เอกสารประกอบการสอนเรอ่ื ง การป้องกันและควบคุมกลมุ่ โรคไมต่ ิดต่อ (Non-communicable diseases prevention and control) โดย อ.นพ.ธัชชัย ศรเี สน จานวนช่วั โมงทีส่ อน 3 ชั่วโมง กลุม่ นิสิตทเ่ี รยี น นสิ ิตแพทยศาสตรช์ นั้ ปที ี่ 2 วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ (Learning Objectives) 1. บอกความหมายของโรคไมต่ ดิ ต่อเร้ือรงั (Non-communicable diseases :NCDs) ไดถ้ กู ต้อง 2. ทราบสถานการณโ์ รคไม่ติดต่อในปจั จุบัน 3. บอกผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจและสงั คมได้ 4. บอกปัจจัยเส่ียงตอ่ การเกดิ กลมุ่ โรค NCDs ไดถ้ ูกต้อง 5. ทราบเปา้ หมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) แห่ง สหประชาชาติ 6. บอกหลักการการควบคุมและปอ้ งกันโรค NCDs ไดถ้ ูกตอ้ ง เน้อื หา ความหมายของกล่มุ โรคไม่ติดตอ่ (Non-communicable diseases: NCDs) สถานการณโ์ รคไมต่ ิดต่อ ผลกระทบของกลมุ่ โรคไม่ตดิ ต่อตอ่ ภาวะเศรษฐกิจและสังคม ปจั จยั เส่ยี งตอ่ การเกดิ กล่มุ โรค NCDs เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) แหง่ สหประชาชาติ หลักการปอ้ งกันและควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อเรอ้ื รัง (NCDs) การคลงั ดา้ นการปอ้ งกันควบคุมกลุม่ โรค NCDs ของประเทศไทย (NCDs financing in Thailand)
ความหมายของกลุ่มโรคไมต่ ิดตอ่ (Non-communicable diseases : NCDs) หมายถึงเปน็ กลมุ่ โรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรังท่ีไม่ไดม้ สี าเหตมุ าจากเชอ้ื โรค ซง่ึ สว่ นใหญ่เกิดจากวถิ ีการใช้ชีวติ หรือ พฤตกิ รรมที่เส่ยี งตอ่ สขุ ภาพ เชน่ การดมื่ เหลา้ สบู บหุ รี่ การไม่ออกกาลงั กาย รับประทานอาหารหวาน มัน และเค็ม จัด หรอื มคี วามเครียด เปน็ ตน้ ซง่ึ ไม่สามารถติดตอ่ ผ่านการสัมผัส ตัวนาโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลงั่ ต่างๆ ได้ โรค ไมต่ ดิ ตอ่ เรื้อรงั มกั จะคอ่ ยๆ มีอาการและรุนแรงข้ึนทลี ะนอ้ ยหากไมไ่ ด้มกี ารรกั ษาควบคุม สถานการณ์โรคไมต่ ดิ ต่อ - กล่มุ โรค NCDs นน้ั ถือเป็นปัญหาใหญท่ กี่ าลังทวีความรุนแรงขนึ้ เรอ่ื ยๆ - พบผปู้ ่วยกลมุ่ โรค NCDs ในประเทศไทยถงึ 14 ล้านคน (พ.ศ. 2552) - 21.4% เปน็ โรคความดนั โลหิตสงู - 19.4% หรือเกอื บ 9 ลา้ นคน มภี าวะไขมนั คลอเรสเตอรอลสงู - 6.9% (3.2 ล้านคน) มภี าวะน้าตาลในเลอื ดสงู - พบวา่ สาเหตกุ ารเสียชวี ิตของประชากรโลกทง้ั หมด ที่เกดิ จากกลุม่ โรค NCDs มีถงึ 63% (พ.ศ. 2552) 80% เปน็ ประชากรของประเทศทกี่ าลังพัฒนา - ในประเทศไทยกลุ่มโรค NCDs ถือเป็นสาเหตุหลักของการเสยี ชวี ติ พบการเสียชีวติ จากกลุ่มโรค NCDs มากกวา่ 300,000 คน หรือ คดิ เป็น 73% ของการเสยี ชวี ติ ของประชากรไทยทง้ั หมด (พ.ศ. 2552) - ในปี 2557 คนไทยสญู เสยี ปสี ุขภาวะ (DALYs) จาแนกตาม 3 กล่มุ โรค พบว่า - กลุม่ โรคตดิ ตอ่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 14 - กลุ่มโรคไม่ติดตอ่ คิดเปน็ ร้อยละ 71 - กลมุ่ การบาดเจบ็ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15 ความหมายของปีสขุ ภาวะ (Disability-AdjustedLife Years: DALYs) คือ เปน็ ดชั นีวัดสถานะสุขภาพของประชากรแบบองคร์ วม เปน็ เคร่อื งช้วี ัดภาระโรคทใ่ี ช้ บอกขนาดของปัญหาสุขภาพในภาพรวมของประชากร โดยมหี น่วยนบั เปน็ ปสี ุขภาวะ ซ่งึ 1 หนว่ ย (1 DALY) เทา่ กับ การสญู เสียช่วงอายขุ องการมีสขุ ภาพทสี่ มบูรณไ์ ปจานวน 1 ปี อนั เกิดจากการ ตายกอ่ นวัยอันควร (Year of life lost : YLL ) หรอื อาจเกดิ จากการมีชีวิตอยูด่ ว้ ยความเจ็บปว่ ย หรือพกิ าร (year of life lost due to disability : YLD) DALYs = YLLs (Years of life lost) + YLDs (years of life lost due to disability) ปสี ุขภาวะ = ปสี ุขภาวะท่ีสูญเสียจากการตายกอ่ นวัยอันควร + ปสี ขุ ภาวะทสี่ ูญเสียไป จากการมชี ีวิตอยดู่ ว้ ยความบกพร่องทางสุขภาพ - แนวโนม้ ประชากรทเ่ี ปน็ กลมุ่ เสย่ี งและปว่ ยด้วยกลมุ่ โรค NCDs เพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ว ซึง่ เป็นผลใหเ้ กดิ การสญู เสยี ปสี ุขภาวะ (DALYs) และความเสยี หายทางเศรษฐกจิ มแี นวโน้มเพ่ิมขนึ้ อยา่ งต่อเนอ่ื ง
- ปี 2560 ประเทศไทยสญู เสียคา่ ใชจ้ า่ ยในระบบบริการสขุ ภาพทรี่ ฐั ต้องจดั สรรและลงทนุ ในการ รักษาพยาบาลกล่มุ โรค NCDs สงู กว่า 200,000 ล้านบาทต่อปี คิดเปน็ ค่าใชจ้ ่ายต่อหวั ประชากรสงู ถงึ 3128 บาทตอ่ คน ซึ่งยงั ไมร่ วมต้นทุนที่ประชาชนต้องรบั ภาระไวเ้ องอกี กว่า 1750 บาทตอ่ คน - โรคในกลมุ่ โรค NCDs ท่มี อี ตั ราผปู้ ่วยและผเู้ สียชีวติ สงู สดุ 6 โรค ได้แก่ - โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ (Cardiovascular & Cerebrovascular Diseases ) - โรคมะเร็ง (Cancer) - โรคถงุ ลมโปง่ พอง (Emphysema) - โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) - โรคความดนั โลหิตสงู (Hypertension) - โรคอว้ นลงพงุ (Obesity) - สถิตปิ ระชากรโลก พบว่าเสียชีวติ จาก - โรคหลอดเลอื ดหวั ใจถงึ 17 ลา้ นคน หรือ คดิ เป็น 48% ของการเสยี ชีวติ จากโรคไม่ ตดิ ตอ่ ทงั้ หมด - โรคมะเรง็ 21% - โรคถุงลมโปง่ พอง รวมโรคปอดเร้อื รังและหอบหืด 12% (4.2 ลา้ นคน) - โรคเบาหวาน 4% (1.3 ลา้ นคน) - องค์การอนามัยโลกได้ทานายไวว้ า่ ประชากรโลกจะเสียชวี ติ จากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ จานวน 23 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2573 โดยส่วนใหญ่อยู่ในประเทศกาลังพฒั นา คิดเปน็ ร้อยละ 85 ผลกระทบจากกลุม่ โรค NCDs ต่อเศรษฐกจิ และสังคม เน่ืองจากปจั จบุ ัน NCDs เป็นปญั หาสาธารณสขุ ท่สี าคญั และเปน็ สาเหตขุ องการเสียชวี ิตของประชากรโลก อันดบั หนง่ึ รวมทง้ั ประเทศไทย สาเหตหุ ลักของการเกดิ โรคในกลุ่ม NCDs มาจากพฤตกิ รรมการใชช้ ีวิตประจาวัน เชน่ การไม่ออกกาลังกาย (Physical inactivity) การทานอาหารรสจัด หวาน มนั เคม็ (unhealthy diet) การด่มื alcohol และสบู บหุ ร่ี (smoking) เป็นต้น ซ่ึงพฤตกิ รรมทีเ่ ปน็ สาเหตอุ าจเกิดจากปจั จัยทางสังคมท่เี ปลยี่ นแปลง เช่น การขยายตัวของสังคม ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยแี ละการสอื่ สาร กลยุทธท์ างดา้ นการตลาด เปน็ ต้น ทาให้ วิธีชีวติ ของประชาชนเปลย่ี นไป จงึ เกดิ พฤติกรรมเหลา่ น้ีตามมา สง่ ผลให้ปว่ ยเป็นกลมุ่ โรค NCDs เพม่ิ ขึ้น ประชาชน ต้องเข้ารบั การรกั ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง รฐั บาลตอ้ งสญู เสยี ค่าใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาลเปน็ จานวนมาก สาหรบั ประเทศไทยในปี 2560 คานวณค่าใชจ้ า่ ยเกีย่ วกบั การรกั ษาพยาบาลจากจานวนประชากรกลางปี พบวา่ มคี า่ ทสี่ ูงถงึ 200,000 ล้านบาท ผลกระทบของการเจบ็ ปว่ ยดว้ ยกลุ่มโรค NCDs อาจสง่ ผลตอ่ คุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ ความสามารถในการทางาน การเสียชวี ิตกอ่ นวัยอนั ควรและความพิการได้ ซ่งึ ถอื วา่ NCDs เปน็ ปจั จัยคกุ คามตอ่ การ พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมอยา่ งหนงึ่
ปัจจยั เสีย่ งต่อการเกดิ กลุ่มโรค NCDs 1. ปัจจัยเสีย่ งทเ่ี ปล่ียนแปลงไมไ่ ด้ - Age - Gender - Family history - Ethnicity - Prior stroke or heart attack 2. ปจั จยั เสย่ี งทเี่ ปลย่ี นแปลงได้ - Unhealthy diet - High blood sugar level - Smoking - High blood pressure - High cholesterol - Physical inactivity - Overweight - Excessive alcohol - Stress จากสาเหตขุ องการเกดิ โรคกลมุ่ NCDS จะเห็นว่าสว่ นใหญม่ สี าเหตมุ าจากการมีพฤติกรรมท่ไี มเ่ หมาะสมต่อ สุขภาพรา่ งกาย เช่น - การทานอาหารอาหาร เคม็ มนั เป็นประจา และไมไ่ ดท้ านผกั ผลไม้อยา่ งเพียงพอ - การด่มื แอลกอฮอลเ์ ป็นประจา ส่งผลใหต้ ับเกดิ การอกั เสบ - การสบู บหุ รจ่ี ดั ทาใหถ้ งุ ลมภายในปอดเสยี หาย - ขาดการออกกาลังกาย ทาให้มไี ขมันสะสมในรา่ งกายมาก และระบบเผาผลาญทางานไดไ้ ม่ดี - ความเครยี ด และการพกั ผ่อนไม่เพยี งพอ ทาใหร้ ะบบต่างๆ ทางานผิดปกติ และเจบ็ ป่วยได้งา่ ย - การซ้ือยาหรอื ผลติ ภัณฑเ์ สริมอาหารมาทานเองบ่อยๆ อาจสง่ ผลใหม้ สี ารบางอยา่ งสะสมในร่างกายจน เกิดโทษได้ - การสมั ผสั กบั แสงและมลภาวะ เชน่ รงั สี UV ควนั ท่อไอเสีย และการสัมผสั กับสารเคมีเปน็ ประจา เช่น เบนซนิ สารกาจัดศัตรพู ืช เป็นตน้ จะเห็นได้วา่ กลุม่ โรค NCDs ยงั เกี่ยวข้องกบั ปจั จัยสงั คมกาหนดสขุ ภาพ (Social determinant of health) เช่น - การศึกษา (Education)
- อาชพี (Occupation) - รายได้ (Income) - เพศ (Gender) - เช้ือชาติ (Ethnicity) - ชนชั้นทางสงั คม (Social class) - นโยบายเชิงสาธารณะ ทางด้านการศกึ ษา การสาธารณสุข การคุ้มครองทางสงั คม เป็นต้น เปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ัง่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) แห่งสหประชาชาติ เน่ืองจากการพัฒนาในดา้ นอตุ สาหกรรม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในชว่ ง 4 ทศวรรษที่ผา่ นมา ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อทรพั ยากรโลกเปน็ อยา่ งมาก ดังน้ันเพ่ือลดผลกระทบ และเกดิ การพัฒนาท่ียงั่ ยืน ทปี่ ระชุมองคก์ าร สหประชาชาติท่มี หานครนวิ ยอรก์ สหรฐั อเมริกา ทม่ี ีสมาชกิ ประเทศตา่ งๆทวั่ โลกรวม 189 ประเทศ จึงไดห้ ารอื และ เห็นพอ้ งต้องกันในการตง้ั เปา้ หมายการพฒั นาทั้งในระดบั ชาตแิ ละระดบั สากลท่ที กุ ประเทศจะต้องบรรลใุ หไ้ ด้ ภายใน พ.ศ. 2558 หรอื ที่เรียกว่า เปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษ หรอื Millennium Development Goals (MDGs) อันประกอบดว้ ย 8 เป้าหมายหลกั ไดแ้ ก่ 1. เป้าหมายที่ 1 ขจัดความยากจนและความหิวโหย 2. เปา้ หมายท่ี 2 ให้เด็กทกุ คนได้รับการศกึ ษาระดับประถมศึกษา 3. เปา้ หมายที่ 3 สง่ เสรมิ บทบาทสตรแี ละความเท่าเทยี มกันทางเพศ 4. เป้าหมายท่ี 4 ลดอัตราการตายของเด็ก 5. เป้าหมายท่ี 5 พฒั นาสุขภาพสตรีมคี รรภ์ 6. เปา้ หมายที่ 6 ตอ่ สโู้ รคเอดส์ มาลาเรีย และโรคสาคญั อื่นๆ 7. เปา้ หมายที่ 7 รักษาและจัดการสงิ่ แวดล้อมอยา่ งยั่งยืน 8. เป้าหมายที่ 8 ส่งเสริมการเป็นหุ้นสว่ นเพ่อื การพฒั นาในประชาคมโลก ภายหลงั จากทเ่ี ปา้ หมายการพัฒนาแหง่ สหสั วรรษ (Millennium Development Goals – MDGs) จานวน 8 เป้าหมายไดส้ นิ้ สุดแล้วในปี พ.ศ. 2558 ท่ีประชุมสมัชชาใหญ่แหง่ สหประชาชาติ (United Nations General Assembly) จงึ ไดจ้ ดั การประชมุ ว่าด้วยการพฒั นาทยี่ ั่งยนื (Sustainable Development Summit) เมอ่ื วนั ที่ 25 กนั ยายนพ.ศ. 2558 เพอื่ วางกรอบวาระการพฒั นาท่ียั่งยนื ของโลกในช่วง 15 ปขี า้ งหน้า ไดม้ ีการกาหนด “เป้าหมายการพฒั นาท่ยี ัง่ ยืน” (Sustainable Development Goals: SDGs) ทง้ั สน้ิ 17 เป้าหมาย (Goals) 169 เป้าประสงค์ (Targets) เพอื่ ใชเ้ ป็นแผนท่นี าทางสาหรบั การพัฒนาที่ยง่ั ยืนในอกี 15 ปขี ้างหน้า (พ.ศ. 2558-2573) การจะบรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืนได้นั้น จาเปน็ จะตอ้ งสรา้ งความสมดลุ ใหเ้ กดิ ขึน้ ทงั้ มติ เิ ศรษฐกจิ Economic Dimension), มิติทางสังคม(Social Dimension) และ มติ ิด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Dimension)
เป้าหมายการพฒั นาที่ย่งั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 17 เปา้ หมายดังนี้ เปา้ หมายท่ี 1 ยุตคิ วามยากจนทกุ รปู แบบในทกุ ท่ี (No Poverty) เป้าหมายที่ 2 ยตุ คิ วามหวิ โหย บรรลคุ วามมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และสง่ เสรมิ เกษตรกรรมที่ยง่ั ยืน (Zero hungers) เป้าหมายท่ี 3 สร้างหลกั ประกันวา่ คนมีชวี ติ ทม่ี สี ขุ ภาพดีและสง่ เสรมิ สวสั ดิภาพสาหรบั ทกุ คนในทุก วยั (Good health and well-being) เป้าหมายท่ี 4 สร้างหลกั ประกนั ว่าทกุ คนมกี ารศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพอยา่ งครอบคลมุ และเท่าเทียม และ สนับสนุนโอกาสในการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ (Quality education) เปา้ หมายท่ี 5 บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศและให้อานาจของผหู้ ญงิ และเด็กหญงิ ทกุ คน (Gender equity) เป้าหมายที่ 6 สรา้ งหลกั ประกนั ว่าจะมีการจัดใหม้ ีนา้ และสุขอนามยั สาหรบั ทุกคน และมีการบรหิ าร จัดการทย่ี งั่ ยนื (Clean water and sanitation) เปา้ หมายท่ี 7 สรา้ งหลกั ประกันวา่ ทุกคนเขา้ ถงึ พลงั งานสมยั ใหมใ่ นราคาทส่ี ามารถซอ้ื หาได้ เชอ่ื ถอื ได้ และยง่ั ยนื (Affordable and clean energy)
เปา้ หมายท่ี 8 สง่ เสรมิ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ท่ีต่อเน่ือง ครอบคลมุ และยงั่ ยนื การจ้างงานเต็มที่ และมผี ลิตภาพ และการมงี านทสี่ มควรสาหรบั ทกุ คน (Decent work and economic growth) เป้าหมายท่ี 9 สร้างโครงสร้างพนื้ ฐานทที่ คี วามทนทาน สง่ เสรมิ การพัฒนาอตุ สาหกรรมทคี่ รอบคลมุ และยัง่ ยืน และสง่ เสริมนวัตกรรม (Industry, innovation and infrastructure) เปา้ หมายท่ี 10 ลดความไมเ่ สมอภาคภายในและระหวา่ งประเทศ (Reduced inequality) เปา้ หมายท่ี 11 ทาใหเ้ มอื งและการตัง้ ถ่นิ ฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มภี มู ติ ้านทาน และย่ังยนื (Sustainable cities) เปา้ หมายที่ 12 สร้างหลักประกนั ให้มรี ปู แบบการบริโภคและผลติ ทีย่ ง่ั ยืน (Responsible consumption and production) เป้าหมายที่ 13 ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งเร่งด่วนเพ่ือตอ่ สกู้ บั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและผลกระทบ ที่เกิดขน้ึ (Climate action) เปา้ หมายที่ 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชนจ์ ากมหาสมทุ ร ทะเลและทรพั ยากรทางทะเลอย่างยงั่ ยนื เพ่ือ การพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน (Life below water) เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟ้นื ฟู และสนบั สนุนการใช้ระบบนเิ วศบนบกอย่างยั่งยนื จดั การป่าไมอ้ ย่าง ยง่ั ยืน ต่อสกู้ ารกลายสภาพเปน็ ทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของทีด่ นิ และฟ้ืนสภาพกลบั มาใหม่ และหยุดการ สญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Life on land) เปา้ หมายท่ี 16 ส่งเสรมิ สงั คมทส่ี งบสขุ และครอบคลมุ เพือ่ การพฒั นาทย่ี ่ังยืน ใหท้ ุกคนเขา้ ถงึ ความ ยุติธรรม และสร้างสถาบัน ทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ล รบั ผิดรบั ชอบ และครอบคลมุ ในทกุ ระดับ (Peace and justice strong institutions) เป้าหมายท่ี 17 เสรมิ ความเขม้ แข็งให้แกก่ ลไกการดาเนินงานและฟืน้ ฟูสภาพหนุ้ ส่วนความร่วมมอื ระดับโลกสาหรบั การพฒั นาที่ยั่งยนื (Partnerships to achieve the goal) ทง้ั นี้ เพือ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาอย่างแทจ้ รงิ จึงได้จดั เปา้ หมายทัง้ 17 เป้าหมาย ให้เป็นหมวดหมู่เพ่ือการ ส่งเสริมใหเ้ กดิ การพฒั นาที่เกีย่ วข้องเขา้ กัน ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย 1. People - ดว้ ยการเตมิ เตม็ ศักยภาพของคนใหม้ คี วามเท่าเทยี มกัน ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย เปา้ หมายที่ 1, 2, 3, 4, 5, และ 11 2. Planet - ด้วยการปกปอ้ งโลกจากการเส่ือมสลาย ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยเปา้ หมายที่ 6, 12, 13, 14, และ 15
3. Prosperity - ดว้ ยการสร้างความมง่ั คัง่ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม รวมทั้งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีให้ มคี วามกลมกลนื กบั ธรรมชาติ โดยประกอบไปดว้ ยเป้าหมายท่ี 7, 8, 9, 10 และ 11 4. Peace - ด้วยการสง่ เสริมใหเ้ กดิ สันตภิ าพทป่ี ราศจากความกลวั และความรุนแรง และ โดยประกอบไป ดว้ ยเป้าหมายท่ี 16 5. Partnership - ด้วยการสร้างความเป็นห้นุ สว่ นแหง่ การพฒั นาให้เขม้ แข็งและเป็นปึกแผน่ โดยการ สง่ เสริมใหท้ ุกประเทศและประชาชนทกุ คนมสี ว่ นร่วมในการพัฒนา ไดแ้ ก่เปา้ หมายที่ 17 จะเหน็ ไดว้ ่า People สะทอ้ นมิตขิ องสังคม Planet สะทอ้ นมติ ขิ องสง่ิ แวดล้อม และ Prosperity สะท้อน มติ ขิ องเศรษฐกิจ ทง้ั นกี้ ารประชมุ สหประชาชาติวา่ ด้วยการค้าและการพฒั นา (United Nations Conference on Trade and Development: UNCTAD) มองว่าปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับ Partnership น้นั มคี วามสาคัญอย่างมากตอ่ การบรรลุเป้าหมายการพฒั นาทย่ี งั่ ยืน ซง่ึ สหประชาชาติกาหนดเปน็ เป้าหมายที่ 17 (partnerships for the goals) เพอ่ื เป็นเปา้ หมายในการเสริมความเขม้ แขง็ ใหแ้ กก่ ลไกการดาเนินงานและการฟ้นื ฟูสภาพหุ้นส่วนความรว่ มมอื ระดบั โลกสาหรับการพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื และเช่ือว่าการพฒั นาการค้าระหว่างประเทศจะเป็นแนวทางหนงึ่ เพอ่ื ให้ ประเทศกาลงั พฒั นาสามารถบรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื นไี้ ด้ การดาเนนิ การเพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายท่ี 3 สรา้ งหลกั ประกันว่าคนมชี วี ติ ท่มี สี ุขภาพดแี ละสง่ เสรมิ สวัสดิภาพ สาหรับทกุ คนในทุกวัย (Good health and well-being) มีการกาหนดเปา้ ประสงค์ (target) ดังน้ี 1. ลดอตั ราการตายของมารดาระหวา่ งคลอด 2. ยตุ กิ ารตายทีป่ อ้ งกันได้ของทารกและเดก็ อายตุ า่ กว่า 5 ปี 3. ยุตกิ ารแพรก่ ระจายของโรคตดิ ต่อทสี่ าคัญ 4. ลดการตายกอ่ นวัยอันควรจากโรคไมต่ ดิ ต่อและการมสี ุขภาพจิตทด่ี ี 5. การป้องกันและรกั ษาการใช้สารเสพตดิ และแอลกอฮอล์ 6. ลดจานวนการตายจากอบุ ตั เิ หตุทางถนน 7. การเข้าถึงขอ้ มูลดา้ นอนามยั เจรญิ พันธ์ุ 8. หลกั ประกนั สุขภาพถว้ นหน้า การเขา้ ถึงยาและบรกิ ารสาธารณสขุ 9. ลดการตายและปว่ ยจากสารเคมอี นั ตรายและมลพษิ a. การดาเนนิ ตามกรอบอนสุ ัญญาว่าดว้ ยเรือ่ งการควบคุมยาสบู b. การวิจยั พฒั นาและการเข้าถึงวัคซนี และยา c. เพ่ิมการใช้เงินดา้ นสขุ ภาพ พัฒนากาลงั คนด้านสาธารณสขุ ใหท้ วั่ ถงึ d. การแจง้ เตอื นลว่ งหน้า การลดความเสีย่ งด้านสุขภาพ การป้องกนั และควบคุมกลมุ่ โรคไม่ติดต่อ องคก์ ารอนามัยโลก (WHO) กาหนดเป้าหมายเพอ่ื ปอ้ งกันและควบคุมกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ สาหรับหรบั ปี คศ. 2025 (9 Global NCDs targets to be attained by 2025) ไว้ดงั นี้
1. A 25% relative reduction in risk of premature mortality from cardiovascular disease, cancer, diabetes or chronic respiratory diseases (อัตราการเสยี ชวี ติ ก่อนวยั อนั ควรดว้ ยโรคไม่ตดิ ต่อ 4 โรคสาคญั (โรคหลอดเลอื ดหัวใจ, มะเรง็ , เบาหวาน และโรคทางเดินหายใจเรอ้ื รงั ) ลดลงรอ้ ยละ 25 2. A 30% relative reduction in prevalence of current tobacco use (ความชุกการบรโิ ภคยาสูบในประชากรทอ่ี ายุมากกว่า 15 ปี ลดลงรอ้ ยละ 30) 3. At least a 10% relative reduction in the harmful use of alcohol (อตั ราการด่ืมเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ในปริมาณอนั ตรายลดลงรอ้ ยละ 10) ; ปรมิ าณการดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลเ์ ฉลย่ี ต่อคน – ลิตรตอ่ คนตอ่ ปี 4. A 30% relative reduction in mean population intake of salt/sodium (คา่ เฉลย่ี การบรโิ ภคเกลือ/โซเดียมในประชากรอายุมากกวา่ 18 ปี ลดลงร้อยละ 30) 5. A 10% relative reduction in prevalence of insufficient physical activity (ความชกุ ของการมีกจิ กรรมทางกายไม่เพียงพอ ลดลงร้อยละ 10) 6. A 25% relative reduction in prevalence of raised blood pressure or contain the prevalence of raised blood pressure (ความชกุ ของภาวะความดันโลหิตสูง ลดลงรอ้ ยละ 25) 7. Halt the rise in diabetes and obesity (ความชกุ ของโรคเบาหวาน และโรคอว้ นในประชากรอายมุ ากกวา่ 18 ปี ขึน้ ไป ไม่เพม่ิ ขึ้น) 8. An 80% availability of the affordable basic technologies and essential medicines, incl. generics, required to treat NCDs (การมเี ทคโนโลยีขัน้ พ้นื ฐานและยาทจี่ าเป็นต่อการรักษาโรคไมต่ ดิ ตอ่ ทสี่ าคัญในสถานบรกิ าร สาธารณสุขของรฐั และเอกชน รอ้ ยละ 80) 9. At least 50% of eligible people receive drug therapy and counselling to prevent heart attacks and strokes (ประชากรอายุ 40 ปี ขน้ึ ไป ไดร้ ับคาปรกึ ษาและยาเพอื่ ปอ้ งกันหวั ใจและโรคหลอดเลือดในสมอง ไม่ น้อยกวา่ รอ้ ยละ 50) โดยองค์การอนามยั โลก (WHO) ไดเ้ สนอมาตรการทม่ี ปี ระสทิ ธิผลในการควบคมุ กลมุ่ โรค NCDs ( Good/Best buy intervention) ไวด้ งั นี้ 1. มาตรการควบคมุ การบรโิ ภคยาสูบ 4 มาตรการ ไดแ้ ก่ - การเพมิ่ พน้ื ทป่ี ลอดควันบหุ รี่ - การให้ขอ้ มลู คาเตือนพิษภยั จากผลติ ภณั ฑ์ยาสบู - การเพม่ิ ราคาและภาษี
- การห้ามโฆษณา 2. มาตรการควบคมุ การบรโิ ภคเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ 3 มาตรการ ได้แก่ - การกาจัดการเขา้ ถึงเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ - การหา้ มโฆษณาเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ - การเพมิ่ ราคาและภาษี 3. มาตรการเพือ่ ส่งเสรมิ พฤตกิ รรมการบรโิ ภค 3 มาตรการ ไดแ้ ก่ - การลดการบรโิ ภคและโซเดยี ม - การลดการบริโภคไขมันทรานส์ - การรณรงคส์ ร้างกระแสความตื่นตัวในการบริโภคอาหารสุขภาพ 4. มาตรการรณรงคส์ าธารณะทางสื่อมวลชน เพอื่ การเพ่ิมกจิ กรรมทางกาย 5. มาตรการด้านวคั ซีนตบั อกั เสบบี ในการควบคุมมะเรง็ เพอ่ื ใหเ้ กิดประสทิ ธผิ ลของการควบคมุ จาเปน็ อย่างยิ่งท่หี ลายๆประเทศต้องดาเนนิ การมาตรการท่ี WHO เสนอเพอื่ บรรลเุ ป้าหมายของการควบคมุ และปอ้ งกนั โรค รวมท้งั เป้าของการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน ตามข้อตกลงรว่ มกัน ของกลมุ่ ประเทศสมาชิกองคก์ ารสหประชาชาติ (UN) และองค์การอนามัยโลก (WHO) ท่ีกาหนดเป้าหมายเพอ่ื การ พัฒนาทย่ี ง่ั ยืน (SDGs) ภายในปี 2573 ทง้ั หมด 17 ขอ้ มงุ่ หวงั แก้ปัญหาทโ่ี ลกกาลงั เผชิญอยู่ หนึ่งในนนั้ คอื เปา้ หมาย ข้อ 3 (รบั รองการมสี ุขภาพและความเปน็ อยู่ท่ีดีของทกุ คนในทกุ ช่วงอายุ) ซึ่งเป้าหมายขอ้ ดงั กลา่ วมีความสมั พันธ์ เชอื่ มโยงกบั ปญั หาสังคมด้านอนื่ ๆ อยา่ งมนี ัยสาคญั โดยประเทศไทยและกลมุ่ ประเทศอาเซยี นเลง็ เห็นความรุนแรง ของปญั หากลุม่ โรค NCDs จงึ ดาเนินตามมาตรการดงั กลา่ ว เพ่ือประสทิ ธภิ าพในการควบคมุ ป้องกันปญั หาโรค NCDs อนั จะสง่ ผลใหป้ ระเทศไทยบรรลเุ ป้าหมายลดโรคและลดการสูญเสียทางเศรษฐกจิ ต่อไป พฤตกิ รรมท่คี วรปฏิบตั ิและปฏิบัติในระดับประชาชน เราสามารถปอ้ งกนั โรคในกลุม่ NCDs ได้ โดยการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการดาเนินชีวติ ประจาวันใหด้ ีขน้ึ ดงั นี้ - หลกี เลยี่ งการทานอาหารทมี่ นี า้ ตาลและไขมันสงู อาหารเค็ม มนั อาหารปง้ิ ย่าง เป็นประจา และหันมา ทานผักผลไมใ้ ห้หลากหลาย - ออกกาลงั กายเปน็ ประจา อย่างนอ้ ย 150 นาที/สปั ดาห์ - หลีกเลี่ยงการด่ืมแอลกอฮอล์และการสบู บหุ รี่ - ไมซ่ อื้ ยามาทานเอง โดยเฉพาะยาบารงุ ยาชุด หรืออาหารเสรมิ ทไ่ี มม่ กี ารรับรองสรรพคุณ - หลีกเล่ียงการสมั ผสั กบั มลภาวะและสารเคมีเทา่ ทจ่ี ะทาได้ - พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ และผ่อนคลายความเครียด เพอ่ื สขุ ภาพทด่ี ีทัง้ ร่างกายและจิตใจ
การคลงั ดา้ นการป้องกนั ควบคุมกลุ่มโรค NCDs ของประเทศไทย (NCDs financing in Thailand) งบประมาณสาหรบั การปอ้ งกนั และควบคมุ กลุ่มโรค NCDs มาจากหลายแหล่ง แยกตามระดบั มาตราการ ในการป้องกนั และควบคุม ดังน้ี (ตามแผนภูมิแสดงภาพรวมแหล่งเงนิ สนบั สนุนการปอ้ งกนั และควบคมุ กลมุ่ โรค NCDs แยกตามระดับมาตรการในการป้องกนั และควบคมุ ดา้ นล่าง) 1. มาตรการระดบั บุคคล (Individual-based intervention) เปน็ มาตรการปอ้ งกนั ระดบั ทตุ ิยภมู แิ ละตติย ภมู ิ งบประมาณได้มาจากหลายแหลง่ ได้แก่ สานกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (สปสช) กระทรวง สาธารณสขุ กระทรวงอนื่ ๆทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั สขุ ภาพ องคก์ ารปกครองทอ้ งถ่นิ รฐั วสิ าหกจิ โดยมแี หล่ง งบประมาณมาจากภาษีที่รฐั บาลจดั เก็บ 2. มาตรการระดบั ประชากร (Population-wide intervention) เปน็ มาตรการปอ้ งกนั ระดบั ปฐมภมู ิ งบประมาณได้มาจาก 2 แหลง่ คือ - สานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (สปสช) โดยจา่ ยในลักษณะงบเหมาจ่ายรายหวั ประชากร (capitation) ใหก้ ับกองทุนหลักประกันสขุ ภาพตาบล เพือ่ ให้จดั บรกิ ารด้านสาธารณสขุ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การจดั การปจั จยั เส่ียงในกลุ่มโรค NCDs ในชุมชน - สานกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส) โดยมีแหลง่ งบประมาณมาจากสว่ นเพิม่ ภาษี สรรพสามิตยาสบู และเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ โดยจา่ ยใหก้ บั หน่วยงานภาครัฐ องค์กรไม่แสวงหากาไร เครือขา่ ยวชิ าชพี เครอื ข่ายนกั วิชาการ เครอื ขา่ ยภาคประชาสงั คม
แผนภาพแสดงแหลง่ เงนิ สนับสนุนการปอ้ งกนั และควบคุมกลมุ่ โรค NCDs แยกตามระดบั มาตรการในการปอ้ งกนั และควบคมุ ระดบั มาตรการ มาตรการระดับประชากร งบประมาณของรฐั บาล มาตรการระดับบคุ คล การป้องกันโรค NCDs Population-wide intervention Individual-based intervention ทีม่ าของงบประมาณ การป้องกนั ไม่ให้เกดิ โรค การรกั ษาและปอ้ งกันภาวะแทรกซ้อน Primary prevention Secondary prevention ส่วนเพิ่มร้อยละ 2 ของภาษีสรรพสามิต การจดั การภาวะแทรกซ้อน ยาสบู และเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ Tertiary prevention รายจา่ ยของภาคเอกชน หนว่ ยงานผซู้ ื้อบรกิ าร Purchaser & UC สปสช สธ, กระทรวงต่างๆ,อปท - วิธีการงบประมาณ รัฐวิสาหกจิ , CSMBS - เหมาจ่ายรายหัว เหมาจา่ ยรายหวั ครวั เรอื นจา่ ยเอง หนว่ ยงานผใู้ หบ้ รกิ าร Provider & สนับสนุนทุน capitation capitation และ เหมาจ่ายรายหวั สนับสนุนทุน & -โรงพยาบาลระดบั ต่างๆ out-of pocket ตวั อย่างมาตรการป้องกันโรค NCDs คา่ ตอบแทนตาม capitation สวัสดกิ ารนายจา้ ง -หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง payment & -หนว่ ยงานภาครัฐ UC ผลงาน pay for -องคก์ รไม่แสวงหากาไร PP area- performance อนื่ ๆ -เครือข่ายวิชาชีพ/นกั วชิ าการ/ภาคประชา based scheme UC งบอน่ื ๆที่ -ค่าตรวจสุขภาพ ภาครัฐ,นายจ้าง สังคม PP เก่ยี วขอ้ ง ,ครวั เรือน express- -กจิ กรรม/โครงการรณรงคเ์ กี่ยวกับโรคและ -กจิ กรรม/ based กับ UC -กจิ กรรม/โครงการ PP ที่หน่วยงาน scheme ปัจจัยเสยี่ ง NCDs โครงการ PP ดาเนินการ ภาครฐั ,อนื่ ๆ* *อ่นื ๆ ได้แก่ สวัสดิการนายจา้ ง,องค์กรไม่ -การผลติ และเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ ระดับชมุ ชน โดย แสวงหากาไร,ความชว่ ยเหลอื จาก -อื่นๆ งบผ่านกองทนุ ต่างประเทศ หลกั ประกัน สุขภาพตาบล ดัดแปลงจาก นพ.ภษู ติ ประคองสาย.วารสารวิชาการสาธารณสุข,2559 References 1. https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/noncommunicable-diseases 2. สถานการณก์ ารดาเนินงานดา้ นการปอ้ งกนั และควบคุมโรคไมต่ ดิ ตอ่ (NCDs) กรมควบคมุ โรค กระทรวง สาธารณสขุ ปี พ.ศ. 2560
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: