Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 42723_หน่วย7_กฎหมาย 3

42723_หน่วย7_กฎหมาย 3

Published by fnfernfn, 2021-03-11 11:40:17

Description: 42723_หน่วย7_กฎหมาย 3

Search

Read the Text Version

กฎหมายอนื่ ที่ควรรู้ กฎหมายเกย่ี วกบั การรบั ราชการทหาร พระราชบัญญัติรบั ราชการทหาร พุทธศักราช ๒๔๙๗ ได้กาหนดการรับราชการทหารไว้ ดังน้ี ชายสัญชาติไทยต้องไปขนึ้ บญั ชที หารกองเกนิ เมอื่ อายุ ๒๑ ปี ต้องเข้ารับหมายเรยี กและทาการ เมื่ออายุ ๑๘ ปี ตรวจเลือกเปน็ ทหารประจาการ หากได้เข้าเป็นทหารกองประจาการ บุคคลทีส่ าเร็จวิชาทหารตามหลักสูตร ตอ้ งรับราชการ ๒ ปี รับราชการทหารน้อยกว่า ๒ ปี หากฝ่าฝนื ถกู จาคกุ ไมเ่ กนิ ๓ เดอื น บุคคลที่ข้ึนทะเบยี นกองประจาการ ปรับไม่เกิน ๓๐๐ บาท หรือทัง้ จาทั้งปรบั แลว้ ปลดเปน็ ทหารกองหนนุ ประเภท ๑ หากรายงานตัวกอ่ นเจา้ หน้าที่ยกเรอื่ ง จะถกู ลงโทษ ๑ เดือน ปรับไมเ่ กนิ ๑๐๐ บาท หรือทงั้ จาทั้งปรับ

กฎหมายเก่ียวกับภาษี ภาษีเงินได้ • เปน็ ภาษีที่ได้รับมอบหมายอานาจรัฐเรียกเก็บจากบุคคล เพอื่ ใช้จ่ายในการบรหิ ารประเทศหรอื ท้องถน่ิ การเสียภาษี ใหแ้ กร่ ัฐจงึ เป็นหนา้ ทีส่ าคญั ของพลเมอื ง • ภาษีเงินได้จดั เก็บทุกปจี ากผ้ทู ม่ี เี งนิ ได้เกดิ ขึ้นระหว่างปภี าษี โดยมสี ถานะอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ได้แก่ บุคคลธรรมดา ห้างห้นุ สว่ นสามญั หรอื คณะบคุ คลทม่ี ิใชน่ ิติบคุ คล ผู้ถงึ แกค่ วามตายระหวา่ งปภี าษี และกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง • มเี งินไดต้ ้องยืน่ แบบ ภ.ง.ด.๙๐ หรือ ภ.ง.ด.๙๑ พร้อมทัง้ ชาระภาษที ี่สานกั งานสรรพากรพ้นื ทส่ี าขาธนาคารไทย พาณชิ ยห์ รอื ธนาคารกรุงไทยแลว้ แต่กรณี และท่ที าการไปรษณีย์

ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล • เป็นภาษอี ากรประเภทหนึ่งท่ีจัดเกบ็ จากเงนิ ได้ของบริษทั หรอื ห้างหุน้ สว่ นนติ ิบคุ คลที่จดทะเบยี นตามประมวล กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ และไม่ได้จดทะเบยี นตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ • จัดเกบ็ ทุกปี โดยคานวณอตั ราภาษจี ากกาไรสทุ ธขิ องบริษัทหรือหา้ งหุ้นสว่ นนิตบิ คุ คล ร้อยละ ๓๐ และจากกาไร สุทธเิ ฉพาะกรณี ท่ีไดจ้ ากประกอบกจิ การวเิ ทศธนกิจ รอ้ ยละ ๑๐ • ผูเ้ สียภาษตี ้องยืน่ เสยี ภาษีท่สี านักงานสรรพากรพน้ื ที่สาขาในท้องทีท่ ่ีสานกั งานใหญ่ตงั้ อยู่ และธนาคารพาณิชย์ไทย สาขาในเขตพน้ื ท่ีกรุงเทพมหานคร ส่วนจังหวดั อน่ื ยนื่ ได้ทีท่ วี่ ่าการอาเภอทอ้ งทท่ี ่ีตง้ั อยู่

ภาษีมลู คา่ เพิ่ม • เป็นภาษีทางออ้ มทเี่ รียกเก็บจากผู้ซื้อสนิ คา้ หรอื รับบรกิ าร โดยคานวณเกบ็ จากมลู ค่าส่วนที่เพิ่มข้ึนในแต่ละขน้ั ตอน ของการผลติ และการจาหนา่ ย หรอื การให้บรกิ าร • ผูม้ ีหน้าท่เี สียภาษีมลู ค่าเพ่ิม ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบการทขี่ ายสินคา้ หรอื บริการทีม่ รี ายรบั เกินกวา่ ๑.๘ ล้านบาทตอ่ ปี โดยคานวณภาษที ่ีตอ้ งเสยี จากภาษีขายหกั ดว้ ยภาษีซ้อื • ผูเ้ สยี ภาษตี อ้ งย่ืนแบบแสดงรายการภาษี ภายในวันที่ ๑๕ ของเดือนถดั ไป ทส่ี านักงานสรรพากรพ้นื ท่ีสาขาในท้องท่ี ท่สี ถานประกอบการต้งั อยู่

ภาษบี ารุงทอ้ งที่ • เปน็ ภาษที ่ีจดั เก็บจากเจา้ ของทดี่ นิ ตามราคาปานกลางทดี่ ินและตามบัญชีอตั ราภาษีบารงุ ท้องท่ี • ทด่ี นิ ที่ตอ้ งเสียภาษีบารุงท้องที่ ไดแ้ ก่ ทดี่ นิ ทเี่ ป็นของบคุ คลหรอื คณะบุคคล ทั้งบุคคลธรรมดาและนติ ิบุคคล ซงึ่ มี กรรมสทิ ธ์ิในที่ดนิ หรอื สทิ ธคิ รอบครองอยใู่ นทีด่ ินทไ่ี มเ่ ปน็ กรรมสทิ ธ์ขิ องเอกชน โดยผู้ทม่ี ีหนา้ ท่เี สยี ภาษี คอื ผรู้ บั ประเมนิ หรือผูท้ ีเ่ ป็นเจา้ ของท่ีดนิ • ผู้เสยี ภาษตี อ้ งยืน่ แบบแสดงรายการ เพ่อื เสยี ภาษีบารุงท้องทต่ี อ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ใี นท้องทซี่ ่งึ ทรัพยส์ ินนน้ั ตัง้ อยู่

ภาษีโรงเรือนและที่ดนิ • เป็นภาษีทจี่ ัดเก็บจากโรงเรอื นหรอื ส่งิ ปลกู สร้างอย่างอ่ืนๆ กับท่ดี ินที่ใชป้ ระโยชนต์ อ่ เนื่องไปกับโรงเรือนหรือ สง่ิ ปลกู สรา้ งนน้ั • ผูม้ หี นา้ ทีเ่ สยี ภาษโี รงเรอื นและที่ดิน ไดแ้ ก่ เจ้าของทรพั ย์สนิ เจา้ ของโรงเรอื นหรอื สง่ิ ปลกู สร้าง • ผู้เสียภาษีตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการ เพื่อเสยี ภาษีโรงเรือนและท่ดี ิน ท่สี านักงานขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ที่สงิ่ ปลูกสรา้ งนนั้ ตั้งอยู่

กฎหมายว่าดว้ ยการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค พระราชบัญญัติคุ้มครองผบู้ ริโภค พุทธศกั ราช ๒๕๒๒ แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๑ มีการบัญญตั สิ ิทธิ ของผู้บรโิ ภคทจ่ี ะไดร้ ับการคุ้มครองตามกฎหมายไว้ ๕ ประการ ได้แก่ • สทิ ธิทจ่ี ะไดร้ ับข่าวสาร รวมท้งั คาพรรณนาคณุ ภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกย่ี วกับ สินค้าและบริการ • สิทธิในการเลอื กหาสินคา้ หรือบรกิ ารโดยความสมัครใจปราศจากการชกั จูง • สทิ ธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการทป่ี ลอดภยั มสี ภาพและคณุ ภาพได้มาตรฐาน เหมาะแก่การใช้ • สทิ ธิทจ่ี ะได้รบั ความเปน็ ธรรมในการทาสัญญา โดยไมถ่ ูกเอารดั เอาเปรยี บ • สทิ ธิท่จี ะได้รับการพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หาย เมื่อมกี ารละเมดิ สิทธผิ ู้บริโภค

กฎหมายระหว่างประเทศทีค่ วรรู้ กฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ • กฎหมายท่มี ีความมงุ่ หมายสาคัญ คอื การเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนษุ ย์ โดยพัฒนาการของกฎหมายนี้ มีผลทาให้เกดิ ความร่วมมอื ระหว่างภาครฐั กบั ภาคเอกชนของนานาประเทศ ในการสอดส่องดแู ลเพื่อใหม้ ีการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย • กฎหมายของไทยท่สี อดคลอ้ งกบั กฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ เชน่ พระราชบัญญตั ิอาชญากรสงคราม พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ ประมวลกฎหมายอาญาทหาร มาตรา ๔๘ เป็นต้น กฎหมายเกีย่ วกบั การคา้ มนุษย์ • กฎหมายทม่ี งุ่ เน้นแกป้ ัญหาการคา้ มนษุ ย์ โดยเฉพาะการค้าสตรีและเดก็ ถือเป็นอาชญากรรมทีเ่ ปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนอย่าง ร้ายแรง และมีการกระทากนั อยา่ งกวา้ งขวางท่ัวโลก • ไทยได้ร่วมลงนามอนุสัญญาสหประชาชาตเิ พ่อื ต่อต้านอาชญากรรมขา้ มชาติ พ.ศ. ๒๕๔๓ และพิธสี ารเพอ่ื ป้องกันการปราบปราม และลงโทษการคา้ มนุษย์ พ.ศ. ๒๕๔๓ และไดต้ ราพระราชบัญญตั ปิ ้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ขึน้ • ประเทศไทยยงั ไดก้ าหนดใหม้ คี ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยข์ นึ้ ทาหน้าทกี่ ากับดแู ลการดาเนินการตาม พนั ธกรณรี ะหวา่ งประเทศ ให้ความร่วมมือและประสานงานกับตา่ งประเทศเกย่ี วกับการป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

กฎหมายว่าด้วยผ้ลู ี้ภยั • กฎหมายทม่ี ุง่ เนน้ ในการปกป้องสทิ ธพิ นื้ ฐานของผลู้ ี้ภัย โดยเฉพาะสทิ ธทิ จี่ ะอาศยั อย่อู ย่างปลอดภัยในประเทศอื่น เพือ่ เตรยี มพรอ้ ม ที่จะสง่ กลบั ประเทศของผู้ลภี้ ัย โดยมกี ารจดั ต้งั สานกั งานขา้ หลวงใหญผ่ ูล้ ภ้ี ัยแห่งสหประชาชาติเปน็ ผ้ดู แู ลและประสานงาน • ประเทศไทยได้ใหก้ ารสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือ และอานวยความสะดวกเกยี่ วกบั ผู้อพยพหนภี ัยเข้ามาในดินแดนไทยอยา่ งต่อเนือ่ ง โดยให้ ความค้มุ ครองตอ่ ผู้อพยพและพฒั นาคุณภาพชวี ิตในด้านตา่ งๆ กฎหมายการสง่ ผู้ร้ายข้ามแดน • กฎหมายที่แสดงความรว่ มมือระหว่างรฐั ในการจัดการกับผู้กระทาความผิดที่พยายามหลบหนี ใหเ้ ข้าสู่กระบวน การยตุ ิธรรม โดยชว่ ยจดั หาและจัดสง่ พยานบคุ คล พยานเอกสาร หรอื พยานวตั ถรุ ะหว่างกัน ซงึ่ กระทาในลักษณะของขอ้ ตกลงภาคี • ตวั อย่างสนธสิ ญั ญาทีเ่ กดิ ขึน้ ระหวา่ งไทยและนานาประเทศ เช่น สนธสิ ญั ญาระหวา่ งรัฐบาลแหง่ ราชอาณาจกั รไทยกับรฐั บาลแหง่ สหรัฐอเมริกา วา่ ด้วยการส่งผู้รา้ ยข้ามแดน พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นต้น

กฎหมายการให้ความคุ้มครองแก่คนชาติ • กฎหมายเพอ่ื ใช้ควบคุมและคมุ้ ครองคนชาตหิ รือผ้ทู มี่ สี ัญชาติของรัฐ เม่ือต้องไปอยูใ่ นดินแดนของรัฐอน่ื • กฎหมายเก่ียวกับการใหค้ ุม้ ครองแก่คนชาตมิ บี ทบาทในการกาหนดหน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบพน้ื ฐานซ่ึงมีระหว่างกนั ในระดบั ระหวา่ งประเทษวา่ การก่อให้เกดิ ความเสยี หายแก่คนในชาติหนึง่ หากไม่แกไ้ ข เม่ือถึงจุดหนึ่ง อาจเป็นผลให้เกิดความรับผิดชอบ ระหว่างประเทศต่อสญั ชาตขิ องเขาได้ รวมทัง้ ยงั เชื่อมโยงถงึ วิถีการเพ่อื ใช้สทิ ธิในการเรยี กร้อง และระงบั กรณขี ัดแย้งระหวา่ งรัฐ กฎหมายแรงงานระหวา่ งประเทศ • กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องกับการจา้ งงาน ค่าจา้ งและผลประโยชน์ตอบแทนต่างๆ ในการทางาน ตลอดจนเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ ระหว่างนายจ้างกับลูกจา้ ง และระงับข้อขดั แย้งระหว่างนายจ้างกับลกู จ้าง มกี ารรว่ มกนั จดั ตงั้ องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ ใหแ้ รงงานท่วั โลกมีความเป็นอย่ทู ีด่ ขี นึ้ มีสภาพการทางานทีเ่ กือ้ กลู ต่อผู้ใช้แรงงาน • ประเทศไทยไดร้ ่วมให้สตั ยาบันอนสุ ญั ญาท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมายแรงงานระหว่างประเทศหลายฉบับ และได้พยายามดาเนนิ การ ใหเ้ ป็นไปตามอนสุ ญั ญานั้น

กฎหมายส่งิ แวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ • กฎหมายท่ีมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการคมุ้ ครอง อนรุ กั ษ์ และพฒั นาสิ่งแวดล้อมอย่างย่งั ยนื โดยมหี ลักการสาคญั คือ ส่งิ แวดล้อมถือ เป็นสมบตั สิ ่วนรวมของมนุษย์ชาติ ทีต่ ้องร่วมกันปกปอ้ งและรักษา รวมท้งั ให้ความร่วมมือในการแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดล้อมตาม กาลงั ความสามารถของแต่ละรฐั • กฎหมายสงิ่ แวดลอ้ มระหวา่ งประเทศทีป่ ระเทศไทยไดร้ ว่ มใหส้ ตั ยาบนั เช่น อนสุ ัญญาวา่ ดว้ ยการคา้ สัตวป์ า่ และพืชปา่ ที่ใกล้ สูญพนั ธ์ุระหว่างประเทศ พิธสี ารเกียวโตเพอ่ื ลดการปลอ่ ยแก๊สเรือนกระจก เป็นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook