Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสาร Best Practice

เอกสาร Best Practice

Published by นราวรรณ เพนวิมล, 2023-06-10 03:28:39

Description: แบบรายงาน Best Practice โรงเรียนบ้านวังข่อย

Search

Read the Text Version

รายงานการปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลิศของสถานศกึ ษา (Best Practice) ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน Active Learning ทป่ี ระสบผลสำเร็จ โดย นางสาวนราวรรณ เพนวมิ ล ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนบา้ นวงั ขอ่ ย สงั กัด สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาประจวบคีรขี นั ธ์ เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

1. ช่ือผลงาน สถานศกึ ษาท่จี ดั การเรียนการสอน Active Learning ประสบผลสำเร็จ 2. ชือ่ ผ้นู ำเสนอผลงาน นางสาวนราวรรณ เพนวมิ ล ครโู รงเรียนบา้ นวงั ข่อย ............................................................................................................................................................ 3. ความเป็นมา หลักการ / แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับผลงานที่ประสบผลสำเร็จ Active Learning คือกระบวนการจัดการเรียนรทู้ ่ีผเู้ รยี นได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิดเก่ียวกับ สิ่งที่เขาได้กระทำลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้สมมติฐานพื้นฐาน 2 ประการ คือ 1) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์, และ 2) แต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ท่ี แตกตา่ งกนั (Meyers and Jones, 1993) โดยผูเ้ รียนจะถกู เปลย่ี นบทบาทจากผ้รู ับความร(ู้ receive) ไปสู่การมี ส่วนร่วมในการสร้างความรู้ (co-creators) ( Fedler and Brent, 1996) Active Learning เป็นกระบวนการ เรียนการสอนอย่างหนึ่ง แปลตามตัวก็คือเป็นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือ ทำซ่ึง “ ความรู้ “ที่ เกิดขึ้นก็เป็นความรู้ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีผูเ้ รียนต้องได้มีโอกาสลง มือกระทำมากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การ โต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งให้ผู้เรียนได้ใช้ กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์, การ สังเคราะห์, และการประเมินค่า นอกจากนั้น Active Learning ยังเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือ ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ในการนี้ครูต้องลดบทบาท ในการสอนและ การใหข้ ้อความร้แู ก่ผเู้ รียนโดยตรง และเพม่ิ กระบวนการและกิจกรรมที่จะทำใหผ้ ้เู รียนเกดิ ความกระตือรือร้น ในการจะทำกิจกรรมต่าง ๆ และอย่างหลากหลายให้มากข้ึน ไม่ว่าจะเปน็ การแลกเปลีย่ นประสบการณ์โดยการ พูด การเขียน การอภิปรายกับเพื่อนๆ” ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ Active Learning สอดคล้องกับการทำงาน ของสมองที่เกี่ยวข้องกับความจำ โดยสามารถเก็บและจำสิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มี ปฏิสัมพันธ์กับ เพื่อน ผู้สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บจำในระบบความจำ ระยะยาว (Long Term Memory) ทำให้ผลการเรียนรู้ ยังคง อยู่ได้ในปริมาณที่มากกว่า ระยะยาวกว่า บทบาทของ ครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนร้ตู ามแนวทางของ Active Learning มดี ังนี้ 1) จัดใหผ้ ้เู รียนเปน็ ศูนย์กลาง ของการเรยี นการสอน กิจกรรมตอ้ งสะท้อนความต้องการในการพฒั นาผู้เรยี นและเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตจริงของผู้เรียน 2) สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ปฏิสมั พนั ธ์ท่ีดกี ับผ้สู อน และเพ่ือนในช้ันเรียน 3) จดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ ป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมท้ังกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสำเรจ็ ในการเรียนรู้ 4) จัดสภาพการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือในกลุ่มผู้เรียน 5) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาส ผเู้ รยี นไดร้ บั วธิ ีการสอนทีห่ ลากหลาย 6) วางแผนเกยี่ วกับเวลาในจดั การเรยี น การสอนอย่างชดั เจน ทง้ั ในส่วน ของเนื้อหา และกิจกรรม 7) ครูผู้สอนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดของ ที่ผู้เรียน ในการจัดการเรียนรู้ Active Learning ผู้เรียนจะมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมี ปฏิสัมพันธ์จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และ พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วม อภิปราย ให้ฝึกทักษะ การสื่อสาร ทำให้ผลการเรียนรู้เพิ่มขึ้นเป็น 70% การนำเสนอผลงานทางการเรียนรู้ ในสถานการณ์จำลอง ทั้งมีการฝึกปฏิบัติในสภาพจริง มีการเชื่อมโยงกับสถานการณ์ต่าง ๆ จะทำให้ผลการ เรยี นรเู้ กิดขนึ้ ถึง 90%

4.วัตถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือส่งเสรมิ ให้ครผู ู้สอนทกุ คนในสถานศึกษาจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในชน้ั เรียน ดว้ ยแผนการ จัดการเรียนรู้ Active Learning ทใี่ ชน้ วตั กรรม Active Learning รูปแบบต่าง ๆ ให้มีผลการประเมินระดบั ดี ขนึ้ ไป 2) เพื่อสง่ เสริมให้ครูผ้สู อนทกุ คนในสถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรูข้ องผ้เู รยี น Active Learning ทีม่ ผี ลการประเมินระดบั ดขี ึน้ ไป 5.วธิ ีการ ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน 5.1 การออกแบบผลงาน ใช้แนวคิด เรอื่ งลักษณะของกระบวนการเรียนร้ทู ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 5 ลักษณะ ประกอบดว้ ย (1) การเรยี นรอู้ ยา่ งมีความสขุ เป็นการจัดการเรียนรู้โดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล คำนึงถึงการทำงานของสมอง ที่ส่งผลต่อการเรยี นรูแ้ ละพัฒนาการทางอารมณข์ องผเู้ รยี น ผู้เรียนได้เรียนรู้ เรือ่ งที่ต้องการเรียนรู้ในบรรยากาศที่เปน็ ธรรมชาติ บรรยากาศของการเอ้ืออาทร และเปน็ มติ ร ตลอดจน แหลง่ เรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย นำผลการเรียนร้ไู ปใชใ้ นชีวิตจริงได้ (2) การเรยี นรูจ้ ากการได้คิดและลงมือปฏบิ ัติจรงิ อันเปน็ ผลจากการจดั การเรียนรู้ให้นกั เรียนได้คดิ ไมว่ า่ จะเกดิ จากสถานการณ์หรอื คำถามก็ตาม โดยไดล้ งมือปฏบิ ัติจรงิ ซง่ึ เป็นการฝกึ ทกั ษะทสี่ ำคญั คอื การ แก้ปัญหา และความมเี หตผุ ล (3) การเรียนรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย และเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น โดยเปา้ หมายสำคัญด้าน หน่งึ ในการจดั การเรยี นรูท้ ี่เน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ คอื ผู้เรยี นแสวงหาความรู้อย่างหลากหลาย ทั้งทเ่ี ป็นเอกสาร วัสดุ สถานท่ี สถานประกอบการ บุคคล ซง่ึ ประกอบดว้ ย เพือ่ น กล่มุ เพื่อน หรือผเู้ ปน็ ภูมปิ ัญญาของชุมชน (4) การเรยี นรแู้ บบองค์รวม หรือบรู ณาการการเรียนรู้ทผ่ี สมผสานความรดู้ ้านต่าง ๆ ไดส้ ดั ส่วนกนั รวมท้งั ปลูกฝังคุณธรรม ความดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทกุ วิชาทจี่ ดั ให้เรียนรู้ (5) การเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง เป็นการศกึ ษาค้นควา้ หาความรู้ (Knowledge) จากแหล่งตา่ ง ๆ ดว้ ยตวั เอง แลว้ นำความรู้มาทดลองใช้ ฝึกฝน ปรับปรงุ พฒั นา จนเกดิ ความชำนาญ สามารถ นำความรู้ท่ไี ด้เรยี นรู้นน้ั ไปใช้จนเกดิ ประโยชน์กับตัวเอง และส่วนรวม 5.2 การดำเนนิ งาน ดำเนนิ การโดยรปู แบบการบรหิ าร GREAT MODEL ตามรายละเอยี ด ดังนี้ ข้ัน Plan การกำหนดเปา้ หมาย เพ่ือสร้างโอกาสทางการศึกษาใหก้ ับผ้เู รยี นและ G = Goal เยาวชนใหไ้ ดร้ บั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน มีการกำหนดภาพความสำเร็จของการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ คือ รอ้ ยละ 60 ของนักเรียน ต้องมีผลการเรยี น ในระดับ 3 ขนึ้ ไปในทกุ รายวชิ า

ขั้น Do การแก้ปัญหาร่วมกัน โดย PLC แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการนำผลการ R = Resolution พฒั นาตนเองมาใชใ้ นการพฒั นาผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ ครูทุกคนทเี่ ข้ารับการ อบรมเรื่องต่าง ๆ นำเสนอความรู้ และแนวคิดเกี่ยวกับการประยุกต์ความรู้ที่ E = Environment ไดร้ บั ในการจัดการเรียนการสอน และเกบ็ รวบรวมข้อมูลการดำเนินงานตาม แผนงานที่กำหนดไว้ นำปัญหามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสรุปเป็น แนวทางในการพัฒนาต่อไป การจัดสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ โดยประสานความร่วมมือ กับเครือข่ายต่าง ๆ เช่น ผู้ปกครอง/ ชุมชน/ วิทยากรภายนอก เข้ามามีส่วน ร่วม โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย มีการสร้างเครือข่ายในการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ ในการจัด การศกึ ษาและพฒั นาโรงเรียนในทุกดา้ น ขั้น Check ตรวจสอบ ประเมินผล โดยผู้บริหารส่งเสริมให้คณะครูเก็บรวบรวมข้อมูล A = Assessment วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ และนำผล มาใช้ในการเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของการดำเนินงานจัดการเรียนรู้ ข้ัน Action Active Learning T = Teamwork จัดกจิ กรรมศกึ ษาดงู าน เพื่อส่งเสรมิ การทำงานเป้นทีมของบุคลากรใน สถานศึกษา ส่คู วามมงุ่ ม่ันในการทำงานอย่างเตม็ ความสามารถ คือผ้เู รียนต้อง มที กั ษะการอ่าน การเขียน และการคิดเลข ตามท่ีโรงเรียนกำหนด และ จดั การเรยี นรูเ้ พ่ือส่งเสริมสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 ของผู้เรียน ตามแนวทาง สะเตม็ ศึกษา โดยบรู ณาการสาระท้องถน่ิ ในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ กุ ช้ัน เรยี น 5.3 ประสทิ ธิภาพของงาน 1) ผูเ้ รยี นไดเ้ รียนรู้อยา่ งมคี วามสุข สามารถประยุกต์ใช้ทกั ษะ และเช่อื มโยงองค์ความรูน้ ำไปปฏิบตั ิ เพ่อื แก้ไขปญั หา หรือประกอบอาชพี ในอนาคตได้ 2) ผ้เู ก่ียวข้องกบั การจดั การศึกษามีความพึงพอใจการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 6.ผลการดำเนินงาน 6.1 ผลทเ่ี กดิ ตามจดุ ประสงค์ 1) ครูผู้สอนรอ้ ยละ 80 ในสถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในชน้ั เรียน ดว้ ยแผนการจดั การ เรียนรู้ Active Learning ท่ใี ชน้ วัตกรรม Active Learning รปู แบบตา่ ง ๆ มผี ลการประเมนิ ระดบั ดีมาก 2) ครผู ูส้ อนรอ้ ยละ 70 ในสถานศกึ ษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ของผเู้ รียน Active Learning ท่ีมีผลการประเมินระดบั ดขี ้นึ ไป

6.2 ผลสัมฤทธข์ิ องงาน ครผู ู้สอนทุกคนวางแผนการสอนอยา่ งมีระบบ โดยมีการวเิ คราะห์องค์ประกอบการเรียนรู้ ทฤษฎีการ เรียนการสอน ส่ือ กิจกรรมการเรยี นรู้ รวมถงึ การประเมินผล เพื่อให้ผสู้ อน สามารถถ่ายทอดความรสู้ ูผ่ ูเ้ รยี น และใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การออกแบบการจดั การ เรียนร้ทู ดี่ ี จะช่วยผ้สู อนวาง แผนการสอนอย่างมรี ะบบ บรรลจุ ดุ มุ่งหมาย 7.ประโยชน์ของผลงาน 7.1 ผลทเี่ กดิ กบั นักเรยี น ผ้เู รียนสามารถประยกุ ต์ใช้ทกั ษะ และเช่ือมโยงองค์ความรูน้ ำไปปฏิบัตเิ พือ่ แก้ไขปัญหาไดต้ ามเป้าหมาย 7.2 ผลที่เกดิ กับครู ไดพ้ ัฒนาตนเองเกี่ยวกับการจดั การเรยี นการสอน Active Learning รูปแบบต่าง ๆ 7.3 ประโยชนต์ ่อการพัฒนางาน จากการที่โรงเรยี นจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในชัน้ เรียน และกิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ของผู้เรยี น กิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลิตและผลลัพธ์การเรียนรู้ ด้วยความตั้งใจจริงของผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และนักเรียน ร่วมมือร่วมใจกัน นำไปสู่ความสำเร็จ ส ร้าง ชื่อเสียง และได้รับรางวัลจำนวนมาก และสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงานของคนในชุมชน สถาน ประกอบการ และสถานศกึ ษาอนื่ ๆ ที่สนใจ ทงั้ ในดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน การจัดการเรียนการเรียนการ สอนในกจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรใู้ นโครงการสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง 8.ปจั จยั ความสำเรจ็ การรว่ มกันพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของผู้บรหิ ารโรงเรียน และคณะครูทุกคนในการรว่ มคดิ รว่ มวางแผน รว่ มดำเนินการ สะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ิ เพ่ือปรับปรุง/พัฒนาผา่ นกจิ กรรม PLC ซง่ึ ดำเนนิ การ อยา่ งสม่ำเสมอและต่อเนือ่ ง 9.บทเรยี นทไี่ ดร้ ับ การจัดการเรียนการสอน Active Learning ให้ความสำคัญกับผู้เรียนเป็นหลักในการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน เป็นการออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนด้วยกัน โดยใช้เทคนิคหรือกิจกรรมต่าง ๆ ผู้สอนมี บทบาทอำนวยความสะดวกและจดั สภาพแวดล้อมที่เออื้ ให้ผู้เรยี นสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเองจนเกิดเป็นการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย (Meaningful Learning) ครอบคลุมวิธีการจัดการเรียนรู้หลากหลายวิธี เช่น - การเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) - การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) - การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) - การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) 10. การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรับ 10.1 เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของโรงเรียน เฟซบุ้ค 10.2 การไดร้ บั การยอมรับจากชมุ ชน

ภาคผนวก - นิยามศัพท์ โมเดลการบริหาร GREAT MODEL - โครงการทีเ่ กยี่ วข้อง คือ โครงการยกระดบั คุณทางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน - สรุปรายชอื่ นวตั กรรมของการจัดการเรียนการสอน Active Learning - ตัวอย่างชดุ กิจกรรมการออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ - ภาพกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning

นิยามศัพท์ โมเดลการบริหาร GREAT G = Goal คือ การกำหนดเป้าหมาย เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนและเยาวชนให้ได้รับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการกำหนดภาพความสำเร็จของการยกระดับผลสัมฤทธิ์ เป็นการกำหนดทิศทางการ ดำเนินงานสรา้ งความสอดคล้องของการปฏบิ ตั ิงานใหม้ ีความพร้อมต่อการเปลยี่ นแปลง มกี ารจดั สรรทรัพยากร ที่เหมาะสม สามารถพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถและเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน นำไปสู่การเพิ่ม โอกาสความสำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา มีกลยุทธ์ในการบริหารจัดการศึกษา เพื่อมุ่งไปสู่ ความสำเร็จคือคุณภาพของการศึกษา รวมถึงการดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนดท่ีตอ้ งการโดยสร้างความ พงึ พอใจให้กับผู้เก่ียวข้อง R = Resolution คือ การแก้ปัญหารว่ มกัน โดยแลกเปล่ียนเรียนรู้ PLC เกี่ยวกบั การนำผลการพัฒนา ตนเองมาใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ ทุกคนที่เข้ารับการอบรมเรือ่ งตา่ ง ๆ นำเสนอ ความรู้ และแนวคิดเกี่ยวกับการประยุกต์ความรู้ ที่ได้รับในการจัดการเรียนการสอน และนำปัญหาแต่ละกรณีมาสรุป เปน็ แนวทางในการพัฒนาต่อไป E = Environment คือ การจัดสภาพแวดล้อม และกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการสาระท้องถ่ิน เพื่อประสานความร่วมมือกับเครือข่ายต่าง ๆ เช่น ผู้ปกครอง/ชุมชน/วิทยากรภายนอก เข้ามามีส่วนร่วม โดย ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย มีการสรา้ งเครอื ข่าย ในการมสี ่วนร่วมจาก ภาคส่วนตา่ ง ๆในการจัดการศกึ ษาและพัฒนาโรงเรียนในทุกดา้ น A = Assessment คือ ตรวจสอบ ประเมินผล โดยผู้บริหารส่งเสริมให้คณะครูเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาใช้ในการเพิ่มคุณภาพและ ประสทิ ธิภาพของการดำเนินงานจดั การเรียนรู้ Active Learning T: Teamwork คือ การจัดกิจกรรมศึกษาดูงาน เพื่อส่งเสริมการทำงานเป็นทีมของบุคลากรใน สถานศึกษา สู่ความมุ่งม่ันในการทำงานอยา่ งเต็มความสามารถ คือผู้เรียนตอ้ งมีทักษะการอา่ น การเขียน และ การคิดเลข ตามที่โรงเรียนกำหนด และจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน ตาม แนวทางสะเตม็ ศึกษา โดยบรู ณาการสาระทอ้ งถนิ่ ในทุกกลุ่มสาระการเรยี นร้ทู ุกช้ันเรียน

แบบรายงานโครงการ ปงี บประมาณ 2565 โรงเรียนบ้านวงั ขอ่ ย โครงการ ยกระดับคณุ ทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ยุทธศาสตร์ชาติ ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้ แผนปฏริ ูปประเทศ(ดา้ นการศึกษา) ประเดน็ ท่ี 1 แผนงาน วชิ าการ กลยทุ ธ(์ หนว่ ยงาน) ท่ี 3 ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น และม่งุ ส่คู วามเปน็ เลศิ ลกั ษณะโครงการ ทางวชิ าการ ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ ⬜ โครงการใหม่ ☑ โครงการต่อเน่ือง นางสาวเสาวลักษณ์ จิ๋วใย ระยะเวลาดำเนินการ ตลุ าคม 2564 – มนี าคม 2565 สอดคลอ้ งมาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของสถานศึกษา (3 มาตรฐาน) : มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผเู้ รียน ศาสตร์พระราชา หลกั การทรงงาน : ข้อท่ี 4. ทำตามลำดับขนั้ 10. การมีส่วนรว่ ม พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา : ขอ้ ที่ 2. มีพืน้ ฐานชวี ิตท่มี ่ันคง – มีคุณธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. หลกั การและเหตุผล หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ และคุณธรรม มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ี จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพืน้ ฐาน ความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ โรงเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญ ของการศึกษาและการพัฒนาผู้เรียนในทกุ กลุ่มสาระให้มีผลสัมฤทธ์ิที่สูงขึน้ จึงจัดทำโครงการนี้ขึน้ เพื่อจัดทำสือ่ การเรียนรู้แบบสิ่งพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แบบฝึกทักษะ ใบความรู้ แบบทดสอบ และอื่น ๆ เพื่อให้ ครผู สู้ อนสะดวกในการจดั ทำสื่อสิ่งพิมพ์และการนำมาใชก้ บั เรียน เพ่อื พัฒนาศักยภาพการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการ เรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สุข ศึกษาและพลศึกษา การงานอาชพี และภาษาองั กฤษ

2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพอ่ื ใหน้ ักเรียนไดเ้ รยี นรู้ มีความรู้ความเขา้ ใจจากกจิ กรรมการเรียนการสอนเพ่ิมมากข้ึน 2.2 เพื่อใหน้ ักเรียนไดร้ ่วมกจิ กรรมกระบวนการเรียนรู้อยา่ งสนกุ สนานและมีความสุข 2.3 เพ่ือใหน้ ักเรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู ขน้ึ กว่าเดมิ 2.4 เพอ่ื ให้ครูผู้สอนจัดทำส่ือสิ่งพมิ พ์ประกอบการเรยี นการสอนได้สะดวก รวดเรว็ และมีประสทิ ธภิ าพ 3. เป้าหมาย 3.1 เปา้ หมายเชิงผลผลิต ครผู ู้สอนจดั ทำส่ือสิ่งพมิ พ์ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพื่อใชป้ ระกอบการจัดกระบวนการเรยี นการสอน ตามความต้องการและเหมาะสมกบั วยั ของนักเรยี น คิดเปน็ รอ้ ยละ80 3.2 เป้าหมายเชิงผลลพั ธ์ 1. นักเรยี นมคี วามสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนมากขึน้ 2. ครูผูส้ อนใชส้ ื่อส่ิงพมิ พป์ ระกอบการจัดกระบวนการเรยี นร้อู ย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. กิจกรรมดำเนนิ การเปา้ หมาย ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ ดำเนนิ การ 1. ประชมุ วางแผนโครงการ ต.ค. 64 นางสาวเสาวลกั ษณ์ จ๋วิ ใย นำเสนอขออนุมตั โิ ครงการ 2. จัดทำสอ่ื ส่งิ พิมพต์ ามความต้องการ ใชส้ ือ่ สิ่งพมิ พ์ประกอบการเรียนรู้ จัดทำแบบบนั ทึกการเรยี นซอ่ มเสริม ต.ค. 64 – ม.ี ค. 65 ครูผสู้ อนทุกท่าน จัดทำเอกสารการเรยี นซ่อมเสริม จดั ทำแบบวดั ผลประเมินผล 3. สรปุ และประมาณโครงการ รายงานผล ก.ย. 65 นางสาวเสาวลักษณ์ จิว๋ ใย 5. สถานที่ โรงเรียนบ้านวังข่อย

6. งบประมาณ งบประมาณ 70,950.00 บาท (ถวั จ่ายทกุ รายการ) แผนการใช้งบประมาณ ดงั นี้ ไตรมาสท่ี เงินงบประมาณ (1,2,3,4) ที่ กิจกรรม/รายการ ค่าตอบแทน ค่าใช้ ค่า รวม 1-4 สอย วัสดุ 1-4 1. การจัดหาสอ่ื /ผลติ สื่อ ✓✓ 1-4 2. จดั ซื้อวสั ดสุ ำหรับการจัดการ 1-4 ✓✓ เรยี นการสอน 1-4 3 การปรบั ปรุงแหล่งเรยี นร้ภู ายใน ✓ ✓ 70,950.00 โรงเรยี น 4 แข่งขันศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ✓ ✓✓ 5 แข่งขนั กฬี ากลมุ่ เครอื ข่าย ✓ ✓✓ 70,950.00 รวมทั้งสิ้น 7. ผลการดำเนนิ การ ☑ ดำเนนิ การเสรจ็ แลว้ ◻ กำลังดำเนนิ การ ◻ ยงั ไม่ไดด้ ำเนินการ ◻ ไมไ่ ด้ดำเนินการ เพราะ................................... ดัชนชี ้วี ดั ความสำเรจ็ วธิ กี ารดำเนนิ เครอื่ งมือทีใ่ ช้ 7.1 เชงิ ปริมาณ การสงั เกต แบบสังเกต 1. ครูผสู้ อนจดั ทำสอื่ ส่งิ พิมพต์ ามความต้องการและ การสมั ภาษณ์ แบบสัมภาษณ์ สอดคล้องกับวัยของนกั เรียน สงั เกต แบบสงั เกต แบบประเมินผล 7.2 เชิงคณุ ภาพ ตรวจผลงาน 1. ครผู สู้ อนใช้สอ่ื สิ่งพิมพป์ ระกอบการเรียนการสอนอย่าง ทดสอบ งาน แบบทดสอบ มีประสทิ ธภิ าพ 2. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจในการร่วมกจิ กรรมการ เรยี นการสอนได้เร็วข้ึน 3. นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขึ้นกวา่ เดิม 8. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 8.1 นักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจจากกจิ กรรม กระบวนการเรยี นการสอน และเขา้ ใจบทเรียนไดร้ วดเรว็ ขน้ึ 8.2 นกั เรยี นมีความสนใจและกระตือรอื ร้นในการเรยี นมากข้นึ 8.3 นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขึน้ กวา่ เดิม 8.4 ครผู ้สู อนจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ไดต้ ามความต้องการและสอดคล้องกับวยั ของผเู้ รยี น 8.5 ครูผู้สอนใชส้ อื่ สง่ิ พิมพ์ประกอบการจดั กระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธภิ าพ

8.6 ครผู สู้ อนพัฒนากจิ กรรม และกระบวนการเรียนรู้อยู่เสมอ 9.ขอ้ เสนอแนะ - นางสาวเสาวลกั ษณ์ จว๋ิ ใย (นางสาวเสาวลกั ษณ์ จ๋ิวใย) ผู้จัดทำโครงการ/ผรู้ ายงาน วันที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2565

ภาพโครงการยกระดับคณุ ทางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน



แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการยกระดับคณุ ทางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน คำช้แี จง 1. โปรดเตมิ เคร่อื งหมาย ✓ และกรอกขอ้ ความให้สมบูรณ์ สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. สถานะ  ผูบ้ ริหาร  ครู  นักเรียน  บคุ ลากรทางการศึกษา ส่วนที่ 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการ ระดับ 5 = มากทสี่ ดุ หรือดมี าก 4 = มากหรอื ดี 3 = ปานกลางหรือพอใช้ 2 = นอ้ ยหรือต่ำกว่า มาตรฐาน 1 = น้อยที่สดุ หรอื ต้องปรับปรุงแกไ้ ข รายละเอยี ด ระดับความพึงพอใจ 5 432 1 1. กระบวนการ ขน้ั ตอนการใหบ้ ริการ 1.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาจัดทำโครงการ 1.2 การจัดลำดบั ขน้ั ตอนของกจิ กรรม 2. การอำนวยความสะดวก 2.1 เอกสาร 2.2 ส่อื หรือนวัตกรรมมคี วามเหมาะสมตามระดับชนั้ 2.3 เจ้าหน้าทีส่ นับสนุน 2.4 สถานที่ 3. คณุ ภาพการให้บริการ 3.1 ทา่ นได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ จาก โ3ค.2รงกทา่ารนสามารถนำสง่ิ ท่ีได้รับจากโครงการ/กจิ กรรมนี้ไปใชใ้ นการ 3ป.ฏ3ิบตัสงิ่ าทนี่ท่านได้รับจากโครงการ/กจิ กรรมครงั้ นต้ี รงตามความคาดหวัง ข3.อ4งทโ่าคนรหงกราอื รไ/มก่ จิ กรรมนเ้ี อื้ออำนวยต่อการเรียนรู้และพฒั นา 3ค.ว5ามปสราะมโายรชถนข์ทอีท่งท่าน่านได้รบั จากโครงการ/กิจกรรม 4. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ ส่วนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ....................

สำหรบั เจ้าหน้าทจ่ี ัดทำโครงการ แบบสอบถามสามารถเพิ่มเติมและแก้ไขได้ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดทำโครงการ โดยสามารถใช้ค่าเฉล่ียของหวั ข้อท่ี 4. คุณภาพการใหบ้ รกิ าร เปน็ KPI เชงิ คณุ ภาพ การแปลความหมาย ค่าระดบั คะแนน การแปลความหมาย ระดับคะแนนเฉลยี่ น้อยกว่า 1.5 วิกฤต ระดบั คะแนนเฉลย่ี ตั้งแต่ 1.5 แตน่ อ้ ยกว่า 2.5 ควรปรบั ปรงุ ระดับคะแนนเฉลี่ยต้ังแต่ 2.5 แตน่ ้อยกว่า 3.5 ปานกลาง ระดับคะแนนเฉลย่ี ตั้งแต่ 3.5 แตน่ ้อยกวา่ 4.5 ดี ระดับคะแนนเฉลยี่ ต้ังแต่ 4.5 หรือมากกวา่ ดเี ย่ยี ม

สรปุ รายชือ่ นวัตกรรมของการจัดการเรยี นการสอน Active Learning สาระท้องถ่นิ ท่ี รปู แบบ/วธิ ีการจดั การ ที่ ช่ือ สกลุ ครผู ูส้ อน แผนการจัดการเรยี นรู้ บูรณาการ... เรียนรู้Active Learning วชิ า ช้ัน 1 นางสาวเสาวลักษณ์ จิ๋วใย ภาษาไทย ป.5-6 ประเพณีแหเ่ ทียน สะเต็มศึกษา พรรษา 2 นางสาวนราวรรณ เพนวมิ ล ภาษาองั กฤษ ป.5 สถานทท่ี ่องเท่ยี ว สะเต็มศึกษา ในวัดหว้ ยมลคล 3 นายเอกสทิ ธ์ิ อุ่นเรือน วทิ ยาศาสตร์ ป.3 พืชเศรษฐกิจ สะเตม็ ศึกษา ในท้องถ่นิ 4 นายคณุ ชั ญ์ เอี่ยมอำนวย คณิตศาสตร์ ป.4 วสั ดุเหลือใชใ้ น สะเตม็ ศึกษา ชุมชน 5 นางสาวภทั รนนั ต์ เกตงุ าม วทิ ยาการ ป.5 สถานท่ที ่องเที่ยว สะเต็มศึกษา คำนวณ ในท้องถน่ิ 6 นายสุดใจ คะชะนา สงั คมศึกษา ป.2 วฒั นธรรมใน สะเตม็ ศึกษา ท้องถ่นิ บา้ นวงั ขอ่ ย 7 นางสาวอังคนา สนิ เสริฐ การงานอาชพี อ. 1 อาชีพในทอ้ ถน่ิ สะเตม็ ศึกษา

ตวั อย่างชุดกจิ กรรมการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยบรู ณาการผสานตัวชี้วัดสูก่ ารสรา้ งสรรค์นวตั กรรม ดว้ ยกระบวนการจดั การเรยี นรู้ Active Learning โรงเรยี นบ้านวงั ขอ่ ย สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาประจวบครี ีขนั ธ์ เขต 2

การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ 1) ให้คณุ ครวู ิเคราะห์ต้นทุนภูมิปญั หาตน้ ทุนอาชพี ที่จะจัดหนว่ ยบูรณาการ ตวั ชวี้ ัด เพอ่ื การ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมทีส่ ร้างมูลค่า 2) คัดเลอื กนวัตกรรมทีจ่ ะพฒั นา 1 ประเดน็ เพ่ือจัดหน่วยการเรียนร้บู รู ณาการ สับปะรด เห็ดนางฟ้า ตน้ ทุนของ ว่านหางจระเข้ สถานศกึ ษา กล้วย ใบเตย

วเิ คราะหห์ น่วยการเรยี น 1. นำหนว่ ยการเรียนรบู้ ูรณาการท่ีเลอื ก ทำการวเิ คราะห์ เนอื้ หา/กจิ กรรมโดยเรยี งลำดบั เนือ้ หา/กิจกรรม ของหน่วย 1. KPA หลัก 2.นวตั กรรมยอ่ ย 1 1. นักเรยี นบอกวธิ ีแปรรูปวา่ นหาง วุ้นว่านหางจระเข้ จระเขไ้ ด้ 2. นักเรียนสร้างผลติ ภณั ฑ์จากการการ แปรรปู ว่างหางจระเข้ได้ 3.นกั เรียนตระหนกั ถึงคณุ ค่าของว่าน หางจระเข้ 3. นวัตกรรมย่อย 2 หนว่ ยบูรณาการ ว่านหางจระเขแ้ ปรรูป เจลลา้ งมอื ว่านหางจระเข้ 4.นวตั กรรม สบูว่ ่านหางจระเข้

วิเคราะห์ผู้เรียน/บรบิ ท พฤติกรรมการเรียนรู้ ความรู้/ทักษะท่ีมี -ความสนใจ -อาชพี ผู้ปกครอง ตอบ สนใจวธิ ีการแปรรปู อาหาร ตอบ ทำไร่วา่ นหางจระเข้ -พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ (ชอบเรยี นอย่างไร) -กิจกรรม/โครงการท่ีเคยเรียนรู้ ตอบ ชอบเรียนโดยการลงมือปฏบิ ตั ิ ตอบ กจิ กรรมแปรรปู อาหาร -K/P/A ทตี่ อ้ งพัฒนาของหน่วย/ครอบคลมุ ผ้เู รยี น/ความพร้อม ใบงาน 4.1 ความพรอ้ ม ตอบ - อุปกรณ์ 1. นักเรียนบอกวธิ แี ปรรปู อาหารได้ ตอบ วา่ นหางจระเข้ 2. นักเรียนสร้างผลติ ภณั ฑจ์ ากการการแปร แอลกอฮอล์ มะนาว ขวด รูปอาหารได้ กลีเซอรีน น้ำตาล หม้อ 3.นักเรยี นตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของการแปรรปู กระทะ อาหาร -สถานท่ี ตอบ สถานศึกษา หลกั สูตร -งบประมาณ -หลักสตู รทมี่ ีอยู่ ตอบ งบประมาณจาก ตอบ หลกั สูตรท้องถ่ิน โครงการพฒั นาผู้เรียน -กิจกรรมท่ีมี ตอบ โครงงานแปรรปู อาหาร แหล่งเรยี นรู้ -บุคคล ตอบ ชาวบ้านในท้องถ่ิน ผู้ปกครอง -สถานท่ี ตอบ ชุมชน สถานศกึ ษา

ขั้นการออกแบ ออกแบบหนว่ หน่วยบรู ณาการ ว่า หนว่ ยการเรียนรู้ จุดประสงค์ เน้ือหากจิ กรรม ตวั ชี้วดั บูรณาการ 1. นักเรยี นบอก การอธบิ ายเนื้อหา ว 2.1 ป.5/3 1 วิธีการทำวุน้ ว่าน ข้นั ตอนการผลิต การเปลย่ี นแปลงทางเคมี ว หางจระเข้ได้ วนุ้ ว่านหางจระเข้ ต 3.1 ป.5/1 ห 2. นกั เรยี นผลติ การทำวุ้นว่านหาง การรวบรวมคำศัพท์ 2 ง 1.1 ป.5/1 ก วุ้นวา่ นหางจระเข้ จระเข้ ได้ อธบิ ายเหตุผลในการ โ 3. นักเรียนเห็น การกลา่ วถึง ทำงานแต่ละขัน้ ตอน 3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 คณุ คา่ ของวา่ น ประโยชนแ์ ละ ถกู ต้องตามกระบวนการ ใ ความสำคัญของ ทำงาน 4 หางจระเข้ ว่านหางจระเข้ ง 1.1 ป.5/4 โ มจี ติ สำนึกในการใช้ ว พลงั งานและทรัพยากร ช อยา่ งประหยดั และคุม้ ค่า 5 ก ผ

บบ (Design) วยการเรยี นรู้ านหางจระเขแ้ ปรรปู สมรรถนะ คณุ ลักษณะ รปู แบบวธิ ีสอน (Active ภาระงาน/ การวดั ประเมินผล อันพึงประสงค์ Learning) ชน้ิ งาน - แบบ 1. ทกั ษะการคิด หา - ใฝ่เรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน วนุ้ วา่ นหาง ประเมิน โครงงาน วิธีการทำวนุ้ วา่ น - อยู่อย่าง แบบ Task-based จระเข้ - แบบ สงั เกต หางจระเข้ พอเพยี ง learning 2. การส่อื สาร โดย - มงุ่ ม่นั ในการ 1. ขน้ั กอ่ นปฏิบัติงาน การนำเสนอ ทำงาน 2. ข้นั ปฏิบัติงาน โครงงาน 3. ขน้ั เน้นรปู แบบทาง 3. การใช้เทคโนโลยี ภาษา ในการหาข้อมูล 4. การใช้ทักษะชวี ิต โดยนำความรแู้ ละ วิธกี ารทำไปใช้ใน ชีวิตจรงิ ได้ 5. การแก้ไขปญั หา การหาวธิ คี งสภาพ ผลติ ภณั ฑ์

หนว่ ยการเรยี นรู้ จุดประสงค์ เนอื้ หากจิ กรรม ตวั ช้ีวดั บูรณาการ 1. นักเรยี นบอก การอธิบายเน้ือหา ว 2.1 ป.5/3 1 วิธกี ารทำเจลล้าง ข้ันตอนการผลิต การเปลย่ี นแปลงทางเคมี ว มือวา่ นหางจระเข้ เจลล้างมือว่าน ต 3.1 ป.5/1 ว ได้ หางจระเข้ การรวบรวมคำศัพท์ 2 2. นักเรียนผลิต การทำเจลลา้ งมือ ง 1.1 ป.5/1 ก เจลล้างมือว่าน วา่ นหางจระเข้ อธบิ ายเหตุผลในการ โ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 หางจระเข้ได้ ทำงานแตล่ ะข้นั ตอน 3 3. นกั เรียนเหน็ การกลา่ วถึง ถกู ต้องตามกระบวนการ ใ คุณค่าของว่าน ประโยชนแ์ ละ ทำงาน 4 หางจระเข้ ความสำคัญของ ง 1.1 ป.5/4 โ วา่ นหางจระเข้ มีจิตสำนกึ ในการใช้ ว พลงั งานและทรัพยากร ช อยา่ งประหยดั และคุ้มค่า 5 ก ผ

สมรรถนะ คุณลักษณะ รูปแบบวิธีสอน (Active ภาระงาน/ การวัด อนั พึงประสงค์ Learning) ชิ้นงาน ประเมนิ ผล 1. ทักษะการคิด หา - ใฝเ่ รยี นรู้ การจดั การเรียนการสอน เจลลา้ งมอื ว่าน - แบบ วิธีการทำเจลล้างมือ - อย่อู ยา่ ง แบบ Task-based หางจระเข้ ประเมิน วา่ นหางจระเข้ พอเพยี ง learning โครงงาน 2. การส่ือสาร โดย - มุง่ มน่ั ในการ 1. ข้นั ก่อนปฏิบัติงาน - แบบ การนำเสนอ ทำงาน 2. ขั้นปฏบิ ตั งิ าน สงั เกต โครงงาน 3. ขน้ั เน้นรปู แบบทาง 3. การใช้เทคโนโลยี ภาษา ในการหาข้อมลู 4. การใช้ทกั ษะชีวติ โดยนำความรูแ้ ละ วธิ ีการทำไปใช้ใน ชีวิตจรงิ ได้ 5. การแก้ไขปัญหา การหาวธิ ีคงสภาพ ผลติ ภัณฑ์

หนว่ ยการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ เน้อื หากจิ กรรม ตัวช้ีวดั บรู ณาการ 1. นักเรยี นบอก การอธิบายเน้ือหา ว 2.1 ป.5/3 1 วธิ กี ารทำสบวู่ า่ น ขั้นตอนการผลติ การเปล่ียนแปลงทางเคมี ว หางจระเข้ได้ สบวู่ า่ นหางจระเข้ ต 3.1 ป.5/1 ห 2. นักเรยี นผลิต การทำสบู่วา่ น การรวบรวมคำศัพท์ 2 ง 1.1 ป.5/1 ก สบู่ว่านหางจระเข้ หางจระเข้ ได้ อธิบายเหตุผลในการ โ ทำงานแต่ละขั้นตอน 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 3. นกั เรยี นเห็น การกลา่ วถึง ถกู ต้องตามกระบวนการ ใ คณุ ค่าของว่าน ประโยชน์และ ความสำคัญของ ทำงาน 4 หางจระเข้ ว่านหางจระเข้ ง 1.1 ป.5/4 โ มจี ิตสำนกึ ในการใช้ ว พลงั งานและทรัพยากร ช อยา่ งประหยดั และคุ้มค่า 5 ก ผ อ

สมรรถนะ คุณลักษณะ รปู แบบวิธีสอน (Active ภาระงาน/ การวดั อันพงึ ประสงค์ Learning) ช้ินงาน ประเมนิ ผล 1. ทกั ษะการคิด หา - ใฝ่เรยี นรู้ การจัดการเรียนการสอน สบู่ว่านหาง - แบบ จระเข้ ประเมิน วธิ กี ารทำสบ่วู า่ น - อยู่อยา่ ง แบบ Task-based โครงงาน - แบบ หางจระเข้ พอเพยี ง learning สังเกต 2. การสื่อสาร โดย - มงุ่ มนั่ ในการ 1. ข้ันก่อนปฏบิ ตั งิ าน การนำเสนอ ทำงาน 2. ขนั้ ปฏบิ ตั งิ าน โครงงาน 3. ขน้ั เนน้ รปู แบบทาง 3. การใช้เทคโนโลยี ภาษา ในการหาข้อมูล 4. การใชท้ ักษะชีวิต โดยนำความรูแ้ ละ วิธีการทำไปใชใ้ น ชีวติ จริงได้ 5. การแก้ไขปัญหา การหาวิธีคงสภาพ ผลิตภัณฑ์ และการ ออกแบบ

ข้นั การพฒั น จัดทำหนว่ ยการเรียนร/ู้ เคร่อื คำช้ีแจง 1. ใหค้ ณุ ครูนำข้อมูลจากการออกแบบมาทำแผนหนว่ ยการเรียนรูข้ องตนเอง 2. นำเสนอเพื่อการวิพากษ์ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ องค์ประกอบของแผนหน่วยการเรียนรู้ 2.1.ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ เวลาเรยี น 2.2 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ของหนว่ ย -K/P/A -นวตั กรรมของหน่วย 2.3 สาระสำคญั 2.4 กิจกรรมการเรยี นรู้ (แยกชวั่ โมง) 2.5 การวัดผลประเมินผลการเรยี นรู้ (ตารางหัวข้อ/วธิ ีการเครือ่ งมือ/เกณฑ์)

นา (Development) องมือวัดผล และประเมนิ ผล

ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จุดประสงค์ ตวั ชีว้ ดั วิทยาศาสตรแ์ ละ การเรียนรู้ เทคโนโลยี หน่วยท่ี 1 วุน้ ว่าน ว 2.1 ป.5/3 ภาษาต่างประเทศ 1. นักเรยี นบอก หางจระเข้ วิธีการทำวุ้น การงานอาชีพ วา่ นหางจระเข้ ต 3.1 ป.5/1 ได้ 2. นักเรียนผลิต ง 1.1 ป.5/1 วนุ้ ว่านหาง จระเขไ้ ด้ 3. นกั เรยี นเหน็ คณุ คา่ ของว่าน หางจระเข้

สาระสำคัญ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผล เวลา (ชั่วโมง) ก การเปล่ียนแปลงทาง 1. ขนั้ กอ่ นปฏิบตั งิ าน - แบบ 2 เคมี - ครูนำเขา้ สู่บทเรียน ประเมิน คน้ ควา้ รวบรวม 2. ขน้ั ปฏบิ ตั ิงาน โครงงาน คำศัพทท์ ่ีเกีย่ วข้องกับ - ครูอธบิ ายข้ันตอนการทำกจิ กรรม - แบบ ต กลมุ่ สาระการเรียนรู้ - ครใู ห้นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ แล้วทำ สงั เกต อื่น และนำเสนอด้วย กจิ กรรม โครงงานการทำวุน้ ว่านหาง จระเข้ การพูด/ เขยี น น 3. ข้นั เน้นรูปแบบทางภาษา น อธิบายเหตผุ ลในการ - ถามตอบเกย่ี วกับคำศัพท์ ทำงานแต่ละข้นั ตอน ภาษาองั กฤษที่มใี นเน้ือหา ถูกต้องตาม - นำเสนอโครงงาน กระบวนการทำงาน - ครูสังเกตและประเมินผล ง 1.1 ป.5/4 มีจิตสำนึกในการใช้ พลงั งานและทรัพยากร อยา่ งประหยดั และ คุ้มค่า

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร้/ู กลุ่มสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์ ตัวชี้วัด วิทยาศาสตร์และ การเรียนรู้ เทคโนโลยี หนว่ ยที่ 2 เจลล้าง ว 2.1 ป.5/3 ภาษาต่างประเทศ 1. นักเรียนบอก มอื วา่ นหางจระเข้ วธิ กี ารทำ การงานอาชีพ เจลล้างมือวา่ น ต 3.1 ป.5/1 หางจระเข้ได้ 2. นักเรยี นผลติ ง 1.1 ป.5/1 เจลลา้ งมือว่าน หางจระเข้ได้ 3. นักเรยี นเห็น คุณค่าของวา่ น หางจระเข้

สาระสำคญั กิจกรรมการเรยี นรู้ การวดั ผล เวลา (ช่วั โมง) ก การเปลย่ี นแปลงทาง 1. ขั้นก่อนปฏิบัติงาน - แบบ ประเมนิ 2 โครงงาน เคมี - ครนู ำเข้าสบู่ ทเรียน - แบบ สังเกต น ค้นคว้ารวบรวม 2. ขัน้ ปฏิบัตงิ าน คำศัพทท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกับ - ครูอธิบายขน้ั ตอนการทำกจิ กรรม ต กลมุ่ สาระการเรียนรู้ - ครใู ห้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม แล้วทำ น อนื่ และนำเสนอด้วย กิจกรรม โครงงานการทำเจลลา้ งมือ ว่านหางจระเข้ การพดู / เขยี น น 3. ข้ันเน้นรูปแบบทางภาษา น อธิบายเหตผุ ลในการ - ถามตอบเกี่ยวกับคำศัพท์ ทำงานแตล่ ะข้ันตอน ภาษาองั กฤษทม่ี ีในเนื้อหา ถกู ต้องตาม - นำเสนอโครงงาน กระบวนการทำงาน - ครูสังเกตและประเมินผล ง 1.1 ป.5/4 มจี ิตสำนึกในการใช้ พลงั งานและทรัพยากร อยา่ งประหยดั และ คุ้มค่า

ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จุดประสงค์ ตวั ชีว้ ดั วิทยาศาสตร์และ การเรยี นรู้ เทคโนโลยี หน่วยท่ี 3 สบู่ว่าน ว 2.1 ป.5/3 ภาษาต่างประเทศ 1. นักเรยี นบอก หางจระเข้ วธิ ีการทำสบู่ การงานอาชีพ ว่านหางจระเข้ ต 3.1 ป.5/1 ได้ 2. นกั เรียนผลิต ง 1.1 ป.5/1 สบ่วู า่ นหาง จระเขไ้ ด้ 3. นกั เรยี นเห็น คุณคา่ ของวา่ น หางจระเข้

สาระสำคัญ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผล เวลา (ชั่วโมง) ก การเปล่ียนแปลงทาง 1. ขัน้ กอ่ นปฏิบตั งิ าน - แบบ 2 เคมี - ครูนำเขา้ สู่บทเรียน ประเมิน คน้ ควา้ รวบรวม 2. ขั้นปฏิบตั ิงาน โครงงาน คำศัพทท์ ่ีเกีย่ วข้องกับ - ครูอธบิ ายข้ันตอนการทำกิจกรรม - แบบ ต กลมุ่ สาระการเรียนรู้ - ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ แลว้ ทำ สงั เกต อื่น และนำเสนอด้วย กิจกรรม โครงงานการทำสบวู่ ่านหาง จระเข้ การพูด/ เขยี น น 3. ข้นั เน้นรูปแบบทางภาษา น อธิบายเหตผุ ลในการ - ถามตอบเกย่ี วกับคำศัพท์ ทำงานแต่ละข้นั ตอน ภาษาองั กฤษที่มใี นเน้ือหา ถูกต้องตาม - นำเสนอโครงงาน กระบวนการทำงาน - ครูสังเกตและประเมินผล ง 1.1 ป.5/4 มีจิตสำนึกในการใช้ พลงั งานและทรัพยากร อยา่ งประหยดั และ คุ้มค่า

กจิ กรรม 7 วางแผนการใช้ (Implement) คำชแี้ จง ให้คุณครูวางแผนกำหนดการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ทีพ่ ฒั นาตามกรอบตาราง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 การทำวนุ้ ว่านหางจระเข้ วัน/เดอื น/ปี หนว่ ยย่อย/แผนที่จัดการเรียนรู้ สิ่งท่ีต้องเตรียม 19 ก.ย. 2565 - ศกึ ษาข้อมูลการทำวุ้นวา่ นหางจระเข้ - ใบความรู้ 20 ก.ย. 2565 - ร่วมกันวิเคราะหช์ ิน้ งาน ออกแบบ - แบบโครงงาน ชิ้นงาน - ลงมือปฏบิ ัติการทำว้นุ ว่านหางจระเข้ - ว่านหางจระเข้ - นำเสนอโครงงาน - น้ำตาลทราย - สะทอ้ นความตระหนักถึงคุณค่าของ วา่ นหางจระเข้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การทำเจลล้างมอื วา่ นหางจระเข้ วนั /เดอื น/ปี หนว่ ยย่อย/แผนที่จดั การเรียนรู้ สง่ิ ที่ต้องเตรียม 21 ก.ย. 2565 - ศึกษาข้อมูลการทำเจลลา้ งมือวา่ นหาง - ใบความรู้ 22 ก.ย. 2565 จระเข้ - แบบโครงงาน - ร่วมกันวิเคราะหช์ น้ิ งาน ออกแบบ ช้ินงาน - ลงมือปฏบิ ัติการทำเจลล้างมอื ว่านหาง - วา่ นหางจระเข้ จระเข้ - แอลกอฮอล์ - นำเสนอโครงงาน - มะนาว - สะท้อนความตระหนักถึงคุณค่าของ - ขวด ว่านหางจระเข้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การทำสบวู่ า่ นหางจระเข้ วนั /เดอื น/ปี หน่วยยอ่ ย/แผนที่จัดการเรียนรู้ สิง่ ทต่ี ้องเตรยี ม 23 ก.ย. 2565 - ศึกษาข้อมลู การทำสบวู่ ่านหางจระเข้ - ใบความรู้ 26 ก.ย. 2565 - รว่ มกนั วเิ คราะหช์ ิ้นงาน ออกแบบ - แบบโครงงาน ชิน้ งาน - ลงมอื ปฏิบัตกิ ารทำสบ่วู ่านหางจระเข้ - วา่ นหางจระเข้ - นำเสนอโครงงาน - แบบพิมพล์ ายตา่ ง ๆ - สะทอ้ นความตระหนักถงึ คุณค่าของ - กลเี ซอรีน ว่านหางจระเข้

กจิ กรรม 8 การวดั และประเมินผล คำชีแ้ จง ให้คุณครู กำหนดวธิ กี าร/เครื่องมือ การวัดผลแลประเมนิ ผล 8.1 ประเมนิ ผู้เรยี น หน่วยย่อย/กจิ กรรม เครอ่ื งมือวดั ผลและประเมินผล ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะ นวัตกรรม (K/P/A) หนว่ ยท่ี 1 การทำวุ้นวา่ น -แบบประเมินความรู้ -แบบประเมนิ ทกั ษะ -แบบสังเกต แบบประเมินผลงาน/ หางจระเข้ ตามตวั ชว้ี ัด เช่น การปฏิบัตงิ าน - แบบประเมนิ ชน้ิ งานแปรรูป - กิจกรรมศึกษาข้อมูล แบบทดสอบแบบ (กระบวนการทำงาน) คณุ ลักษณะอันพงึ - กจิ กรรมลงมือปฏิบตั ิตาม ตา่ ง ๆ ประสงค์ ขัน้ ตอน -แบบประเมินแผนผงั -วเิ คราะหง์ าน ความคิดสรปุ เรอ่ื งราว -กำหนดจุดประสงค์ ในทอ้ งถน่ิ -วางแผน - แบบประเมิน -ปฏิบตั ิงาน โครงงาน -ประเมนิ -ปรบั ปรงุ -กิจกรรมสะทอ้ นความภมู ใิ จ ในท้องถิน่ ผ่านกิจกรรมพูด เขียนเสนอผลงาน หน่วยที่ 2 การทำ -แบบประเมนิ ความรู้ -แบบประเมนิ ทักษะ - แบบสังเกต แบบประเมินผลงาน/ การปฏบิ ัติงาน - แบบประเมิน ชน้ิ งานแปรรูป เจลล้างมอื ว่านหางจระเข้ ตามตวั ชี้วัด เช่น (กระบวนการทำงาน) คุณลกั ษณะอันพงึ - กจิ กรรมศึกษาข้อมูล แบบทดสอบแบบ ประสงค์ - กิจกรรมลงมือปฏบิ ัตติ าม ตา่ ง ๆ ขนั้ ตอน - แบบประเมนิ -วิเคราะห์งาน โครงงาน -กำหนดจุดประสงค์ -วางแผน -ปฏิบัตงิ าน -ประเมนิ -ปรับปรงุ -กิจกรรมสะท้อนความภูมใิ จ ในท้องถิ่นผา่ นกิจกรรมพูด เขียนเสนอผลงาน

หนว่ ยยอ่ ย/กิจกรรม เคร่อื งมอื วดั ผลและประเมินผล ความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะ นวัตกรรม (K/P/A) หนว่ ยท่ี 3 การทำสบ่วู า่ น -แบบประเมนิ ความรู้ -แบบประเมินทกั ษะ -แบบสงั เกต แบบประเมนิ ผลงาน/ หางจระเข้ ตามตัวช้วี ัด เชน่ การปฏิบัติงาน - แบบประเมิน ชิน้ งานแปรรปู - กจิ กรรมศึกษาข้อมูล แบบทดสอบแบบ (กระบวนการทำงาน) คุณลักษณะอันพึง - กจิ กรรมลงมือปฏบิ ตั ิตาม ตา่ ง ๆ ประสงค์ ข้นั ตอน - แบบประเมิน -วเิ คราะห์งาน โครงงาน -กำหนดจดุ ประสงค์ -วางแผน -ปฏิบตั ิงาน -ประเมิน -ปรบั ปรุง -กิจกรรมสะท้อนความภมู ิใจ ในท้องถิน่ ผา่ นกจิ กรรมพูด เขียนเสนอผลงาน 8.2 ประเมนิ หลกั สตู ร/หน่วยการเรยี นรู้ มติ ทิ ปี่ ระเมิน วิธีประเมิน เครอ่ื งมือ -แบบสังเกตพฤติกรรมผเู้ รียน 1. พฤติกรรมการเรยี นของผเู้ รยี น -สังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น -แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์ 2. ความเหมาะสมของเวลา/ -สอบถาม/สัมภาษณค์ วาม -แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์ กจิ กรรม คิดเหน็ ของผ้เู ก่ยี วข้อง เช่น นกั เรียนผูเ้ ชย่ี วชาญ (อาจารย์ ศึกษานิเทศก์) 3. ความเหมาะสมกบั สถานศึกษา/ -สอบถาม/สมั ภาษณค์ วาม ชุมชน คิดเหน็ ของผ้เู ชี่ยวชาญ (อาจารย์ ศึกษานิเทศก์) 4. อน่ื ๆ

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 การทำวุ้นวา่ นหางจระเข้ เร่อื ง การบรู ณาการการทำวุ้นว่านหางจระเข้ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผ้สู อน นางสาวนราวรรณ เพนวิมล โรงเรียนบ้านวงั ขอ่ ย สาระสำคญั ว่านหางจระเข้ เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดังนั้น นักเรียนสามารถเห็น และพบเจอได้ง่ายตามท้องถิ่นของนักเรียน การนำว่านหางจระเข้ที่เป็นพืชพืน้ เมืองมาประยุกต์ให้ทันสมัยมาก ยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่แล้ว ให้มีมูลค่ามากยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการทำวุ้นว่านหางจระเข้ นำไปสู่การประยุกต์ให้เปน็ ผลิตภณั ฑ์ใหม่ของคนในทอ้ งถิ่น ตัวชว้ี ัด การเปล่ยี นแปลงทางเคมี ว 2.1 ป.5/3 ค้นคว้ารวบรวมคำศัพทท์ ่ีเก่ยี วขอ้ งกับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่ืน และนำเสนอด้วยการ ต 3.1 ป.5/1 พูด/ เขียน อธิบายเหตผุ ลในการทำงานแตล่ ะขั้นตอนถูกตอ้ งตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/1 มีจิตสำนึกในการใชพ้ ลังงานและทรพั ยากรอย่างประหยัดและคุ้มคา่ ง 1.1 ป.5/4 จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ องหนว่ ย 1. นกั เรียนบอกวิธีการทำวุน้ วา่ นหางจระเข้ได้ 2. นักเรยี นผลิตวุ้นว่านหางจระเข้ได้ 3. นกั เรียนเหน็ คณุ ค่าของวา่ นหางจระเข้ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 1.1 สามารถหาวิธีการทำวุ้นวา่ นหางจระเข้ 1.2 การสรปุ ข้อมูลเกี่ยวกบั ท้องถนิ่ ของตนเองและนำเสนอข้อมูล ออกแบบการนำเสนอขอ้ มูล 2. การสื่อสาร 2.1 การนำเสนอโครงงาน 2.2 มารยาทในการสอ่ื สาร 3. การใชเ้ ทคโนโลยี 3.1 การหาข้อมลู 4. การใชท้ ักษะชีวิต

4.1 นำความรู้และวิธกี ารทำไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้ 5. การแกไ้ ขปญั หา 5.1 การหาวธิ ีคงสภาพผลิตภัณฑ์ กิจกรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมง กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชิน้ งาน 1 - ศึกษาข้อมลู การทำวนุ้ ว่านหางจระเข้ - ร่วมกันวเิ คราะหช์ นิ้ งาน ออกแบบช้นิ งาน - ผลงานการค้นควา้ หาข้อมลู การทำวุ้นว่านหาง จระเข้ 2 - ลงมือปฏิบัตกิ ารทำวนุ้ ว่านหางจระเข้ - แบบโครงงาน - นำเสนอโครงงาน - สะทอ้ นความตระหนักถึงคุณค่าของว่านหางจระเข้ - ผลติ ภณั ฑ์วุ้นวา่ นหางจระเข้ - แบบโครงงานสำหรับนำเสนอผลงาน การวัดผลและประเมินผล ประเดน็ การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ/ระดบั คะแนน 1. แบบประเมนิ การนำเสนอ โครงงาน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) 2. แบบสงั เกต - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ ผลงานแล้วเขา้ ใจง่าย ผลงานแล้วพอเขา้ ใจ 3. แบบประเมินคณุ ลักษณะ เขยี นและอ่านถูกตอ้ ง ผลงานแลว้ เขา้ ใจงา่ ย ผลงานแล้วเขา้ ใจง่าย เขยี นและอา่ นถกู ตอ้ ง อนั พึงประสงค์ 100% 80% เขยี นและอา่ นถกู ตอ้ ง เขียนและอา่ นถกู ต้อง - ทำงานราบร่ืน ไม่ - ทำงานไมค่ ่อย ผดิ พลาด รว่ มมอื กันดี 90% 85% ราบรืน่ ผดิ พลาดเยอะ มาก เป็นระบบ รว่ มมือกนั - ทำงานราบร่ืน ไม่ - ทำงานราบร่ืน - มีพฤตกิ รรม - มีพฤติกรรมไมค่ อ่ ย กระตอื รือรน้ ตอ่ การ ผดิ พลาด ร่วมมอื กันดี ผิดพลาดเลก็ น้อย กระตือรือรน้ ตอ่ การ เรียนรมู้ าก และตัง้ ใจ เรียนรู้ และไม่คอ่ ย ทำงานดมี าก มีความ ร่วมมอื กนั ดี ตัง้ ใจทำงาน ไมม่ ีความ พอเพยี งดีมาก พอเพยี งเท่าท่คี วร - มพี ฤตกิ รรม - มพี ฤติกรรม กระตือรือร้นต่อการ กระตือรือร้นตอ่ การ เรยี นรดู้ ี และตั้งใจ เรียนรู้ และตง้ั ใจทำงาน ทำงานดี มคี วาม มคี วามพอเพยี ง พอเพยี งดี

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ภาค เรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การทำเจลลา้ งมือว่านหางจระเข้ เร่อื ง การบรู ณาการการทำเจลล้างมือวา่ นหางจระเข้ เวลา 2 ชว่ั โมง ครูผูส้ อน นางสาวนราวรรณ เพนวิมล โรงเรียนบ้านวังขอ่ ย สาระสำคญั ว่านหางจระเข้ เป็นพืชเศรษฐกจิ ที่สำคัญของจงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ ดังน้ัน นักเรยี นสามารถเหน็ และพบ เจอได้ง่ายตามท้องถิ่นของนักเรียน การนำว่านหางจระเข้ที่เป็นพืชพื้นเมืองมาประยุกต์ให้ทันสมัยมากยิ่งขึ้น เพื่อ เพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่แล้ว ให้มีมูลค่ามากยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการทำวุ้นว่านหางจระเข้นำไปสู่การ ประยุกต์ใหเ้ ป็นผลติ ภัณฑ์ใหม่ของคนในท้องถิน่ ตัวชวี้ ดั ว 2.1 ป.5/3 การเปลย่ี นแปลงทางเคมี ต 3.1 ป.5/1 ค้นคว้ารวบรวมคำศัพทท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกับกล่มุ สาระการเรยี นรู้อนื่ และนำเสนอด้วยการ พดู / เขยี น ง 1.1 ป.5/1 อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขน้ั ตอนถูกตอ้ งตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/4 มจี ติ สำนึกในการใช้พลงั งานและทรัพยากรอย่างประหยดั และคุ้มค่า จดุ ประสงคก์ ารเรียนรขู้ องหน่วย 1. นักเรียนบอกวิธกี ารทำเจลล้างมือวา่ นหางจระเข้ได้ 2. นักเรยี นผลิตเจลล้างมือวา่ นหางจระเข้ได้ 3. นกั เรียนเหน็ คุณค่าของวา่ นหางจระเข้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน สมรรถนะสำคญั 1. ความสามารถในการคิด 1.1 สามารถหาวธิ กี ารทำเจลล้างมือวา่ นหางจระเข้ 1.2 การสรุปขอ้ มูลเก่ียวกบั ท้องถ่นิ ของตนเองและนำเสนอขอ้ มูล ออกแบบการนำเสนอข้อมลู 2. การส่ือสาร 2.1 การนำเสนอโครงงาน 2.2 มารยาทในการสื่อสาร 3. การใชเ้ ทคโนโลยี หน้า 33 จาก 41

3.1 การหาข้อมลู 4. การใชท้ ักษะชีวติ 4.1 นำความรู้และวธิ กี ารทำไปใชใ้ นชวี ติ จริงได้ 5. การแก้ไขปัญหา 5.1 การหาวิธคี งสภาพผลติ ภณั ฑ์ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมง กิจกรรมการเรยี นรู้ ช้ินงาน 1 - ศึกษาข้อมลู การทำเจลล้างมือว่านหางจระเข้ - ร่วมกันวเิ คราะห์ช้ินงาน ออกแบบชิ้นงาน - ผลงานการค้นคว้าหาข้อมลู การทำเจลล้างมือ ว่านหางจระเข้ 2 - ลงมือปฏบิ ตั กิ ารทำเจลล้างมอื ว่านหางจระเข้ - แบบโครงงาน - นำเสนอโครงงาน - สะทอ้ นความตระหนักถงึ คุณค่าของว่านหางจระเข้ - ผลติ ภณั ฑเ์ จลลา้ งมอื วา่ นหางจระเข้ - แบบโครงงานสำหรับนำเสนอผลงาน การวดั ผลและประเมินผล ประเด็นการประเมิน ระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน 1. แบบประเมนิ การนำเสนอ โครงงาน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) 2. แบบสังเกต - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ ผลงานแลว้ เขา้ ใจง่าย ผลงานแลว้ พอเข้าใจ 3. แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ เขียนและอ่านถกู ต้อง ผลงานแล้วเขา้ ใจง่าย ผลงานแลว้ เข้าใจง่าย เขียนและอ่านถกู ต้อง อันพงึ ประสงค์ 100% 80% เขยี นและอา่ นถกู ต้อง เขยี นและอ่านถกู ตอ้ ง - ทำงานราบรน่ื ไม่ - ทำงานไม่ค่อย ผดิ พลาด รว่ มมือกันดี 90% 85% ราบรื่น ผดิ พลาดเยอะ มาก เป็นระบบ ร่วมมอื กนั - ทำงานราบรนื่ ไม่ - ทำงานราบรน่ื - มีพฤติกรรม - มีพฤติกรรมไมค่ ่อย กระตอื รอื รน้ ต่อการ ผดิ พลาด ร่วมมอื กนั ดี ผดิ พลาดเล็กน้อย กระตือรอื ร้นตอ่ การ เรยี นรมู้ าก และตัง้ ใจ เรยี นรู้ และไม่ค่อย ทำงานดมี าก มีความ ร่วมมอื กันดี ตง้ั ใจทำงาน ไมม่ คี วาม พอเพียงดมี าก พอเพียงเทา่ ที่ควร - มีพฤติกรรม - มีพฤตกิ รรม กระตอื รอื รน้ ตอ่ การ กระตือรือรน้ ต่อการ เรยี นรดู้ ี และตง้ั ใจ เรยี นรู้ และต้ังใจทำงาน ทำงานดี มีความ มคี วามพอเพยี ง พอเพียงดี หน้า 34 จาก 41

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาค เรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 การทำสบ่วู ่านหางจระเข้ เรอื่ ง การบูรณาการการทำสบู่ว่านหางจระเข้ เวลา 2 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางสาวนราวรรณ เพนวิมล โรงเรียนบา้ นวังขอ่ ย สาระสำคัญ วา่ นหางจระเข้ เปน็ พชื เศรษฐกจิ ทสี่ ำคัญของจังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ ดงั นน้ั นกั เรียนสามารถเหน็ และพบ เจอได้ง่ายตามท้องถิ่นของนักเรียน การนำว่านหางจระเข้ที่เป็นพืชพื้นเมืองมาประยุกต์ให้ทันสมัยมากยิ่งขึ้น เพื่อ เพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่แล้ว ให้มีมูลค่ามากยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการทำวุ้นว่านหางจระเข้นำไปสู่การ ประยกุ ตใ์ หเ้ ปน็ ผลิตภณั ฑใ์ หม่ของคนในท้องถิ่น ตัวช้วี ดั ว 2.1 ป.5/3 การเปล่ียนแปลงทางเคมี ต 3.1 ป.5/1 คน้ คว้ารวบรวมคำศัพทท์ ี่เกยี่ วข้องกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่นื และนำเสนอด้วยการ พดู / เขียน ง 1.1 ป.5/1 อธิบายเหตุผลในการทำงานแตล่ ะขน้ั ตอนถูกตอ้ งตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/4 มจี ติ สำนึกในการใช้พลงั งานและทรพั ยากรอย่างประหยัดและคุม้ คา่ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ องหน่วย 1. นักเรยี นบอกวธิ กี ารทำสบวู่ า่ นหางจระเข้ได้ 2. นกั เรยี นผลติ สบวู่ ่านหางจระเข้ได้ 3. นักเรียนเหน็ คณุ ค่าของว่านหางจระเข้ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 1.1 สามารถหาวิธกี ารทำสบู่ว่านหางจระเข้ 1.2 การสรุปข้อมลู เกย่ี วกบั ท้องถิ่นของตนเองและนำเสนอข้อมูล ออกแบบการนำเสนอขอ้ มลู 2. การสือ่ สาร 2.1 การนำเสนอโครงงาน 2.2 มารยาทในการส่ือสาร 3. การใช้เทคโนโลยี หน้า 35 จาก 41

3.1 การหาข้อมลู 4. การใชท้ ักษะชีวติ 4.1 นำความรู้และวิธีการทำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้ 5. การแกไ้ ขปญั หา 5.1 การหาวธิ คี งสภาพผลิตภัณฑแ์ ละการออกแบบ กจิ กรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมง กิจกรรมการเรยี นรู้ ชิน้ งาน 1 - ศึกษาข้อมลู การทำสบวู่ า่ นหางจระเข้ - ร่วมกันวเิ คราะห์ชิ้นงาน ออกแบบช้นิ งาน - ผลงานการค้นคว้าหาข้อมลู การทำสบ่วู า่ นหาง จระเข้ 2 - ลงมือปฏิบัตกิ ารทำสบู่ว่านหางจระเข้ - แบบโครงงาน - นำเสนอโครงงาน - สะทอ้ นความตระหนักถงึ คุณค่าของว่านหางจระเข้ - ผลิตภณั ฑ์สบวู่ ่านหางจระเข้ - แบบโครงงานสำหรับนำเสนอผลงาน การวดั ผลและประเมนิ ผล ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ/ระดับคะแนน 1. แบบประเมนิ การนำเสนอ โครงงาน ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 2. แบบสงั เกต - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ - สามารถนำเสนอ ผลงานแลว้ เข้าใจงา่ ย ผลงานแล้วพอเข้าใจ 3. แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ เขียนและอา่ นถูกต้อง ผลงานแลว้ เขา้ ใจง่าย ผลงานแล้วเข้าใจงา่ ย เขียนและอา่ นถกู ตอ้ ง อนั พงึ ประสงค์ 100% 80% เขยี นและอา่ นถกู ต้อง เขียนและอ่านถูกตอ้ ง - ทำงานราบรน่ื ไม่ - ทำงานไม่ค่อย ผดิ พลาด รว่ มมอื กันดี 90% 85% ราบร่ืน ผดิ พลาดเยอะ มาก เปน็ ระบบ ร่วมมือกัน - ทำงานราบร่นื ไม่ - ทำงานราบรนื่ - มพี ฤตกิ รรม - มพี ฤติกรรมไม่ค่อย กระตือรือร้นต่อการ ผดิ พลาด ร่วมมอื กันดี ผิดพลาดเลก็ นอ้ ย กระตือรอื ร้นตอ่ การ เรียนรมู้ าก และตั้งใจ เรยี นรู้ และไม่คอ่ ย ทำงานดีมาก มคี วาม ร่วมมอื กนั ดี ตั้งใจทำงาน ไมม่ ีความ พอเพียงดมี าก พอเพยี งเทา่ ท่ีควร - มีพฤติกรรม - มีพฤติกรรม กระตือรือรน้ ตอ่ การ กระตอื รอื รน้ ตอ่ การ เรียนรดู้ ี และตงั้ ใจ เรียนรู้ และตัง้ ใจทำงาน ทำงานดี มีความ มีความพอเพยี ง พอเพยี งดี หน้า 36 จาก 41

ภาพกิจกรรมต่าง ๆ ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning หน้า 37 จาก 41

การทำผา้ มดั ย้อมของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 การใชส้ อ่ื การเรยี นการสอนทห่ี ลากหลาย หน้า 38 จาก 41

การทดลอง วชิ าวิทยาศาสตร์ นักเรียนช้นั ปรถมศึกษาปีที่ 1 ผลงานนักเรียน เรอื่ ง ระบบนเิ วศ หน้า 39 จาก 41

นักเรยี นร่วมกนั ทำหารในกิจกรรมค่ายลูกเสอื นักเรียน ครู และผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา มีการเขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาเป็นประจำ หน้า 40 จาก 41

การนเิ ทศภายใน ซึ่งชว่ ยใหค้ รผู สู้ อนมีการพัฒนาตนเอง และเรียนร้ตู ลอดเวลา หน้า 41 จาก 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook