๗.๒ ตารางที่อ้างอิงจากแหล่งอื่นให้แจ้งที่มาโดยเขียนบรรณานุกรมแสดงแหล่งที่มาไว้ ด้วยตอนทา้ ยตาราง ๗.๓ ขนาดของตารางไม่ควรเกินกรอบของหน้าพิมพ์รายงานโครงการ ถ้าเป็นตาราง ขนาดใหญ่มาก ควรพยายามลดขนาดลงโดยการถ่ายเอกสารย่อส่วนหรือใช้วิธีการอื่น ๆ ตามความ เหมาะสมแตจ่ ะต้องสะอาด ชัดเจน อา่ นออกงา่ ย ๗.๔ กรณีตารางมีความยาวหรอื กวา้ งมากจนไมส่ ามารถบรรจุในหนา้ กระดาษเดยี วกันได้ ให้ย่อส่วนหรือแยกมากกว่า ๑ ตาราง โดยพิมพ์ในหน้าถัดไปและพิมพ์เลขที่ตารางรวมทั้งคำว่า “ต่อ” ไวใ้ นวงเลบ็ โดยไมต่ ้องพมิ พ์ช่ือตาราง ทง้ั หมดดังตวั อย่าง เชน่ ตารางท่ี ๑ (ตอ่ ) เปน็ ต้น ๗.๕ ตารางท่ีมคี วามจำเปน็ น้อยตอ่ เน้อื หา ให้แสดงไวใ้ นภาคผนวก ๘. การพิมพ์ภาพประกอบ ภาพประกอบ หมายถึง ภาพลายเส้น ภาพถ่าย ภาพเขียน แผนผัง แผนภมู ิ กราฟ และอนื่ ๆ ๘.๑ องค์ประกอบของภาพประกอบ มดี งั นี้ ๘.๑.๑ ลำดับที่ของภาพประกอบ ให้พิมพ์คำว่า “ภาพที่” ไว้ใต้ภาพ ตามด้วย หมายเลขกำกับภาพเรียงลำดับหมายเลข จากภาพที่ ๑ ไปจนจบเล่ม ทั้งนี้รวมภาพประกอบใน ภาคผนวกดว้ ย ใหข้ ดี เสน้ ใตท้ ุกครง้ั ดังตัวอยา่ งเช่น “ภาพที่ ๑” เปน็ ตน้ ๘.๑.๒ ชื่อภาพประกอบหรือคำอธิบายภาพ ให้พิมพ์ชื่อภาพหรือ คำอธิบายภาพ ต่อจากเลขที่ภาพ โดยเว้นระยะห่าง ๒ ช่วงตัวอักษร หากชื่อภาพยาวเกินกว่า ๑ บรรทัดให้พิมพ์ ตัวอกั ษรตัวแรกของบรรทดั ถัดไปใหต้ รงกบั ตวั อกั ษรตัวแรกของช่ือภาพ ๘.๑.๓ ภาพประกอบที่อ้างอิงมาจากแหล่งอื่น ให้แจ้งที่มาโดยเขียนบรรณานุกรม แสดงแหลง่ ท่มี าไวด้ ้วยตอนท้ายภาพ ๘.๒ ภาพประกอบที่เป็นภาพสี ควรทำเป็นภาพอัดสำเนาสีลงบนกระดาษปอนด์ขาวให้ ชดั เจน ๔๑ ชดุ การเรียน วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ
สรปุ การเขียนรายงานการวิจัยเป็นรายงานเสนอผลการวิจัย โดยทั่วไปจะมีรูปแบบที่แน่นอน และเข้มงวด โดยผู้วิจัยจะต้องเขียนรายงานตั้งแต่บทนำ จนถึงสรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย และข้อเสนอแนะในการวิจัย ซึ่งหลักในการเขียนรายงานการวิจัยนั้น ผู้วิจัยต้องมีความรู้เกี่ยวกับ ความสำคัญของรายงานการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย ประเภทของรายงานการวิจัย หลักการ เขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย ขั้นตอนการเขียนรายงานการวิจัย และ ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย ซึ่งในรายงานการวิจัยสามารถแบ่งโครงสร้างหรือองค์ประกอบ ออกเป็น ๓ ส่วน คอื ๑. ส่วนประกอบตอนตน้ หรือส่วนนำ ๒. ส่วนเนอื้ หาหรอื เน้อื เรื่อง ๓. สว่ นประกอบตอนท้าย ประกอบด้วยบรรณานุกรมและภาคผนวก ชดุ การเรียน วชิ าภาษาไทยเพอื่ ส่ือสารในงานอาชีพ ๔๒
เอกสารอ้างอิง การอา้ งอิงในเนอื้ หาและเอกสารอา้ งองิ /บรรณานุกรม. (ม.ป.ป.). สืบค้นเม่อื ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘, จาก http : //www.dusithost.dusit.ac.th บญุ ธรรม กิจปรดี าบรสิ ทุ ธ์ิ. (๒๕๕๓). คู่มอื การวิจยั การเขียนรายงานการวิจยั และวทิ ยานพิ นธ์ (พิมพค์ ร้ังท่ี ๑๐). กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ รอื นแก้ว. พิสณุ ฟองศรี. (๒๕๕๓). การเขยี นรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ.์ กรุงเทพฯ : ด่านสทุ ธา การพมิ พ์. พลู สขุ เอกไทยเจรญิ . (๒๕๕๑). การเขียนรายงานการค้นคว้า. กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ าสาส์น. ยทุ ธพงษ์ กยั วรรณ.์ (๒๕๔๓). พืน้ ฐานวิจัย. กรุงเทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น. วลั ลภ ลำพาย. (๒๕๔๙). เทคนิควจิ ยั ทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งท่ี ๒). กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. วัลภา อยู่ทอง. (ม.ป.ป.). การอา้ งอิงในเนอื้ หาและการเขียนบรรณานกุ รม. สบื ค้นเมื่อ ๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ , จาก http://www.bsq.vc.go.th. ศรีเพญ็ มะโน. (๒๕๕๒). เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะภาษาไทยเพอ่ื อาชีพ รหัสวิชา ๓๐๐๐-๑๑๐๑. พะเยา : วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา. สริ ลิ ักษณ์ ตีรณธนากุล และไพโรจน์ ตรี ณธนากลุ . (๒๕๕๐). การวจิ ยั และการรายงาน. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ือ่ เสริมกรุงเทพ ฯ. ๔๓ ชุดการเรียน วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี
แบบประเมินตนเองหลงั เรียน หนว่ ยท่ี ๗ http://bit.ly/thai-test7 ชดุ การเรยี น วิชาภาษาไทยเพอ่ื ส่อื สารในงานอาชีพ ๔๔
คณะกรรมการ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี • คณะทปี่ รกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นายประชาคม จนั ทรชติ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นายธวัชชัย อยุ่ พานิช รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา นายพีระพล พลู ทวี ผู้ชำนาญการดา้ นการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี นายสุรตั น์ จนั่ แย้ม ในสถานศึกษาของรฐั และเอกชน ผู้ชำนาญการด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา นางสาววัลลภา อยทู่ อง และกระบวนการเรียนรู้ ผูอ้ ำนวยการศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคี นางรุ่งนภา จิตตป์ ระสงค์ ผู้อำนวยศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนอื นายวทิ ยา ใจวิถี • คณะกรรมการวชิ าการ ผู้ชำนาญการด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา นางสาววลั ลภา อยู่ทอง และกระบวนการเรียนรู้ ผู้อำนวยศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื นายวทิ ยา ใจวถิ ี หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ นายประพนธ์ จนุ ทวเิ ทศ ศนู ย์ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ นางสาวพิมพร ศะรจิ นั ทร์ ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื นางสดุ สาย ศรศี ักดา • คณะกรรมการวิชาการด้านการจัดทำเนื้อหาชดุ การเรียนภาษาไทย นางนวภรณ์ อุน่ เรือน ขา้ ราชการบำนาญ นางนัยรตั น์ กลา้ วิเศษ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย นางสาวศรเี พญ็ มะโน วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพะเยา นางยอดขวัญ ศรีมว่ ง วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาพิษณโุ ลก นางสาวดาวสกาย พูลเกษ วิทยาลัยเทคนคิ กำแพงเพชร นางกรี ะติกาญน์ มาอยู่วัง วทิ ยาลัยเทคนิคเพชรบรู ณ์ นายตะวัน ชัยรัต วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งเชียงใหม่ นายอานนท์ ลีสคี ำ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาอดุ รธานี ๔๕ ชุดการเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี
คณะกรรมการ (ตอ่ ) ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี • คณะกรรมการวชิ าการด้านการจัดทำส่อื ชุดการเรียน นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนอื นายธนสาร รจุ ิรา หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ นายนพิ นธ์ ร่องพชื วิทยาลยั อาชวี ศึกษาแพร่ นายภมู ิพฒั น์ วนพพิ ัฒน์พงศ์ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาพิษณโุ ลก นางกนกขวญั ลืมนดั วทิ ยาลัยสารพดั ช่างสมุทรสงคราม • คณะบรรณาธกิ ารและรูปเลม่ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ นายประพนธ์ จุนทวเิ ทศ ศูนย์สง่ เสรมิ และพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนอื นางสาวพมิ พร ศะรจิ ันทร์ • ออกแบบปก หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ นายธนสาร รุจริ า ชดุ การเรียน วชิ าภาษาไทยเพอ่ื สื่อสารในงานอาชพี ๔๖
ศนูยสงเสรมและพฒันาอาชวีศกึษาภาคเหนือ ถ.หัสดิเสวต.ชางเผอืกอ.เมอืงจ.เชยีงใหม50300 โทร.0-5322-2278โทรสาร0-5322-4677e-mail:[email protected]
Search