารจดั ท�ำ ร่างแผนงานประจำ�ปี ปลี ะครง้ั หรือ 2 ครั้ง ซงึ่ มีเปา้ หมาย เช่ือมโยง โดยตรงกับหน่วยงาน และการทบทวนผลงานโดยเพื่อนร่วมงาน ควรเปลย่ี นเปน็ การประชมุ หารอื เกี่ยวกบั แผนงานและผลการปฏบิ ตั งิ าน ของกลุ่มปีละครั้งหรือสองครั้งเช่นเดียวกัน เพื่อให้มีการพูดคุยถึง ความคืบหน้าในการมุ่งไปสู่เป้าหมาย รวมทั้งมีการติดตาม ตรวจสอบ เปา้ หมายกนั ภายในกลมุ่ 6. มีแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพให้กับพนักงานที่มี ผลการปฏิบัติงานต� โดยปกติควรมีการติดตามทบทวนผลการปฏิบัติ งานท่ีไม่เปน็ ท่ีนา่ พงึ พอใจในช่วง 6 เดอื น และ 12 เดือนของการจ้าง เพ่ือใหเ้ กดิ การตรวจสอบดำ�เนินการและรายงานผลงานทย่ี ังไมเ่ พียงพอ ต่อหน่วยงาน การเปิดโอกาสในการพูดคุยเพื่อให้เกิดการตั้งคำ�ถาม ในเชงิ การปรบั ปรงุ ผลการปฏบิ ตั งิ านเปน็ สง่ิ จ�ำ เปน็ อยา่ งยง่ิ ที่ผู้บงั คบั บญั ชา โดยตรงจะมีสทิ ธ์ิในการตักเตอื นถงึ ผลงานที่ไม่น่าพงึ พอใจ และในกรณี ท่ผี ลงานยังดำ�เนินไปในทิศทางเดิม ก็ควรมขี ัน้ ตอนชดั เจนท่จี ะนำ�ไปสู่ การปลดหรอื เลิกจา้ ง 140
7. มีการสร้างระบบการตรวจสอบระบบผลการปฏิบัติงาน และสรา้ งแรงจงู ใจใหก้ บั พนกั งานทม่ี ผี ลการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี เนอ่ื งจากรฐั บาล เวียดนามให้ความสำ�คัญกับการตรวจสอบและป้องกันการทุจริต จึงมี ระบบการตรวจสอบที่ชัดเจนโดยผู้ตรวจการรัฐ อย่างไรก็ตามเพื่อให้ แน่ใจว่าองค์การมีความเป็นเลิศการตรวจสอบ จึงไม่ควรนำ�มาใช้แค่ เพียงตรวจสอบผู้กระทำ�ผิด แต่ควรจำ�แนกผทู้ ี่มีผลการปฏิบตั ิงานทด่ี ี ได้ดว้ ย นอกจากนใ้ี นแตล่ ะองคก์ ารของรฐั ควรมแี นวทางในการจำ�แนก ความแตกต่างของกลุ่มพนักงานท่ีมีผลการปฏิบัติงานโดดเด่นและ ผลการปฏบิ ัติงานส่วนบุคคล โดยมีการใช้ช่องทางการสอ่ื สารท้ังภายใน และภายนอกประชาสัมพนั ธใ์ หพ้ นกั งานในองคก์ ารรับทราบ เช่น มีการ ชื่นชมพนักงานดีเด่นประจำ�เดือน หน่วยงานดีเดน่ ประจ�ำ เดือน หรือ มีการแข่งขันในระดับบุคคลและระดับทีมในการส่งข้อเสนอเพื่อการ พฒั นาประสิทธิภาพในหน่วยงาน เปน็ ต้น อาจกลา่ วสรปุ ไดว้ า่ ระบบบรหิ ารผลการปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการ เวียดนามรูปแบบใหม่ที่มีการปฏิรูปให้สอดคล้องกับระบบข้าราชการ แบบเตบิ โตตามต�ำ แหนง่ นน้ั ไดม้ งุ่ เนน้ การบรหิ ารผลการปฏบิ ตั งิ านเชงิ กลยทุ ธ์ มี ก า ร เช่ื อ ม โ ย ง เ ป้ า ห ม า ย อ ง ค์ ก า ร เข้ า กั บ เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ที ม แ ล ะ เปา้ หมายสว่ นบคุ คลอยา่ งชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ มกี ารสอ่ื สารตง้ั เปา้ หมายทช่ี ดั เจน ระหวา่ งผบู้ งั คบั บญั ชาและพนกั งาน ใชแ้ นวทางการบรหิ ารที่เฉพาะเจาะจง กับแต่ละตำ�แหน่งงานมากยิ่งขึ้น ผลักดันให้เกิดระบบในการจำ�แนก พนักงานท่มี ีความสามารถสงู และผลงานโดดเด่นจากพนักงานทั่วไปได้ อีกทั้งยังให้ความสำ�คัญกับการสร้างแรงจูงใจและการสร้างการยอมรับ และชื่นชมภายในองค์การ เพื่อผลักดันระบบข้าราชการให้ทันสมัย สร้างความพึงพอใจให้แก่ประชาชน และเป็นองค์การที่มีสมรรถนะ สูงสอดคล้องกับการปฏิรูปเศรษฐกจิ ตามนโยบายกลไกตลาดนนั่ เอง ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม 141
6.3 หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ นการพฒั นาขา้ ราชการ หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการพัฒนาข้าราชการเวียดนาม มหี ลายหน่วยงานดว้ ยกันดงั น้ี 6.3.1 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและการฝกึ อบรม เวียดนามเป็นประเทศที่ให้ความสำ�คัญกับระบบการศึกษาเป็น อนั ดบั หนง่ึ ในการพฒั นาประเทศ ดงั นน้ั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและการฝกึ อบรม (Ministry of Education and Training) ของเวยี ดนามจึงเปน็ กลไก หลักในการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยข์ องรัฐ รฐั บาลให้ความส�ำ คัญกบั การ ศึกษาและความสามารถในการอ่านเขียนของประชากรเป็นอย่างยิ่ง โดยมนี โยบายทใ่ี หค้ วามส�ำ คญั กบั การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และไมเ่ ฉพาะ การศกึ ษาในระบบ แตร่ ฐั บาลยงั ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งส�ำ หรบั ประชาชนทพ่ี ลาดโอกาสในสายสามญั และ สายอาชพี โดยความหมายของการศึกษานอกระบบที่เวยี ดนามให้นยิ ามไว้ คอื รูปแบบของการศกึ ษาท่สี ามารถช่วยทุกคนใหส้ ามารถทำ�งานและ เรยี นไปในเวลาเดียวกัน และสามารถเรยี นอย่างตอ่ เนอ่ื งได้ตลอดชีวติ ชว่ ยใหม้ บี ุคลกิ สมบูรณ์แบบ เพิม่ พนู ความรู้ ยกระดับวัฒนธรรม สรา้ ง ความเชย่ี วชาญ ชำ�นาญ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิต สามารถมีงานทำ�และ ประยกุ ตก์ บั สงั คมและการใชช้ วี ติ ได้ ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ า่ จากแนวคดิ ดงั กลา่ ว สะท้อนให้เห็นนโยบายเก่ียวกับการศึกษาของเวียดนามที่คำ�นึงถึง ประชาชนในทุกภาคส่วนและเปิดโอกาสในการเรียนรู้ท่ีมิใช่เพียงการ 142
เรียนรู้ตามระบบเพียงเท่านนั้ โดยรฐั บาลมงุ่ เน้นท่ีจะพัฒนาการศกึ ษา นอกระบบไปพรอ้ มกบั การศกึ ษาในระบบ โดยมกี ารตง้ั เปา้ หมายส�ำ หรบั การพฒั นาการศกึ ษานอกระบบภายในปี พ.ศ. 2558 ไว้ดงั นี้ 1) เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษามีโอกาส ประสบความสำ�เรจ็ ในระดบั ประถมหรอื มัธยมศึกษาตอนตน้ 2) ส�ำ หรบั ผใู้ หญ่ โดยเฉพาะผู้หญิงและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสต้อง มโี อกาสเขา้ ถงึ การศกึ ษาและมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี สามารถอา่ นออก เขยี นได้ และมโี อกาสในการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 3) เพ่ือพัฒนาคุณภาพความสัมพันธ์ท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา ตอ่ เนอ่ื ง การรหู้ นังสอื สำ�หรบั วัยรนุ่ และผใู้ หญ่ 4) เพื่อพัฒนากลยุทธ์ของรัฐในการพัฒนาการศึกษาท่ีราคา ไม่สูงอย่างต่อเนื่อง การศึกษาตลอดชีวิต และสังคมแห่งการเรียนรู้ 5) เพ่ือการยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการ การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ และการศึกษาต่อเนื่องในทุกระดับ โดยการต้ังเป้าหมายเฉพาะสำ�หรับการพัฒนาการศึกษา นอกระบบ และการศกึ ษาผู้ใหญ่ภายในปี พ.ศ. 2558 ไวด้ ังน้ี 1) อตั ราการรูห้ นังสือของประชากรอายรุ ะหว่าง 15 – 35 ปี ภายในปี พ.ศ. 2558 จะตอ้ งมีจ�ำ นวนร้อยละ 98 ของประชากรทง้ั หมด 2) มีศูนย์การเรียนรู้ในหน่วยงานส่วนปกครองส่วนท้องถิ่น รอ้ ยละ 90 ภายในปี พ.ศ. 2553 และรอ้ ยละ 100 ในปี พ.ศ. 2558 3) ภายในปี พ.ศ. 2558 นกั เรียนอายุ 6 – 14 ปี จ�ำ นวน ร้อยละ 75 ที่อยู่นอกระบบการศึกษา ต้องเข้าสู่ระบบการศึกษา นอกโรงเรยี นในระดับประถมศึกษา ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม 143
4) ภายในปี พ.ศ. 2558 นักเรยี นอายุ 11 – 14 ปี จ�ำ นวน ร้อยละ 75 ท่ีอย่นู อกระบบการศึกษาต้องเข้าสู่ระบบการศึกษา นอกโรงเรยี นในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 5) หลักสูตรและตำ�ราของการศึกษานอกโรงเรียนและการ ศึกษาผู้ใหญจ่ ะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาปรับปรงุ 6) มกี ารกอ่ ตง้ั ศนู ยก์ ารศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งในทกุ เขตกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และการฝกึ อบรมเปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการรบั ผดิ ชอบการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาผู้ใหญ่ อย่างไรก็ตามความต้องการในการเรียนรู้ของ เวียดนามมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ซึ่งกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและ การฝกึ อบรมเพยี งกระทรวงเดยี วไมส่ ามารถทจ่ี ะตอบสนองความตอ้ งการ ท้ังหมดได้ ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื จากกระทรวงตา่ งๆ องคก์ ารตา่ งๆ ในการสนบั สนนุ ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ อปุ กรณ์ และดา้ นการเงนิ กระทรวง ต่างๆ เช่น กระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบท กระทรวงยุติธรรม กระทรวงข้อมูลและการสอ่ื สาร สหภาพสตรี สหภาพเดก็ และองคก์ าร อน่ื ๆ จะเปน็ ผสู้ นบั สนนุ การเปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนเกดิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและการฝกึ อบรมมีหน้าที่รับผิดชอบบริหารจัดการ ติดตามระบบการศึกษานอกระบบทั้งประเทศ รวมทั้งเปิดโอกาส สร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการสร้างเครือข่ายของสถานศึกษา ศนู ยก์ ารเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ศนู ยก์ ารเรยี นรชู้ ุมชน สถาบันสอนภาษา ต่างประเทศ และศนู ยค์ อมพวิ เตอร์ นอกจากน้ีกระทรวงยังมีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับ ประชากรเวยี ดนาม โดยแบง่ นโยบายตามพน้ื ทเ่ี ปน็ 2 สว่ น คอื สว่ นกลาง และส่วนท้องถิ่น ระดับส่วนกลางมีบทบาทในการสนับสนุนนโยบาย 144
การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ โดยทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารและการฝกึ อบรม รว่ มมอื กบั กระทรวงอน่ื ๆ รวมทง้ั องคก์ ารตา่ งๆ จดั ท�ำ แนวทางการท�ำ งาน รว่ มกนั ในการสรา้ งโอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ใหก้ บั ประชากรในระดับ จังหวัดและเขตคณะกรรมการ มีการตัดสินใจใช้นโยบายการขดั เกลา ทางสงั คมโดยการศกึ ษา โดยสงั คมแหง่ การเรยี นรตู้ ามรปู แบบของท้องถิ่น ระบบการศกึ ษาเวยี ดนามมคี วามโดดเดน่ เปน็ อยา่ งยง่ิ ในการใหค้ วามส�ำ คญั กับคนทุกกลุ่ม และสร้างโอกาสในการเข้าถึงการเรียนรู้ในทุกระดับ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนมีบทบาทสำ�คัญในการผลักดันการเรียนรู้สู่ชุมชน ตามนโยบายการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และได้รับการยอมรับ เปน็ อยา่ งยง่ิ ในสงั คมเวยี ดนาม เพราะไมเ่ พยี งแตเ่ ปน็ กลไกทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ ในการส่งเสริมการศึกษาสำ�หรับทุกคนในชุมชน แต่ยังเป็นต้นแบบที่ มีประสิทธิภาพในการนำ�เสนอแนวคิดทุกอย่างเพอ่ื การศึกษา (All for Education) ให้แก่ชมุ ชน ซง่ึ เปน็ ตวั แปรส�ำ คญั ทท่ี �ำ ใหร้ ะบบการศกึ ษา ชุมชนประสบความสำ�เร็จอีกด้วย 6.3.2 กระทรวงขอ้ มลู และการสอ่ื สาร กระทรวงข้อมูลและการส่ือสารของเวียดนามมีบทบาท ในการกำ�หนดนโยบายเก่ียวกับการเผยแพร่ของส่ือสารมวลชน โดยรวม ทั้งการตีพิมพ์ การประกาศ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม อนิ เทอรเ์ นต็ การส่งผ่านคลื่นความถี่ ระบบวิทยุโทรทัศน์กระจายเสยี ง และโครงสร้างพ้ืนฐานของระบบสารสนเทศและการส่ือสารมีหน้าที่ กำ�กับนโยบายเกยี่ วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ กำ�หนดนโยบาย ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม 145
ที่เก่ยี วข้องกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึงการติดตั้งใช้งาน ในภาครัฐ อนุญาตและเพิกถอนใบอนุญาตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศ นอกจากนี้กระทรวงข้อมูลและการสื่อสารยังมีบทบาท ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยมีการดำ�เนินการในแง่ความร่วมมือ กับองค์การต่างๆ ในการจัดตั้งสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา บุคลากรในด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ซึง่ ปัจจุบันมี 4 หนว่ ยงานคือ 1) วทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ารสนเทศเวยี ดนาม-เกาหลี (Vietnam–Korea Information Technology College) 2) วิทยาลัยเทคโนโลยี การพมิ พ์ (College of Printing Technology) 3) วิทยาลยั ฝึกอบรมและ จดั การสารสนเทศและสื่อสาร (Training Information and Commu- nications Manager College) และ 4) มหาวิทยาลัยสารสนเทศและ การสื่อสาร (University of Information and Communications) ซึ่งได้รับการอนุมัติล่าสุดและกำ�ลังอยู่ระหว่างดำ�เนินการจัดตั้ง โดย ก ร ะ ท ร ว ง ข้ อ มู ล แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร มี บ ท บ า ท ใ น ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ทรพั ยากรมนุษยใ์ น 3 ส่วน คือ 1) บทบาทในการประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการและ การฝึกอบรมในการกำ�หนดกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน กลมุ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2) บทบาทในการประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการและ การฝึกอบรม และกระทรวงแรงงาน ทหารผ่านศึก และสวัสดิการ สังคม ในการวางแนวทาง เงื่อนไขในการฝึกอบรม และระบบ ประกาศนียบัตรรวมทั้งประกาศนียบัตรขององค์การต่างชาติ ในเวียดนาม 146
3) บทบาทในการประสานงานกับกระทรวงกิจการภายใน ใ น ก า ร จั ด ทำ � คำ � อ ธิ บ า ย ตำ � แ ห น่ ง ง า น เ กี่ ย ว กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศในส่วนเจา้ หน้าท่ภี าครฐั กระทรวงข้อมูลและการสื่อสารมีบทบาทสำ�คัญในการขับ เคล่ือนและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในภาคเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นอย่างย่ิงโดยเฉพาะอย่างย่ิงการผลักดันการลงทุนด้านการศึกษา ทั้งมหาวิทยาลัยภาครัฐ ภาคเอกชน และการลงทุนทั้งหมดเป็นงบ การลงทุนจากตา่ งชาติ โดยแรงงานในภาคส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ ของเวยี ดนามมจี ดุ แขง็ คอื แรงงานมอี ายนุ อ้ ย ท�ำ งานหนกั มคี วามฉลาด มไี หวพรบิ และกระตอื รอื รน้ รวมทง้ั มคี วามรดู้ า้ นคณติ ศาสตรเ์ ปน็ อยา่ งดี อย่างไรกต็ าม พบว่ายังมีข้อจำ�กดั ในการพัฒนาดังน้ี 1) การฝึกอบรมยังล้มเหลวในแง่การตอบสนองความต้องการ การมงุ่ ใหค้ วามรู้แตด่ า้ นทฤษฎี โดยละทิง้ การปฏบิ ตั ิ 2) ทักษะภาษาอังกฤษในกลุ่มนักศึกษาที่จบใหม่และอาจารย์ ยงั ค่อนขา้ งอ่อนแอ 3) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยังมีผลกระทบต่อ การเรยี นการสอน และการจดั การศกึ ษา 4) ความขาดแคลนด้านอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการ ฝึกอบรมซึ่งนอกจากข้อจำ�กัดดังกล่าว ยังพบว่าบทบาทของภาครัฐใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านการส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ยังเปน็ ไปอย่างไมเ่ พยี งพอ กลา่ วคือ 1) ความล่าช้าในการริเริ่มกลยุทธ์ ความครอบคลุมและ รายละเอยี ดในแผนการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม 147
2) ขาดแคลนเจ้าหน้าที่ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมใกล้เคียง กบั รฐั วสิ าหกจิ เชน่ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในลักษณะเชิงที่ปรึกษา ผู้ออกแบบระบบผู้บริหารงาน โครงการ เปน็ ต้น 3) การขาดความสามารถในการตรวจสอบคุณภาพและ ระดับการรบั รองการฝกึ อบรม 4) การลงทนุ ในด้านการวจิ ัยและพัฒนายังมขี อ้ จ�ำ กดั และ ไม่ได้รับความสนใจ 5) การขาดแคลนนโยบายในการลงทุนบริหารจัดการ และให้ความสำ�คัญกับการส่งเสริมการฝึกอบรมใน ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศถือ เปน็ ปจั จัยส�ำ คญั ซงึ่ จะสง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานของ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่ออุตสาหกรรม และการน�ำ ไป ประยุกต์ใช้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงถือเป็นความสำ�คัญเร่งด่วน ของกลยุทธ์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของ เวยี ดนาม นอกจากนี้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ยังต้องมีการเชื่อมโยง กับการปรับปรุงระบบการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย และทสี่ �ำ คัญ อยา่ งยิง่ การระดมทรัพยากรมนุษย์ด้านเทคโนโลยีทม่ี คี วามเชี่ยวชาญ ถือเป็นปัจจัยสำ�คัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในกลุ่ม เทคโนโลยสี ารสนเทศของเวียดนาม ในปี พ.ศ. 2553 มกี ารจดั อันดับในประเทศกลมุ่ ASEAN ในแง่ ผลิตภาพแรงงานในกลุ่มการสื่อสารและเทคโนโลยี เวียดนามอยู่ใน 148
อนั ดบั ที่ 7 และพบว่ามีคะแนนไมเ่ กินครึง่ หนงึ่ เมอ่ื เทียบกับผลิตภาพ ของแรงงานไทย จากผลการจัดอันดับดังกล่าวทำ�ให้กระทรวงข้อมูล และการสือ่ สารของเวยี ดนามมีการต้งั เปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และทศิ ทาง ในปี พ.ศ.2563 ทีจ่ ะพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ของเวยี ดนามไวด้ ังนี้ วสิ ยั ทศั น์ เป้าหมาย 1) พัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยผ์ ่านระบบคณุ ภาพการศึกษา • การฝึกอบรมในระดับมหาวิทยาลัยจะต้องอยู่ในระดับ รุดหน้าประเทศในกลุม่ อาเซยี น • นกั ศกึ ษาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารรอ้ ยละ90 จะ ต้องมีขีดความสามารถและทักษะด้านภาษาท่ี ต ร ง กับความต้องการ ตลาดแรงงานของบคุ ลากรในกลมุ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ระดบั นานาชาติ • การเพ่ิมปริมาณและคุณภาพในกลุ่มวิทยากรด้าน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 2) ยกระดับผลติ ภาพแรงงาน 3) ยกระดับความสามารถของผู้บริหารท่ีกำ�กับดูแลด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศทกุ ฉบับ 4) สง่ เสรมิ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสถาบันฝกึ อบรม รฐั วสิ าหกิจ และภาคอตุ สาหกรรม แนวทาง 1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งท่ีต้องให้ความสำ�คัญ เป็นอันดับต้นๆ ในกลยุทธ์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม 149
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202