Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฺBest Practice การบริหารจัดการกล้วยหอมทองตำบลตำหรุ

ฺBest Practice การบริหารจัดการกล้วยหอมทองตำบลตำหรุ

Published by Plol.pp67, 2019-08-15 03:27:33

Description: ฺBest Practice การบริหารจัดการกล้วยหอมทองตำบลตำหรุ

Keywords: กล้วยหอม,ตำหรุ

Search

Read the Text Version

BEST PRACTICE การบรหิ ารจดั การผลผลติ กลว้ ย หอมทองของตาบลตาหรุ โดย นางสาววลพี ร มว่ งอมุ งิ ค์ ครู กศน.ตาบลตาหรุ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบา้ นลาด จงั หวดั เพชรบุรี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คานา Best Practice เร่ือง “การบรหิ ารจดั การผลผลิตกล้วยหอมทองของตาบลตาหรุ” กศน.ตาบลตาหรุ ไดม้ สี ่วนช่วยการส่งเสริม การบรหิ ารจดั การผลผลิตกลว้ ยหอมทองให้มีช่องทางการจาหน่ายตามความตอ้ งการ ของตลาด ทาใหก้ ลว้ ยหอมทองมีมลู ค่าผลผลิตเพิ่มมากขน้ึ ประชาชนในตาบลตาหรุใหร้ จู้ กั วิธีการบรหิ าร จดั การผลผลิตกล้วยหอมทอง ผู้จัดทาหวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ Best Practice เรอื่ ง “การบริหารจดั การผลผลติ กลว้ ยหอมทองของตาบล ตาหรุ” จะเปน็ ประโยชนใ์ นการนาไปประยกุ ต์ใช้ในการบรหิ ารจดั การผลผลิตประเภทอน่ื ๆ และเปน็ ประโยชน์ กับผู้ทสี่ นใจได้

ข สารบัญ คานา................................................................................................................................................................. ก สารบญั .............................................................................................................................................................. ข วธิ ปี ฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice).................................................................................................................๑ ๑. ชื่อผลงาน การบรหิ ารจดั การผลผลิตกลว้ ยหอมทองของตาบลตาหรุ.........................................................๑ ๒. หน่วยงาน/สถานศึกษา/กศน.ตาบล............................................................................................................๑ ๓. ชอ่ื เจ้าของผลงาน นางสาววลีพร ม่วงอมุ ิงค์...........................................................................................๑ ๔. ความสอดคลอ้ ง ..........................................................................................................................................๑ ๕. ที่มาและความสาคญั ของ Best Practice..................................................................................................๑ ๖. วตั ถปุ ระสงค์ ...............................................................................................................................................๒ ๗. วิธดี าเนนิ การ ..............................................................................................................................................๒ ๘. ตัวชว้ี ัดความสาเร็จ .....................................................................................................................................๓ ๙. การประเมนิ และเครื่องมือการประเมนิ ผล ..................................................................................................๓ ๑๐. ผลการดาเนนิ งาน.....................................................................................................................................๓ ๑๑. บทสรปุ ....................................................................................................................................................๓ ๑๒. กลยุทธ์หรอื ปจั จัยท่ีทาให้ประสบความสาเร็จ...........................................................................................๓ ๑๓. ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................๔ ๑๔. การอ้างอิง .................................................................................................................................................๔ ๑๕. ภาคผนวก ................................................................................................................................................๔

๑ วธิ ีปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) ๑. ชอ่ื ผลงาน การบริหารจดั การผลผลติ กลว้ ยหอมทองของตาบลตาหรุ ๒. หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา/กศน.ตาบล กศน.ตาบล ตาหรุ อาเภอ บ้านลาด จังหวัด เพชรบุรี ๓. ชือ่ เจ้าของผลงาน นางสาววลีพร มว่ งอมุ ิงค์ โทรศัพท์ ๐๘๙-๙๑๒๑๙๙๗ โทรสาร – อีเมล์ [email protected] ผูบ้ ริหาร นางวรภร ประสมศรี ๔. ความสอดคล้อง การบริหารจัดการผลผลิตกลว้ ยหอมทองของตาบลตาหรุ สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม ๕.๑ สง่ เสริมใหม้ ากรให้ความร้กู บั ประชาชน ๕.๒ สรา้ งความตระหนกั ถึงความสาคญั ของการสร้างสงั คมสเี ขียว โดยกศน.ตาบลตาหรสุ ง่ เสรมิ การทาปยุ๋ หมักชีวภาพ ปยุ๋ อินทรยี ์ และให้ประชาชนนาปยุ๋ ท่ีไดไ้ ปใช้ กบั ผลผลติ ทางการเกษตรกล้วยหอมทอง ลดปริมาณการใช้สารเคมี เพ่มิ รายได้และโอกาสให้กับประชาชนใน ชมุ ชนตาบลตาหรุ ๕. ทมี่ าและความสาคญั ของ Best Practice ประชากรในตาบลตาหรสุ ่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เนอ่ื งจากสภาพ้ืนท่ีท่ีลาบลุ่มและมีลักษณะสภาพดิน เป็นดินเหนียวปนทราย และดินร่วน มีแหล่งน้าที่ไหลผ่านได้แก่ แม่นา้ เพชรบุรี จงึ เหมาะแก่การทาเกษตร เช่นการทานา ทาไร่ ทา สวน เชน่ มะนาว ชมพู่ มะมว่ ง กล้วยและพืชผักสวนครัว พ้ืนท่ี ในตาบลตาหรุ เปน็ ท่ีพื้นที่ทานา ทาไร่ ทาสวนเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็ มีการเลยี้ งปลา เล้ียงกบ ในครัวเรือนเป็นต้น เพ่ือเป็นอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว จากสภาพบริบทดังกล่าว ตาบลตา หรุได้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การ ทาปุ๋ยหมักชีวภาพ เพ่ือเป็นการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทน ปุ๋ยเคมี อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุน นอกจากนั้นปุ๋ยอินทรีย์ยัง ประกอบด้วยธาตุอาหารหลักในปริมาณสูงกว่าปุ๋ยอินทรีย์ทั่วไป

๒ เหมาะสาหรับพืชทุกชนิด และสามารถผลิต และเลือกใช้ตามความ เหมาะสม ตาบลตาหรุ พน้ื ท่สี ว่ นใหญป่ ลูกกล้วยหอม การบริหารจัดการ กล้วยหอมทองทอ่ี อกมาจงึ เป็นส่งิ ทมี่ ีความสาคัญมาก เมื่อถึงฤดกู าลที่ กล้วยหอมออกพร้อมๆกนั เปน็ จานวนมาก ทาให้เกดิ ปัญหากล้วยหอมล้น ตลาด ทง้ั น้ี กศน.ตาบลตาบลตาหรุ ดาเนินการจัดการศกึ ษาต่อเนอื่ ง พัฒนาอาชีพระยะสนั้ ไม่เกนิ ๓๐ ชั่วโมง(กล่มุ สนใจ) ให้กับประชาชนใน ชมุ ชนและประชาชนท่ัวไปที่สนใจ ไดใ้ ช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ซึง่ ประสบความสาเรจ็ เปน็ อยา่ งมากเพราะได้เปน็ การสง่ เสรมิ อาชพี ใหก้ บั ประชาชนในพืน้ ท่ีตาบลตาหรุ แต่ในช่วงทก่ี ล้วยหอมทองมนี อ้ ยและ มรี าคาแพง กศน.ตาบลตาหรไุ ด้มบี ริหารจัดการผลผลิตโดยการประสานงานกบั สหกรณ์เกษตรประจาอาเภอ บ้านลาด เกีย่ วกบั การบรหิ ารจัดการกลว้ ยหอม โดยสง่ ผลผลติ กลว้ ย หอมทองตาม รา้ นคา้ สะดวกซ้อื (เซเว่น) ซึ่งประสบความสาเรจ็ เป็น อย่างมาก เป็นการบรหิ ารจัดการผลผลติ กลว้ ยหอมทองใหก้ บั ประชาชน ในพนื้ ทตี่ าบลตาหรุ ดาเนินชวี ติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงนั่นคอื พอประมาณ มเี หตุผล และมภี ูมคิ มุ้ กนั ในตวั ที่ดนี ั่นเอง ๖. วัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื เปน็ การส่งเสรมิ การใชป้ ุ๋ยชวี ภาพด้านการเกษตร ๒. เพื่อเป็นการบรหิ ารจัดการผลผลิตกล้วยหอมทองใหม้ ี ช่องทางการจาหน่ายตามความตอ้ งการ ของตลาดหลายชอ่ งทาง ๓. เพื่อเปน็ การเพ่ิมมลู ค่าให้กบั ผลผลิตกล้วยหอมทอง ๗. วิธีดาเนนิ การ ๑. ประชุมวางแผนพร้อมทั้งการลงพื้นที่ตาบลตาหรุ เพ่ือเก็บ ขอ้ มูลด้านการประกอบอาชพี ของประชาชนในตาบลตาหรุ พบว่าตาบล ตาหรุมีอาชีพหลักคอื เกษตรและการปลูกพชื โดยเฉพาะพืชหลักของตาบล ตาหรุ คือการปลกู กล้วยหอมทอง ๒. ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพแทนการใช้ปุ๋ยเคมีกับพืชท่ี ปลกู ให้กับประชาชนในตาบลตาหรุ ๓. ดาเนนิ การบริหารจดั การผลผลติ กลว้ ยหอมทองทม่ี มี ากเกิน ความต้องการของตลาดโดยการการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กลว้ ยหอมฉาบรสหวาน รสเค็ม และรสปาปริกา้ กล้วยหอมอบ ๔. ดาเนินการบริหารจัดการผลผลิตกล้วยหอมทองมีน้อย ราคาแพงบรหิ ารจัดการตลาดโดย ประชุมหารอื สมาชิกในกลุ่มกล้วยหอม

๓ ทองและผนู้ าชมุ ชน ประสานความรว่ มมอื กบั สหกรณเ์ กษตรอาเภอบ้านลาด เรอื่ งการบริหารจัดการกล้วยเพ่ือ เพ่ิมมูลค่า โดยการส่งกล้วยหอมให้กับทางสหกรณ์เกษตรบ้านลาด แพ็คสินค้าส่งตามห้างสรรพสินค้าและ ร้านคา้ สะดวกซื้อ ๕. ประเมนิ ผล การบรหิ ารจัดการกล้วยหอมทองเป็นไปในทศิ ทางท่ดี ีข้นึ มกี ารจดั การผลผลิตหากมี มากกจ็ ะมีการนามาแปรรปู ขาย แต่ถ้าหากผลผลิตกล้วยหอมทองมนี อ้ ยกจ็ ะสง่ จาหนา่ ยใหก้ บั สหกรณ์เกษตร อาเภอบ้านลาดเพ่ือเป็นการเพิ่มมลู ค่าให้กับผลผลิตกลว้ ยหอมทอง ๖. แก้ไข/ปรับปรงุ มีการหาช่องทางการตลาดในด้านอื่นๆ เช่น การสง่ ออกต่างจังหวัด ตา่ งประเทศ โดยตอ้ งขอความรว่ มมอื สนับสนุนจากหน่วยงานอืน่ หากกล้วยหอมทองมีจานวนมาก ๘. ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ ๑. ประชาชนในตาบลตาหรุใช้ปุย๋ ชีวภาพดา้ นการเกษตรเพ่มิ ขนึ้ ๒. สามารถบรหิ ารจัดการผลผลติ กล้วยหอมทองใหม้ ีช่องทางการจาหนา่ ยตามความตอ้ งการ ของตลาด ๓. กลว้ ยหอมทองมีมลู ค่าผลผลติ เพม่ิ มากขน้ึ ๙. การประเมินและเคร่ืองมือการประเมนิ ผล - สอบถามความความพงึ พอใจเร่ืองการบริหารจัดการ ผลผลิตกล่มุ กลว้ ยหอมทองของตาบลตาหรุ ๑๐. ผลการดาเนินงาน - ประชาชนในตาบลตาหรใุ ชป้ ยุ๋ ชีวภาพด้านการเกษตรมาก ข้ึน มกี ารบรหิ ารจดั การผลผลิตกลว้ ยหอมทองให้มีชอ่ งทางการ จาหน่ายตามความตอ้ งการ ของตลาด มีเปน็ การเพ่มิ มลู คา่ ใหก้ ับ ผลผลิตกลว้ ยหอม ๑๑. บทสรุป ประชาชนในตาบลตาหรใุ ห้ความสนใจในการใช้ปุ๋ยชีวภาพ กับพืชทางการเกษตร และมีการบรหิ ารจัดการผลผลติ ทางด้าน เกษตรกลว้ ยหอมทอง ซึ่งสามารถหาช่องทางการตลาดในด้านอ่ืนๆ เช่น การส่งออกต่างจงั หวัด ตา่ งประเทศ โดยได้รบั ความร่วมมอื สนับสนุนจากหนว่ ยงานอน่ื ทีม่ ีส่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการกลว้ ย หอมทองให้ประสบผลสาเรจ็ ๑๒. กลยทุ ธ์หรอื ปัจจยั ท่ีทาใหป้ ระสบความสาเรจ็ ๑. การไดร้ ับการสนับสนุนจากสหกรณ์เกษตรอาเภอบา้ น ลาด/จากผูน้ าชุมชน

๔ ๒. กศน.ตาบลตาหรุดาเนนิ การสนบั สนุนด้านอาชีพการแปรรปู ผลผลติ กล้วยหอมทองท่ีมมี ากเกนิ ความตอ้ งการของท้องตลาด ๑๓. ขอ้ เสนอแนะ ส่งเสริมการบริหารจัดการผลผลิตกล้วยหอมทองด้านการส่งออกหรือการจัดจาหนา่ ยทางด้านอ่ืนๆ เช่นการแปรรปู เปน็ กลว้ ยกวน ทอ็ ฟฟ่ีกล้วย เพอื่ เป็นทางเลอื กและสรา้ งความมนั่ คงให้กับประชาชนทปี่ ลกู กล้วยในพื้นที่ ๑๔. การอ้างอิง ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง https://tinyurl.com/y26273zj สบื คน้ เมื่อวันท่ี ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๖๒ บ้านลาด บา้ นเรา http://www.banlat-banrao.com/way-point-suggestion.html สบื คน้ เม่ือวันที่ ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ๑๕. ภาคผนวก

๕ บริบทพน้ื ทต่ี าบลตาหรุ สว่ นใหญป่ ลกู กลว้ ยหอมทอง กศน.ตาบลตาหรจุ ดั กจิ กรรมการทาปยุ๋ ชวี ภาพเพอ่ื ให้ประชาชนนาไปใชก้ บั พชื ทต่ี นเองปลกู

๖ กศน.ตาบลตาหรจุ ดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การแปรรปู กลว้ ยฉาบ กลว้ ยมว้ น รสชาติตา่ ง ๆ กศน.ตาบลตาหรจุ ดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การแปรรูปกลว้ ย ทากลว้ ยหอมอบ

๗ บรหิ ารจัดการกลว้ ยหอมทองสง่ ขายสหกรณเ์ กษตรบา้ นลาดเพอื่ สง่ หา้ งสรรพสนิ คา้

๘ คณะทางาน นางวรภร ประสมศรี ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบา้ นลาด นางสาววลีพร มว่ งอมุ งิ ค์ ครกู ศน.ตาบลตาหรุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook