Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.9 ร่างคู่มือการปฏิบัติงาน-ประชุม

2.9 ร่างคู่มือการปฏิบัติงาน-ประชุม

Published by tooncreed, 2018-06-19 00:11:16

Description: -

Search

Read the Text Version

คมู อื การปฏบิ ตั งิ าน (Work Manual) เลมที่ .../...กระบวนการจดั ประชมุ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตามพระราชบญั ญตั ิจดั รปู ท่ดี ินเพอื่ เกษตรกรรม พ.ศ. 2558คณะทํางานยอยจัดทาํ คูมือการประชมุ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตาม มนี าคม 2560พระราชบัญญตั จิ ัดรูปทีด่ นิ เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2558

คํานํา การจัดประชุมถือวาเปนกลไกสําคัญในการระดมความคิด การรวบรวมแลกเปลี่ยนขอมูลความรูตาง ๆ เพ่ือประกอบการพิจารณา รวมไปถึงกําหนดนโยบายวางแผน และตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยมีรายงานการประชุมหรือบันทึกการประชุมเปนหลักฐานในการประชุมหรือการมอบหมายงานใหนําไปปฏิบัติตอไป การจัดทําคูการปฏิบัติงานกระบวนการจัดประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2558 ใหมีประสิทธิภาพและเปนไปดวยความเรยี บรอยนั้น โดยหลักการใหญ ๆก็เปนเชนเดียวกันกับการจัดการประชุมโดยทั่วไป ท่ีผูดําเนินการจัดประชุมจะตอ งเตรียมความพรอมทง้ั กอนการประชุม ระหวา งดําเนินการประชมุ และหลังการประชุม ในสวนการจัดทํารายงานการประชุม จะตองมีการประสานงานกับผูบริหารที่เขารวมประชุม รวมท้ังขอความรวมมือหนวยงานตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการประชุม โดยมีฝายบริหารทั่วไปหรืองานบริหารงานท่ัวไปเปนผูรับผิดชอบในการจัดประชุม เชน การประสานงาน งานเอกสารระเบียบวาระการประชุม/รายงานการประชุม เพ่ือใหการประชมุ บรรลุตามวัตถุประสงค คณะทาํ งานยอ ย

สารบัญ หนา1.วตั ถปุ ระสงคข องการจดั ทําคมู ือ2.ขอบเขต3.คําจํากัดความ4.หนาทคี่ วามรับผดิ ชอบ5.Work Flow กระบวนการ6.ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน7.มาตรฐานงาน8.เอกสารอางอิง9.แบบฟอรม ทใ่ี ชภาคผนวก 1) ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 2) – สวนท่ี 6 ขอ 25 รายงานการประชุม – แบบรายงานการประชมุ (แบบท่ี 11) 2) พระราชบัญญัติจดั รูปท่ดี นิ เพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ. 2558 3) สิ่งที่ควรรูเ ก่ียวกับการจัดประชมุ 4) วิธีสอื่ สารและการใชภ าษาในการประชุม

คูมอื การปฏบิ ตั งิ าน กระบวนการจัดประชมุ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ตามพระราชบัญญตั ิจัดรูปที่ดินเพอื่ เกษตรกรรม พ.ศ. 2558วัตถปุ ระสงค การจัดทํากระบวนการ “การประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตามพระราชบัญญัติจดั รูปทดี่ นิ เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2558” มวี ตั ถุประสงค ดงั ตอ ไปน้ี 1. เพ่ือใหสํานักงานจัดรูปที่ดินกลางและสํานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวัด มีคูมือการปฏิบัติงานท่ีชัดเจน ถูกตอง และแสดงกระบวนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการดําเนินการจัดประชุมตาง ๆ เพ่ือสรางมาตรฐานในการปฏบิ ตั ิที่มุงไปสูค ุณภาพการใหบ รกิ าร และการทํางานอยางมปี ระสิทธภิ าพ 2. เพื่อเปนหลักฐานแสดงวิธีการ กระบวนการตาง ๆ ในการจัดประชุม ท่ีสามารถถายทอดความรูใหกับผูเขามาปฏิบัติงานใหม และผูท่ีเก่ียวของกับการจัดประชุม เพื่อพัฒนาการทํางานใหเปนเลิศและใชประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน และตัวช้ีวัดของบุคลากร รวมท้ัง เผยแพรใหหนวยงานทีเ่ ก่ยี วขอ งใหเ ขา ใจ และประยุกตใ ชใ นการทํางาน 3. เพื่อใหเปนเครื่องมือในการบริหาร และติดตามการดําเนินการจัดประชุม ใหมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล 4. เพ่ือใหเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานไดใชเปนแนวทางในการทํางานไดทันท่ีแมจะยังไมมีประสบการณการจดั ประชุมขอบเขต แนวทางการจัดประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตามพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่อื เกษตรกรรม พ.ศ. 2558 ครอบคลมุ ขนั้ ตอนดังน้ี 1. การเตรียมการกอนวันประชุม เชน การเตรียมวาระการประชุม การกําหนดวันประชุมการเชิญประชุมพรอมระเบียบวาระและรายงานการประชุมคร้ังกอน การเตรียมสถานที่หองประชุม ปายชื่อคณะกรรมการ การจัดท่นี ง่ั ของกรรมการ การยืมเงนิ คาอาหารและเครือ่ งดม่ื คา เบยี้ ประชุม 2. การดําเนินการในวันประชุม เชน การจัดท่ีน่ังคณะกรรมการ การจัดอาหารและเครื่องดื่มการแจกเอกสารเพิ่มเติม เอกสารการลงช่ือเขาประชุมและจายเบ้ียประชุม การตรวจสอบความถูกตองของเอกสารกรณีเปนผูรับมอบอํานาจหรือมอบหมายใหเขาประชุมแทน การบันทึกการประชุม การจดประเด็นสาํ คญั ในการประชุม 3. การดําเนินหลังวันประชุม เชน การจัดทํารายงานการประชุม การสงรายงานการประชุมการปรบั ปรุงแกไ ขรายงานการประชมุ ตามท่กี รรมการผเู ขา ประชมุ แจงภายในกําหนดเวลา

คําจาํ กัดความ 2 คําจาํ กัดความ ความหมายการประชุม การที่บุคคลต้ังแตสองคนขึ้นไป มาพบปะกันอยางมีจุดมุงหมาย ตามวัน เวลา และสถานทีท่ ก่ี าํ หนด หารือ/ปรกึ ษา ในการหาขอ ยตุ ใิ นเรอ่ื งตาง ๆระเบียบวาระ ลําดบั รายงานท่กี ําหนดไวเ สนอทปี่ ระชุมระเบยี บวาระการประชมุ เรื่องท่ีจะนํามาปรึกษาหารือกันในที่ประชุม โดยเรียงหัวเร่ืองตามลําดับ ความสาํ คญั หรือความนา สนใจรายงานการประชุม การบันทึกความคิดเห็นของผูมาประชุม ผูเขารวมประชุม และมติของคณะกรรมการจัดรปู ทีด่ ินกลาง ทปี่ ระชุมไวเ ปนหลกั ฐาน บุคคลผูดาํ รงตําแหนงในขณะน้ันและบคุ คลผูไดรับการแตงต้ังตามมาตรา 6 แหง พระราชบญั ญตั ิจดั รูปทดี่ ินเพ่อื เกษตรกรรม พ.ศ. 2558ค ณ ะก รรม ก ารจัด รูป ที่ ดิ น บุคคล ผูดํารงตําแห นงใน ขณ ะนั้ น และบุ คคล ผูไดรับ การแตงต้ังจงั หวัด และการคัดเลือก ตามมาตรา 7 แหงพระราชบัญ ญั ติจัดรูปท่ีดิน เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2558คจก. คณะกรรมการจัดรูปท่ีดนิ กลางคจจ. คณะกรรมการจดั รปู ท่ดี ินจังหวัดองคป ระกอบองคป ระชุม บุ ค ค ล ที่ กํ า ห น ด ไว ต า ม ที่ พ ร ะ ร าช บั ญ ญั ติ จั ด รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ เก ษ ต ร ก ร ร มมติทป่ี ระชุม พ.ศ. 2558 บัญญัติ จํานวนสมาชิกหรือกรรมการท่ีมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจํานวน กรรมการทั้งหมด ทาํ ใหการประชุมนน้ั มีผลบงั คับได ขอตกลงโดยลงคะแนนออกเสียงรับรอง หรือปฏิเสธญัตติตาง ๆ วิธีการ ลงคะแนนทาํ แบบเปด เผย หรือลับ แลว แตม ตทิ ป่ี ระชุม

คาํ จาํ กดั ความ 3ผูมาประชุม ความหมาย ผู ท่ี เป น ก ร ร ม ก า ร ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ จั ด รู ป ที่ ดิ น เพ่ื อ เก ษ ต ร ก ร ร ม พ.ศ. 2558 หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากผูเปนกรรมการใหเขารวมประชุม และมสี ทิ ธ์ิในการออกเสียงในท่ีประชมุผไู มม าประชุม ผู ที่ เป น ก ร ร ม ก า ร ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ จั ด รู ป ที่ ดิ น เพ่ื อ เก ษ ต ร ก ร ร มผูเขารว มประชมุ พ.ศ. 2558 แตไ มสามารถเขา รวมประชมุ ได ผูที่ไมไดเปนกรรมการตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมผูจดรายงานการประชมุ พ.ศ. 2558 หรือไมไดรับเชิญเขารวมประชุม แตมาประชุมอาจจะเปนผตู รวจรายงานการประชมุ ผูติดตามหรือผูสังเกตการณ หรือเจาหนาท่ีสํานักงานจัดรูปที่ดินกลาง ทเี่ ก่ยี วขอ งรมต.กษ. ผซู งึ่ ไดรับมอบหมายใหจดรายงานการประชมุผวจ.ประธานกรรมการ เลขานุการคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ พิจารณาตรวจสอบ รายงานการประชุมกอนแจงใหกรรมการเพื่อพิจารณาและรับรองรายงานรองประธาน คจก. การประชมุรองประธาน คจจ. รฐั มนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผูวา ราชการจังหวัด รมต.กษ. / ผวจ. ผูที่มีหนาที่ทําใหการประชุมดําเนินไปตามวัตถุประสงค และอยูในประเด็นท่ีกําหนดไว ตองสรุปมติการประชุมที่ชัดเจน สามารถ ควบคุมสถานการณในหองประชุมได วางตัวเปนกลาง มีความยุติธรรม กลาตัดสินใจ บริหารเวลาการประชุมไดอยางเหมาะสม เพื่อใหเกิดความ เขา ใจที่ตรงกันทกุ ฝาย ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ และปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลัดจังหวัด ในจังหวัดท่ีไดมีพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตสํารวจการ จัดรูปที่ดนิ

4 คําจาํ กดั ความ ความหมายหัวหนาสํานักงานจัดรูปที่ดิน ผูอํานวยการสํานักงานจดั รูปท่ดี ินกลางกลางหัวหนาสํานักงานจัดรูปที่ดิน ผไู ดร บั การแตงต้ังใหป ฏิบัตหิ นา ทห่ี ัวหนา สาํ นกั งานจดั รปู ที่ดนิ จังหวดัจังหวัดเลขานกุ าร หัวหนาสํานักงานจัดรูปที่ดินกลางหรือหัวหนาสํานักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดผจู ดั การประชุม มีหนาท่ีตองศึกษาขอมูลการประชุมลวงหนา และใหขอมูลท่ีถูกตองตอท่ี ประชุม รวมท้ังเสนอความคิดเห็นและขอมูลแกประธาน อํานวยความ สะดวกภายในหองประชุม ไมฝกใฝฝา ยใดฝา ยหน่ึง ไมเปด เผยขอมูลลับทาง ราชการ เจา หนา ทฝี่ ายบรหิ ารหรือผไู ดรับมอบหมายในการจัดประชุม เก่ยี วกับการสื่อสารในการประชุม เสนอ คอื ผเู ขา ประชุมมสี ทิ ธิ์ทีจ่ ะเสนอเร่ืองใดเรื่องหน่ึงใหที่ประชุมพจิ ารณา ขอเสนอ คือ เรอ่ื งที่เสนอในท่ีประชมุ สนับสนุน คอื การเหน็ ดว ยกับขอ เสนอในทปี่ ระชมุ คดั คา น คือ การไมเหน็ ดว ยกับขอเสนอในท่ปี ระชมุ การอภปิ ราย คอื การแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุม ผา น คอื ขอเสนอที่ที่ประชุมยอมรับ ตก คือ ขอเสนอทที่ ปี่ ระชุมไมยอมรับ มติ คอื การขอความคดิ เหน็ จากผูที่เขา ประชมุ เพ่ือหาขอ ยตุ ิ มติของที่ประชุม คือ ขอตดั สินใจของทป่ี ระชุมเพื่อใหน าํ ไปปฏบิ ัติ มติโดยเอกฉนั ท คือ มติท่ผี ูเ ขาประชมุ เหน็ พองตองกันทุกคน มติโดยเสียงขา งมาก คือ มติท่ีผเู ขาประชุมสวนใหญเหน็ ดวยกบั ขอตดั สนิ ใจน้นั

5หนา ท่คี วามรับผิดชอบ 1. ผูอํานวยการสํานักงานจัดรูปท่ดี นิ กลาง 2. หัวหนา สาํ นกั งานจดั รปู ทด่ี นิ จงั หวดั 3. เจาหนาที่ฝา ยบรหิ ารท่ัวไป 4. เจา หนาทส่ี วนวศิ วกรรม 5. เจาหนาท่สี ว นกฎหมายจดั รูปทด่ี นิ 6. เจา หนาที่สว นติดตามและประเมนิ ผล 7. เจาหนาทีส่ วนกองทนุ จดั รูปทด่ี นิ 8. เจา หนา ทส่ี ํานักงานจัดรูปที่ดินจงั หวัด งานบริหารทว่ั ไป 9. เจา หนา ทสี่ ํานักงานจดั รปู ท่ดี ินจังหวัด ฝา ยวิศวกรรม 10.เจาหนาที่สาํ นักงานจัดรปู ทดี่ ินจังหวดั ฝายกฎหมาย 11.เจา หนาทโ่ี ครงการปฏบิ ตั กิ ารจัดระบบนา้ํ เพ่ือเกษตรกรรม 12.คณะกรรมการจดั รปู ทดี่ ินกลาง 13.คณะกรรมการจัดรูปทด่ี ินจงั หวดั 14.คณะอนุกรรมการ 15.สํานักงานจัดรูปที่ดนิ กลาง 16.สํานกั งานจดั รูปทีด่ ินจงั หวัด 17.โครงการปฏบิ ัติการจัดระบบนา้ํ เพอื่ เกษตรกรรม 1. ผูอํานวยการสํานักงานจัดรูปท่ีดินกลาง ทําหนาที่หัวหนาสํานักงานจัดรูปที่ดินกลางเปนเลขานุการคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินกลาง เสนอบุคคลผูเหมาะสมเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการจดั รปู ทด่ี ินกลางตอ รมต.กษ. พจิ ารณาเพอื่ แตงตง้ั ฯลฯ 2. หัวหนาสํานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวัด ทําหนาที่หัวหนาสํานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวัดเปนเลขานุการคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินจังหวัด เสนอบุคคลผูเหมาะสมเปนกรรมการอื่นในคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินจังหวัดตอ ผวจ. พิจารณาเพ่ือแตงตั้ง การจัดใหมีการคัดเลือกผูบริหารทองถ่ินเปนกรรมการในคณะกรรมการจัดรปู ทด่ี นิ จังหวดั ฯลฯ 3. เจาหนาท่ีฝายบริหารทั่วไป ทําหนาที่ดานธุรการ การเตรียมประชุม การจัดประชุม จัดหองประชุม จดั อาหารเครื่องดื่ม เอกสาร เบี้ยประชุม รายงานการประชมุ ฯลฯ 4. เจาหนาท่ีสวนวิศวกรรม ทําหนาท่ีจัดทําวาระการประชุมที่เกี่ยวของโดยประสานงานกับเจาหนา ทฝ่ี า ยบริหารทั่วไป 5. เจาหนาท่ีสวนกฎหมายจัดรูปท่ีดิน ทําหนาท่ีจัดทําวาระการประชุมที่เกี่ยวของโดยประสานงานกบั เจาหนาทฝี่ ายบรหิ ารทั่วไป 6. เจาหนาท่ีสวนติดตามและประเมินผล ทําหนาที่จัดทําวาระการประชุมท่ีเกี่ยวของโดยประสานงานกับเจาหนาท่ฝี า ยบรหิ ารทั่วไป 7. เจาหนาที่สวนกองทุนจัดรูปที่ดิน ทําหนาที่จัดทําวาระการประชุมท่ีเก่ียวของโดยประสานงานกับเจาหนาที่ฝา ยบริหารทวั่ ไป

6 8. เจาหนาท่ีสํานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวัด งานบริหารท่ัวไป ทําหนาท่ีดานธุรการ การเตรียมประชุมการจัดประชมุ จัดหอ งประชุม จดั อาหารเคร่อื งด่ืม เอกสาร เบย้ี ประชมุ รายงานการประชุม ฯลฯ 9. เจาหนาท่ีสํานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวัด ฝายวิศวกรรม ทําหนาท่ีจัดทําวาระการประชุมท่ีเกย่ี วของโดยประสานงานกบั เจา หนาทีง่ านบริหารทัว่ ไป 10. เจาหนาท่ีสํานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวัด ฝายกฎหมายจัดรูปที่ดิน ทําหนาท่ีจัดทําวาระการประชมุ ทเ่ี กยี่ วของโดยประสานงานกับเจาหนาที่งานบริหารท่ัวไป 11. เจา หนาท่โี ครงการปฏิบัติการจัดระบบนา้ํ เพ่ือเกษตรกรรม ทําหนาท่ีจัดทาํ วาระการประชุมท่เี กีย่ วของโดยประสานงานกับสาํ นกั งานจดั รปู ทด่ี นิ กลาง 12. คณะกรรมการจัดรูปท่ีดินกลาง ทําหนาท่ีตามมาตรา 11 แหงพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ. 2558คณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง มีกรรมการ 2 ประเภท คือ กรรมการโดยตําแหนง และกรรมการโดยการแตงตัง้ แยกได ดังนี้กรรมการโดยตาํ แหนง 16 ตาํ แหนง1 รัฐมนตรีวา การกระทรวงเกษตรและสหกรณ ประธานกรรมการ2 ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ รองประธานกรรมการคนท่หี นึ่ง3 ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการคนที่สอง4 อธิบดีกรมการขาว กรรมการ5 อธบิ ดีกรมการคาภายใน กรรมการ6 อธบิ ดีกรมเจาทา กรรมการ7 อธบิ ดกี รมชลประทาน กรรมการ8 อธบิ ดกี รมที่ดิน กรรมการ9 อธบิ ดีกรมบญั ชกี ลาง กรรมการ10 อธิบดกี รมพัฒนาทีด่ ิน กรรมการ11 อธบิ ดีกรมสง เสรมิ การเกษตร กรรมการ12 อธบิ ดกี รมสงเสริมสหกรณ กรรมการ13 เลขาธกิ ารสาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรรมการ14 ผจู ดั การธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร กรรมการ15 ประธานสภาเกษตรกรแหงชาติ กรรมการ16 ผูอาํ นวยการสาํ นกั งานจัดรูปทีด่ นิ กลาง กรรมการและเลขานุการ กรรมการโดยการแตง ตัง้ แตง ต้ังโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ จากผูทรงคณุ วุฒิจํานวนไมเกนิ 9 คน ที่มคี วามรคู วามเชยี่ วชาญหรอื ประสบการณ เปน ทีป่ ระจกั ษไดแก - กฎหมาย - การเกษตร - การชลประทาน - บริหารจัดการ - ทรพั ยากรธรรมชาติ - เศรษฐศาสตร

7 - ส่ิงแวดลอ ม หรอื ดา นอน่ื ๆ ท่เี กี่ยวของกบั การจดั รปู ท่ดี นิ - กรรมการซ่ึงไดร บั แตงต้งั มวี าระการดาํ รงตําแหนง 4 ป - ในกรณีกรรมการซ่ึงไดรับแตงตั้งพนจากตําแหนงกอนวาระ หรือในกรณีที่มีการแตงต้ังกรรมการเพ่ิมขึ้นในระหวางท่ีกรรมการซึ่งแตงตัง้ ไวแลวยังมีวาระอยใู นตําแหนง ใหผ ูซง่ึ ไดรับแตงตง้ั ใหดาํ รงตาํ แหนงแทนหรือเปนกรรมการเพ่ิมขึ้น อยใู นตําแหนงเทา กบั วาระทเ่ี หลืออยูของกรรมการซงึ่ ไดแตง ตั้งไวแ ลว เมื่อครบวาระแลว หากยังมิไดแตงตั้งกรรมการขึ้นใหม ใหกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระน้ันอยูในตําแหนงเพื่อดําเนินงานตอไปจนกวาจะมีการแตงต้ังกรรมการใหม โดยกรรมการซ่ึงพนจากตําแหนงตามวาระ อาจไดร ับแตง ตัง้ เปนกรรมการอีกได ดังนั้นคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินกลางจะตองมีกรรมการท้ังสองประเภท จึงจะถือวาครบองคประกอบของคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง มผี ลทําใหก ารประชุม การพิจารณาและการลงมติในที่ประชุมชอบดว ยกฎหมาย ในการประชุมน้ัน คณะกรรมการฯ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจํานวนกรรมการทง้ั หมด จงึ จะเปนองคประชมุ ในการประชุมคณะกรรมการฯ ถาประธานกรรมการไมมาประชุม หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดใหรองประธานกรรมการคนท่ีหน่ึงหรือคนท่สี อง ตามลําดับ เปนประธานในท่ีประชุม ถา ประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการซ่ึงมาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึง เปนประธานในที่ประชุม การวินิจฉยั ช้ีขาดของท่ปี ระชุม ใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึง่ ใหมีเสยี งหนึ่งในการลงคะแนนถาคะแนนเสยี งเทากัน ใหป ระธานในทป่ี ระชมุ ออกเสยี งเพ่มิ ขึ้นอีกเสยี งหนงึ่ เปน เสียงชขี้ าด คณะกรรมการจดั รปู ทด่ี นิ กลาง มีอํานาจหนา ทดี่ ังตอ ไปนี้ (1) พจิ ารณาเสนอแผนแมบทการจดั รปู ทีด่ ินตอคณะรฐั มนตรเี พอื่ ใหค วามเห็นชอบ (2) กําหนดนโยบายและพิจารณาใหความเห็นชอบแผนการดําเนินงานและงบประมาณของโครงการจดั ระบบน้ําเพ่อื เกษตรกรรม และโครงการจัดรปู ทีด่ ินในทองทตี่ า ง ๆ (3) พิจารณาเสนอรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณเพ่ือออกประกาศกําหนดแนวเขตสํารวจการจัดระบบน้าํ เพ่ือเกษตรกรรม (4) พิจารณาเสนอรัฐมนตรวี าการกระทรวงเกษตรและสหกรณในการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตสํารวจการจัดรปู ทด่ี นิ (5) กําหนดหลักเกณฑและวธิ ีการประเมินราคาท่ีดินและทรัพยสินอน่ื ในท่ีดินในเขตโครงการจัดรูปทดี่ ิน (6) ใหความเหน็ ชอบในการกําหนดทด่ี ินตอนใดเปน ที่ดินอนั เปน สาธารณสมบตั ขิ องแผน ดิน สาํ หรับพลเมืองใชรวมกันหรือใชเพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ หรือท่ีดินที่ไดสงวนหรือหวงหามไวตามความตองการของทางราชการตามมาตรา 34 (7) วินิจฉัยชี้ขาดเหี่ยวกับปญหาการจัดรูปท่ีดินตามคํารองหรือคําอุทธรณของเจาของที่ดินหรือบคุ คลผูมีสวนไดเสียเกยี่ วกับท่ีดนิ ในเขตโครงการจดั รปู ที่ดินตามมาตรา 42 และมาตรา 48 (8) วางระเบียบหรือขอบังคับเกี่ยวกับการใชจายเงิน การเบิกจายเงินและการเก็บรักษาเงินของกองทนุ จดั รปู ที่ดิน (9) วางระเบียบหรือขอบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน และกิจการที่เกี่ยวกับการจัดระบบน้ําเพอ่ื เกษตรกรรม และการจดั รูปทดี่ ินของสํานักงานจัดรูปทีด่ นิ กลาง หรือสาํ นักงานจดั รปู ทีด่ นิ จงั หวดั

8 (10) กาํ หนดแนวทางในการสง เสรมิ และชว ยเหลือการทาํ เกษตรกรรมในเขตโครงการจดั รูปทดี่ นิ (11) ดาํ เนนิ กิจการอ่ืนที่เกี่ยวกับการจัดระบบนํ้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจดั รูปท่ีดนิ เพ่ือใหเปนไปตามพระราชบัญญัตจิ ดั รปู ที่ดินเพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ. 255813. คณะกรรมการจัดรูปที่ดินจังหวัด ทําหนาที่ตามมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่อี เกษตรกรรม พ.ศ. 2558คณะกรรมการจัดรูปที่ดินจังหวัด มีกรรมการ 2 ประเภท คือ กรรมการโดยตําแหนง และกรรมการโดยการแตง ตัง้ แยกได ดังนี้กรรมการโดยตําแหนง 17 ตาํ แหนง1 ผวู า ราชการจงั หวัด ประธานกรรมการ2 ปลัดจังหวัด รองประธานกรรมการ3 เจา พนักงานทดี่ นิ จงั หวดั กรรมการ4 เกษตรจังหวัด กรรมการ5 พาณิชยจ งั หวดั กรรมการ6 โยธาธกิ ารและผงั เมืองจงั หวดั กรรมการ7 สหกรณจงั หวดั กรรมการ8 ผแู ทนกรมการขา ว กรรมการ9 ผูแทนกรมชลประทาน กรรมการ10 ผูแทนกรมพัฒนาท่ดี นิ กรรมการ11 ผูแทนกรมทางหลวงชนบท กรรมการ12 อยั การจังหวัด กรรมการ13 ผูแทนธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก ารเกษตร กรรมการ14 นายอําเภอในทอ งทเ่ี ขตสํารวจการจัดรปู ทดี่ นิ กรรมการ15 ผูบริหารทองถ่ินทุกแหงท่ีพื้นที่ เขตสํารวจการจัดรูปท่ีดินอยูในเขตการปกครอง ซ่ึงเลือกกันเองไมเ กินหาคน เวนแตเ ขตสาํ รวจการจดั รปู ทด่ี ินใด มผี ูบริหารทอ งถ่ินไมเ กินหา คนใหทกุ คนเปนกรรมการ16 ประธานสภาเกษตรกรจังหวดั กรรมการ17 หัวหนา สํานกั งานจัดรูปทีด่ ินจังหวดั กรรมการและเลขานุการกรรมการโดยการแตงตั้ง แตงต้ังโดยผูวาราชการจังหวัด จากเจาของท่ีดินในเขตสํารวจการจัดรูปทด่ี นิ จาํ นวนไมเกินหาคนในกรณีที่เขตสํารวจการจัดรูปท่ีดินครอบคลุมที่ดินสองจงั หวัดขึ้นไปรวมอยูในเขตโครงการเดียวกันคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลางอาจกําหนดใหคณะกรรมการจัดรูปที่ดินจังหวัดแหงหน่ึง ทําหนาท่ีครอบคลุมท้ังโครงการก็ได ในกรณเี ชน วาน้ีใหเจาพนักงานที่ดินจังหวัด นายอําเภอในจงั หวัดอื่นท่ีเกยี่ วของเปนกรรมการดวย สําหรับผูบริหารทองถิ่นใหดําเนินการเลือกกันเองระหวางองคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหงที่อยูในเขตสํารวจ การจัดรูปที่ดิน การเลือกผูบริหารทองถ่ินตามวรรคหนึ่งและวรรคสามใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธกี ารทอ่ี ธบิ ดปี ระกาศกําหนดคณะกรรมการจัดรูปทีด่ นิ จังหวดั มีอาํ นาจหนา ที่ ดังตอไปนี้(1) จัดใหม กี ารสํารวจบรเิ วณทีด่ ินที่เหน็ สมควรจะกาํ หนดเปน เขตโครงการจัดรปู ท่ีดิน

9 (2) ประเมินราคาที่ดินและทรัพยสินอื่นในท่ีดินในเขตโครงการจัดรูปที่ดินตามหลักเกณฑและวิธีการท่คี ณะกรรมการจัดรปู ที่ดินกลางกําหนด (3) พิจารณาใหความเห็นชอบการวางแผนผังการจัดแปลงท่ีดิน ระบบชลประทาน การสรางถนนหรือทางลําเลียงในไรนา การปรับระดับพ้ืนที่ดิน การแลกเปลี่ยนท่ีดิน และการอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวกับการจัดรูปท่ีดนิ ในเขตโครงการจัดรูปท่ีดนิ (4) สอบสวนและวนิ จิ ฉยั คาํ รอ งตามมาตรา ๔๒ หรือดาํ เนินการประนปี ระนอมตามมาตรา ๔๓ (5) ดําเนินการเกี่ยวกับการเงินและการอื่น ๆ ที่เก่ียวกับการจัดรูปที่ดินตามระเบียบหรือขอบังคับหรือมติของคณะกรรมการจัดรูปท่ดี นิ กลาง หรอื ตามทีค่ ณะกรรมการจดั รูปทีด่ นิ กลางมอบหมาย (6) วางระเบียบหรือขอบังคับเกี่ยวกับการเปดหรือปดประตูกักนํ้า หรือสิ่งอื่นท่ีใชในการบังคับนํ้าเขาสทู ่ดี นิ ของเจา ของทด่ี ินในเขตโครงการจัดรปู ที่ดิน (7) ดําเนินกิจการอ่ืนที่เกี่ยวกับการจัดรูป ท่ีดินเพ่ือใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการจัดรูปที่ดินการออกระเบียบหรือขอบังคับตาม (๖) ตองดําเนินการใหสอดคลองกับหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขที่อธิบดกี าํ หนดตามมาตรา ๒๕ ดังนั้นคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินจังหวัดจะตองมีกรรมการทั้งสองประเภท จึงจะถือวาครบองคประกอบของคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินจังหวัด มีผลทําใหการประชุม การพิจารณาและการลงมติในที่ประชุมชอบดวยกฎหมาย 14. คณ ะอนุกรรมการที่ คจก. หรือ คจจ. แตงต้ัง ที่ทําหนาที่ตามมาตรา 14 แหง พระราชบญั ญตั ิจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2558 พิจารณาศึกษาหรือวิจัย หรือปฏิบัติการอยางหน่ึงอยางใดแทน หรือตามท่ี คจก. หรอื คจจ. มอบหมายกไ็ ด การประชมุ คณะอนุกรรมการใหป ฏบิ ัติเชนเดียวกับการประชมุ คณะกรรมการโดยอนโุ ลม 15. สํานักงานจัดรูปท่ีดินกลาง ทําหนาท่ีตามมาตรา 14 แหงพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2558 ดําเนินการจัดระบบน้ําเพ่ือเกษตรกรรม การจัดรูปที่ดิน รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง ควบคุมสํานักงานจัดรูปที่ดินจังหวัด เพ่ือดําเนินการตามพระราชบัญญัติน้ีและใหม ีอาํ นาจหนา ที่ดังตอไปนี้ (1) จดั ทาํ แผนแมบ ทการจดั รูปทีด่ ิน (2) จัดทําแผนการดําเนินงานและงบประมาณของโครงการจัดระบบน้ําเพื่อเกษตรกรรมและโครงการจัดรปู ทด่ี ิน (3) จัดทําแผนผังการจัดแปลงที่ดิน ระบบชลประทาน การสรางถนนหรือทางลําเลียงในไรนา การปรับระดับพนื้ ท่ดี นิ และการอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั การจดั รปู ทีด่ ินในเขตโครงการจัดรปู ที่ดนิ (4) ประสานงานกับหนวยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวของในการสงเสริมและชวยเหลือการทําเกษตรกรรม (5) ปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เก่ียวกับการจัดระบบน้ําเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดินตามท่คี ณะกรรมการจัดรปู ทด่ี นิ กลางกําหนด

10 16. สํานักงานจัดรูปที่ดินจังหวัด ทําหนาที่ตามมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2558 การดําเนนิ การจัดระบบนํ้าเพื่อเกษตรกรรม การจัดรปู ทีด่ ินภายในเขตจังหวัด และรบั ผดิ ชอบงานธุรการของคณะกรรมการจัดรูปที่ดินจังหวัด ในกรณีท่ีเขตการจัดระบบน้ําเพื่อเกษตรกรรมหรือเขตโครงการจัดรูปที่ดินมีพ้ืนที่ครอบคลุมท่ีดิน สองจังหวัดข้ึนไปรวมอยูในเขตโครงการเดียวกัน อธิบดีจะมอบหมายใหสํานักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดใด มีอํานาจหนาที่ดําเนินการจัดระบบน้ําเพ่ือเกษตรกรรมหรือจัดรูปที่ดินตลอดเขตโครงการน้นั ก็ได ไมว า จะมี สํานกั งานจดั รูปที่ดนิ ในจงั หวดั ทีเ่ กย่ี วขอ งน้นั หรอื ไม 17. โครงการปฏิบัติการจัดระบบน้ําเพ่ือเกษตรกรรม ทําหนาที่จัดทําโครงการการจัดระบบน้ําเพ่ือเกษตรกรรมเสนอสาํ นักงานจัดรปู ท่ดี นิ กลาง

Work Flow กระบวนการ 11 ผงั กระบวนการจดั ประชุม (สวนกลาง) 30 วัน 1 วัน รวบรวมและตรวจสอบเรือ่ งที่จะนําเสนอ 1 วัน คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ อนุมัติ 7 วนัไมอ นมุ ัติ กําหนดวนั ประชมุ 15 วนั 5 วนั ขออนมุ ัติจดั ประชุม 1 วนั ยมื เงินคา อาหาร/อาหารวางและเครื่องดื่ม/เบยี้ ประชุม จดั ทําระเบียบวาระการประชุม จัดทาํ หนงั สอื เชิญประชุมและสง ใหก รรมการหรือ อนุกรรมการ ลวงหนา วนั ประชุมไมนอ ยกวา 7 วัน ดําเนนิ การประชุมและจดบนั ทึกการประชุม สรปุ มตแิ ละจัดทํารายงานการประชุม 7 วัน สรุปคา ใชจายในการประชุม 3 วนั จดั สงรายงานการประชุม 3 วัน

Work Flow กระบวนการ 12 ผงั กระบวนการจัดประชมุ (สว นภมู ภิ าค) 30 วนั 1 วัน จดั ทํารางระเบียบวาระ – รวบรวมและตรวจสอบขอ มลู 3 วนั 1 วนั ท่จี ะนาํ เสนอคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ 7 วนั 15 วันไมอ นมุ ัติ กาํ หนดวันประชมุ พรอมจัดหาสถานทปี่ ระชุม 5 วัน 1 วนั จดั ทาํ หนังสือขออนมุ ัติกําหนดวนั ประชมุ และหนงั สือเชญิ ประชมุ 7 วัน เสนอประธานเพ่ือพจิ ารณาเห็นชอบและลงนาม 3 วัน 3 วัน ดาํ เนนิ การจัดประชมุ ยมื เงนิ คาอาหาร/อาหารวา งและเคร่อื งดม่ื /เบีย้ ประชุม จดั ทํารปู เลม ระเบียบวาระการประชุม สง หนังสือเชญิ ประชมุ พรอมแนบระเบียบวาระการประชุม ใหกรรมการหรืออนกุ รรมการ ลวงหนาวันประชมุ ไมนอยกวา 7 วนั ดําเนนิ การประชุมและจดบันทกึ การประชมุ สรปุ มตแิ ละจัดทํารายงานการประชมุ สรปุ คาใชจา ยในการประชมุ

จัดสงรายงานการประชุม 13ข้ันตอนการปฏิบตั งิ านลาํ ดับ ขั้นตอนการจดั ประชุม ระยะเวลา รายละเอยี ดงาน ผูรับผดิ ชอบ ที่ (วัน)การเตรยี มการกอ นวนั ประชุม1 รวบรวมและตรวจสอบเร่ืองที่ 30 - แจงหนวยงานท่ีเก่ียวของหรือผูมี - ฝา ยบรหิ ารท่วั ไป จะนําเสนอคณ ะกรรมการ/ สวน ไดเสียให สงเร่ืองท่ี ตองให - งานบรหิ ารท่ัวไป คณะอนกุ รรมการ คณะกรรมการ/อนุกรรมการ ทราบ สจจ./จก./สว น/ฝาย หรอื พจิ ารณา ในสาํ นักสํานักงาน - ส ง เรื่ อ ง ท่ี จํ า เป น ต อ ง เส น อ จดั รูปทด่ี ินกลาง คณะกรรมการหรอื อนกุ รรมการ - ตรวจสอบขอมูลเน้ือหาสาระ เอกสารประกอบ2 กําหนดวนั ประชมุ 1 -หารอื กับเลขานุการคณะกรรมการ - ฝา ยบริหารท่วั ไป จดั รูปทดี่ ินกลางหรือคณะกรรมการ - งานบรหิ ารทวั่ ไป จดั รูปทดี่ ินจังหวดั หรือ - เลขานุการ คณะอนกุ รรมการ เพือ่ ประสานกบั คณะกรรมการ/ ประธานคณะกรรมการ หรือ อนกุ รรมการ คณะอนุกรรมการในการกําหนดวนั3 ขออนมุ ตั ิจดั ประชุม 1 - จัดทําหนังสือขออนุมัติจัดการ - ฝายบรหิ ารทวั่ ไป ประชมุ - งานบริหารทั่วไป - จองหอ งประชมุ อปุ กรณ โสตทศั นปู กรณ4 ยืมเงนิ คา อาหาร คาอาหารวาง 7 - ยมื เงินทดรองราชการ - ฝา ยบรหิ ารท่ัวไป และเคร่ืองดมื่ คาเบ้ียประชุม - งานบรหิ ารทว่ั ไป5 จดั ทําระเบยี บวาระการประชุม 15 - จัดพิมพร ะเบยี บวาระ - ฝา ยบริหารทวั่ ไป - รูปเลม - งานบริหารทั่วไป - พิ สู จน อั ก ษ รแ ล ะรูป แ บ บ ให สจจ./จก./สว น/ฝาย ถกู ตอง ในสาํ นักสํานักงาน - ประสานขอขอมูลที่ยังขาดตก จัดรปู ที่ดนิ บกพรอ ง - เลขานกุ าร - พิสูจนอักษรตรวจสอบรูปแบบ คณะกรรมการหรือ

ความถกู ตอง คณะอนุกรรมการ - ตรวจสอบรายงานการประชุม 14ลาํ ดับ ข้นั ตอนการจัดประชุม ระยะเวลา รายละเอยี ดงาน ผรู บั ผดิ ชอบ ที่ (วัน)6 จัดทําหนังสือเชิญประชุมและ 5 - ทําหนังสือเชิญประชุมสงพรอม - ฝา ยบรหิ ารทัว่ ไป ส ง ใ ห ก ร ร ม ก า ร ห รื อ ระเบียบ วาระการประชุมแล ะ - งานบรหิ ารท่วั ไป อ นุ ก รรม ก าร ล วงห น าวัน รายงานการประชุมคร้งั กอ น ประชุมไมน อ ยกวา 7 วัน - ประสานกรรมการ/อนุกรรมการ เบื้องตนการดําเนินการในวนั ประชมุ 7 ป ระชุ ม แ ล ะจด บั น ทึ ก ก าร 1 - พิจารณาระเบียบวาระการประชุม -คณะกรรมการจัด ประชุม รปู ท่ดี ินกลาง -คณะกรรมการจัด รปู ทีด่ ินจังหวดั -คณะอนกุ รรมการ - นาํ เสนอระเบยี บวาระการประชุม เลขานุการใน ช้ีแจง คณะกรรมการหรอื คณะอนกุ รรมการ นน้ั ๆ -จา ยเบย้ี ประชุม - ฝา ยบริหารทัว่ ไป -นบั จํานวนองคประชุม - งานบรหิ ารทั่วไป -แจกเอกสาร -จดั ทน่ี ัง่ /ปา ยชื่อหรือตําแหนง -ตอ นรับและลงทะเบียนบัญชี รายช่อื ผเู ขา ประชุม -จดบันทกึ การประชมุ /บนั ทึกเสยี ง หรือภาพการประชุมการดําเนินการหลงั วนั ประชุม 8 สรุปมติและจัดทํารายงานการ 7 ถอนเทปหรือไฟลบ ันทึกการประชมุ - ฝายบริหารทั่วไป ประชมุ - งานบริหารทว่ั ไป - เลขานกุ ารใน คณะกรรมการหรอื คณะอนกุ รรมการ

นนั้ ๆลําดบั ขั้นตอนการจดั ประชุม ระยะเวลา รายละเอียดงาน 15 ท่ี (วนั )9 สรปุ คา ใชจายในการประชมุ 3 -หักลา งเงินยืมทดรองราชการ ผูรบั ผิดชอบ -ฝายบรหิ ารทั่วไป10 จัดสง รายงานการประชมุ 3 -จดั สง รายงานการประชุมทาง -งานบริหารทว่ั ไป ไปรษณีย/สงเอง -ฝา ยบริหารทวั่ ไป -งานบรหิ ารทว่ั ไปมาตรฐานงานรูปแบบการจดั หอ งประชมุ 1. แบบหองเรยี น 2. แบบโรงภาพยนตร หรอื แบบโรงละคร 3. แบบรปู ตวั ยู 4. แบบเกาอี้ 5. แบบกลมุ อภปิ ราย 5.1 แบบรปู ส่ีเหล่ียมผืนผา 5.2 แบบตวั ที 5.3 แบบวงกลม 5.4 แบบรปู ไขประเภทของการประชุม 1. การประชุมเพ่ือแจงใหทราบ 2. การประชุมเพ่ือขอความคิดเห็น 3. การประชุมเพ่ือหาขอตกลงรว มกัน 4. การประชุมเพื่อหาขอยุติ หรือเพื่อแกปญหา1. การประชุมเพ่ือแจง ใหทราบ วตั ถุประสงค - เพือ่ แจงคําส่ัง - เพ่อื ช้แี จงนโยบาย วัตถปุ ระสงค วิธปี ฏบิ ัติ - เพ่ือแถลงผลงาน หรือความกาวหนาของงาน เชน การปฐมนิเทศ การบรรยายทางวิชาการ ผูแจง - ตอ งเตรียมเร่ืองทีจ่ ะแจงใหเ ขาใจอยา งแจม ชดั ผูฟง - ตองตง้ั ใจฟง สงสยั ใหซกั ถาม - ไมมหี นา ทีแ่ สดงความคิดเห็น

ลกั ษณะสาํ คญั - ถาเขา ใจแลวถอื วา ยตุ ิ - ไมมีการลงคะแนนเสียง 162. การประชมุ เพ่ือขอความคิดเห็น วัตถุประสงค - เพ่อื ฟงความคิดเห็นจากผเู ขา รว มประชุม เพ่ือประธาน หรอื ผเู กี่ยวของ จะนําไปประกอบการตัดสินใจ เชน การสมั มนา - เพื่อชีแ้ จงนโยบาย วัตถุประสงค วิธีปฏบิ ตั ิ ลักษณะเฉพาะ - ความเห็นของผเู ขารว มประชมุ ไมมผี ลผกู พนั ตอการตัดสนิ ใจของประธาน - ผูเขารวมประชุมมีหนาที่ใหความคิดเห็น ความสามารถที่จําเปน คือ การพูด การฟง และการใหเหตผุ ล - ไมม ีการลงคะแนนเสยี ง จดุ ออน - ผเู ขา รวมประชมุ บางคนไมยอมพดู ในทป่ี ระชุมแตกลบั ไปพูดนอกหองประชมุ3. การประชมุ เพ่ือหาขอตกลงรว มกนัวัตถุประสงค - เพอื่ หาขอ ตกลงรว มกนั ซ่งึ ผูกพันการกระทําของผูเขารว มประชมุลักษณะเฉพาะ - ผเู ขารว มประชุมมีสว นไดสว นเสีย - บรรยากาศมกั เครงเครียด ตอ งสรา งบรรยากาศเอง - ความรวมมือการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ และการใชเหตุผลอยางมี หลักเกณฑ เปน เง่อื นไขสาํ คัญ - เมื่อมีการโตแยงจนเหลือคูแขง 2 – 3 คน แลวอาจมีผูขอใหประธานเปน ผูตดั สินใจประธาน - ตอ งกําหนดประเด็นใหชัดเจน - วางตัวเปน กลางอยางเครงครัด - อาจกําหนดเกณฑก ารตดั สินใจดวยวา ควรทําอยา งไรผเู ขารวมประชมุ - ถา คนมสี ว นไดสวนเสียตองเตรียมเหตผุ ล ที่จะสนบั สนนุ ส่งิ ที่ตนเองตองการ และขณะเดยี วกนั ตองใจกวางทีจ่ ะรบั ฟงความคิดเห็นของผูอืน่ ดวย4. การประชมุ เพื่อหาขอยุติ หรอื เพื่อแกปญ หาลักษณะสําคัญ - ผูเขารวมประชุมมีความทัดเทียมกันในการแสดงขอคิดเห็น เพื่อหาขอยุติ หรือหาทางแกไ ขปญหาประธาน - ในการประชมุ เพอ่ื หาขอยตุ ิรวม ประธานตองชี้ประเดน็ หลกั ใหท่ีประชุมหา ขอยุติ โดยนําเสนอขอมูลพ้ืนฐานรวมทั้งประเด็นกฎหมายเพอื่ ประกอบการ พจิ ารณา และสรปุ ขอยุติรว มจากท่ปี ระชมุ - ในการประชุมเพ่ือแกปญหา ประธานตองชี้ใหที่ประชุมเห็นวาปญหาคือ อะไร ท่ีตองใหเกิดขึ้นคืออะไร ขณะนี้เบี่ยงเบนอยางไร กอใหเกิดความ เสียหายอยางไร ขอใหที่ประชุมพิจารณาสาเหตุของปญหาตอไป ขอใหท่ี

ประชุมพิจารณาหนทางแกปญหา ซึ่งมักมีหลายๆ ทาง ที่ประชุมควรเลือกแกปญหาทางใด 17บทบาทของประธานกอ นการประชุม1. รวมกับเลขานุการกําหนดระเบียบวาระ2. ศึกษารายละเอยี ดของระเบียบวาระ3. กาํ หนดแนวทาง หรือเกณฑในการดําเนินการประชุม(วางกลยทุ ธในการประชุม)ระหวางดาํ เนนิ การประชุม1. กลา วเปด ประชมุ และสรา งบรรยากาศท่ดี ี2. ระบุประเดน็ ที่จะใหท ่ีประชุมทราบ – แจงดวยวาเปน การประชุมประเภทไหน3. กระตนุ ใหผเู ขา รว มประชมุ แสดงความคิดเห็น4. ควบคมุ ใหที่ประชุมอยใู นประเด็น5. สรปุ ประเด็น หรอื มตทิ ี่ประชมุ6. กลาวปด การประชมุภายหลงั ประชุม1. รว มมอื กับเลขาฯ ตรวจรา งมตทิ ่ีประชมุ2. ตดิ ตามใหม ีการปฏิบัติตามมตทิ ี่ประชมุบทบาทของเลขานุการกอ นการประชุม1. จดั ทําขอมลู ระเบยี บวาระ2. เตรยี มขอ มลู เพ่ือแจกจา ยลางหนาใหผ เู ขารว มประชมุ3. เปน ผูส รปุ ประเดน็ ใหที่ประชุมพจิ ารณา4. จัดเตรยี มสถานทป่ี ระชุม5. เตอื นผูเขา ประชมุ กอ นถงึ เวลาประชมุระหวางดาํ เนนิ การประชมุ1. ดูแลความเรยี บรอยของที่ประชมุ2. ชว ยเหลือประธานในการแจง ระเบยี บวาระในการประชุม3. เปนผชู แ้ี จงรายละเอียดประกอบระเบียบวาระ4. ชว ยประธานทาํ การสรุปมตขิ องทป่ี ระชมุ5. จดบนั ทึกการประชุม

ภายหลงั ประชุม 181. รางมตทิ ีป่ ระชมุ เพ่อื เสนอประธาน2. เวยี นมตขิ องที่ประชมุ เพื่อผเู ขา รวมประชุมแกไข หรือลงนาม3. รว มมือกบั ประธานเพอ่ื ใหมีการปฏบิ ัติตามมติบทบาทของสมาชิกผเู ขา ประชมุกอนการประชุม1. ศึกษาระเบยี บวาระของการประชุม2. ศกึ ษาและเตรยี มตวั ประชุมตามวาระตางๆ3. เขาประชมุ ตามเวลาทน่ี ัดระหวางดําเนนิ การประชมุ1. แสดงบทบาทใหส อดคลอ งกบั ระเบียบวาระ และประเภทของการประชมุ2. ตอ งรกั ษาบรรยากาศของท่ีประชมุ3. ตอ งพรอมทจ่ี ะรับมอบหมายงานตามมติทป่ี ระชมุ4. ตอ งพรอ มทจ่ี ะยอมรบั มติของทีป่ ระชุมภายหลงั ประชุม1. ตองตรวจรางรายงานการประชุม2. ตองพรอ มทจี่ ะลงมือปฏิบตั ติ ามมติท่ีประชมุ อยางจริงจังการจัดวาระการประชุม หนวยงานผูเสนอวาระการประชุม หรือฝายเลขานุการ จะตองสรุปเร่ืองราวความเปนมาของเรื่องรวมท้ังประเด็นท่ีจะนําเสนอ ในแตละวาระการประชุม เพ่ืออํานวยความสะดวกตอการพิจารณาของคณะกรรมการ และที่สําคัญ คือ จะเปนฐานขอมูลท่ีจะทําใหที่ประชุมพิจารณาไดเอยางรอบคอบ ถูกตองและรวดเรว็ การจัดทําเอกสารประกอบวาระการประชุมที่ดี จะตองกระชับ ชัดเจน และตรงประเด็น หากมีกฎระเบียบ พระราชบญั ญัติ หรือมตทิ ี่เก่ียวของ จะตองนําเสนอเปน ขอมูลประกอบการพจิ าณาดวย โดยมีระเบียบวาระตา ง ๆ ดงั นี้1 วาระเพื่อทราบ ผูเสนอวาระนี้สวนใหญจะเปนประธานแจงเรื่องตางๆ ใหที่ประชุมทราบ รวมท้ังเร่ืองท่ีฝายเลขานุการจัดระเบียบวาระ เพ่ือแจงที่ประชุมทราบ ซ่ึงเปนเร่ืองท่ีไมตองหาขอยุติหรือกการพิจารณาจากที่ประชุม เชนการรายงานกิจกรรม หรอื ผลการดําเนินงานของหนว ยงาน2 วาระรบั รองรายงานการประชมุ เปน การรับรองรายงานการประชมุ ครั้งท่ผี านมา3 วาระสืบเนื่อง / หรือเร่ืองคางพิจารณา

วาระนเี้ ปน เรอื่ งทปี่ ระชมุ ไดมอบหมายใหดําเนนิ การไว หรอื ใหศ ึกษาขอ มูลเพมิ่ เตมิ หรอื เคยพจิ ารณามากอ นแลว แตยงั มิไดขอ ยตุ ิ ซ่ึงจะตอ งรายงานความคืบหนา ใหท ่ปี ระชุมทราบ ประเด็นเสนอวาระ จะเสนอไดใน2 ประเดน็ คือ เพื่อทราบ หรือเพือ่ พจิ ารณา (ในกรณที ี่การพิจารณานั้นยงั มิไดขอยตุ ิ) 194 วาระเพือ่ พิจารณา เปนเร่ืองท่ีตองการใหท่ีประชุมพิจารณา เพื่อนําไปเปนนโยบายและแนวทางในการปฏิบัติงานหรือเปนไปตามอาํ นาจหรือหนาที่ของคณะกรรมการชดุ น้ันๆ การจดั ทําเอกสารประกอบวาระนี้ ฝา ยเลขานุการหรือหนวยงานเจาของเรื่องผูเสนอวาระ จะตองศึกษาเร่ืองราวใหละเอียดและสรุปความเปนมาของเรื่องใหชัดเจนและครอบคลุม เพื่อเปน พ้ืนฐานในการพิจาณาทถี่ กู ตอง5 วาระเพ่ือทกั ทว ง เปนเร่ืองที่เปนอํานาจของคณะกรรมการชุดนัน้ ๆ พจิ ารณา หากแตวาไดแ ตงต้ังคณะทํางานซึ่งอาจเปนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือกรรมการ ไปดําเนินการแทน ซึ่งเมื่อคณะทํางานท่ีไดรับมอบหมายพิจารณาแลว จะตองนําเสนอเร่ืองดังกลาว ตอคณะกรรมการชุดที่มีอํานาจในการพิจารณาอีกครั้งคณะกรรมการชุดนี้มีสิทธิ์ท่ีจะเห็นดวย หรอื ไมเห็นดวยตอการพิจารณาน้ันก็ได ซึ่งหากมิไดม ีขอทักทวงประการใด ถอื วากรรมการชดุ ดงั กลาวเหน็ ชอบตามทคี่ ณะทาํ งานนําเสนอ6 วาระอ่ืนๆ เปนเร่ืองท่ีไมไดจัดเขาในวาระใดวาระหน่ึง ในการประชุมแตละครั้ง แตอาจมีเร่ืองเรงดวนจําเปนท่ีจะตอ งนําเสนอคณะกรรมการพจิ ารณา ก็สามารถจัดเขาในวาระอืน่ ๆ ไดการเขยี นรายงานการประชมุความหมายของคำวา “รายงานการประชุม” รายงานการประชุม มีความหมายที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณพ.ศ. 2526 วา การบันทกึ ความคิดเหน็ ของผมู าประชมุ ผเู ขารวมประชุม และมตขิ องที่ประชมุ ไวเปน หลักฐานสวนประกอบของรายงานการประชุม 1. รายงานการประชุม ใหลงชื่อคณะท่ีประชุมหรือการประชุมของคณะน้ัน เชน การประชุมคณะกรรมการจัดรูปท่ีดนิ กลาง 2. ครั้งที่ ใหลงครั้งที่ที่ประชุมเปนรายป โดยเริ่มครั้งแรกจากเลข 1 เรียงลําดับไปจนสิ้นปปฏิทินทบั เลขป พุทธศกั ราชที่ประชมุ เม่อื ขนึ้ ปปฏิทิน ใหมใ หเ ร่มิ ครงั้ ท่ี 1 ใหม เชน ครง้ั ที่ 1/2560 3. เมื่อ ใหลงวัน เดือน ปที่ประชุม โดยลงวันที่พรอมตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขปพุทธศักราช เชน เมอ่ื วนั ศุกรท ี่ 24 มนี าคม 2560 4. ณ ใหล งสถานท่ที ีใ่ ชเปน ที่ประชมุ 5. ผมู าประชมุ ใหลงช่ือและตําแหนง ของผเู ขาประชุมคณะกรรมการหรอื คณะอนุกรรมการ 6. ผูไ มมาประชุม ใหลงชอ่ื และหรือตําแหนง พรอมทั้งเหตุผล (ถามี) 7. ผูเ ขารวมประชุม ใหลงชอื่ และตาํ แหนงผทู ่ีทม่ี ิไดรบั การมอบหมายใหเขา ประชมุ คณะกรรมการหรือคณะอนกุ รรมการ

8. เรมิ่ ประชุมเวลา ใหลงเวลาท่เี รมิ่ ประชมุ 20 9. ขอความ ใหบันทึกขอความท่ีประชุมโดยปกติเร่ิมตนดวยประธานกลาวเปดประชุมและเรื่องท่ีประชุมกบั มตหิ รือขอสรุปที่ประชมุ ในแตละเรือ่ งตามลาํ ดบั ประกอบดวยหวั ขอ ดังนี้ 9.1) เรอ่ื งทป่ี ระธานแจงใหท ่ีประชุมทราบ 9.2) เรือ่ งการรบั รองรายงานการประชุม 9.3) เรอ่ื งท่ีเสนอใหที่ประชุมทราบ 9.4) เรือ่ งท่เี สนอใหท่ีประชมุ พิจารณา 9.5) เร่ืองอนื่ ๆ (ถา ม)ี 10. เลิกประชุมเวลา ใหล งเวลาท่ีเลกิ ประชมุ 11. ผจู ดรายงานการประชุม ใหลงชอ่ื ผูจดรายงานการประชมุ ในคร้งั นนั้ 12. ผูต รวจรายงานการประชุม ใหลงชือ่ ผูตรวจรายงานการประชุมในครั้งนั้นการจดรายงานการประชมุ อาจทาํ ได 3 วธิ ีวิธีท่ี 1 จดอยางละเอียดทุกคําพูด มักจะใชในการประชุมท่ีสําคัญและดานกฎหมาย เชนการประชุมรฐั สภาวุฒิสภาเปน ตน ตอ งจดละเอยี ดทุกคาํ พดู ไวเ ปน หลกั ฐานทชี่ ดั เจนวิธีท่ี 2 จดอยางยอ เปนการจดเฉพาะประเด็นท่ีสําคัญ ผูจดจะสรุปเนื้อหาใหกระชับ อานงายผูอานจะเขาใจเหตุการณและที่มาของการลงมตอิ ยางชัดเจน เชน การประชุมผูบริหารกระทรวง กรม หรือการประชมุ คณะกรรมการตา ง ๆวิ ธี ที่ 3จดแตเห ตุผ ลแล ะม ติวิธีนี้ เป น วิธีท่ี ส้ัน ท่ี สุดมักจะใชใน การป ระชุมท่ี ไมมีการอภิ ป รายมากนั กหรอื มีระเบยี บวาระมากจนเกินไปไมส ามารถจดแบบวิธที ี่ ๒ ไดการรับรองรายงานการประชุม อาจทาํ ได 3 วธิ ี 1. รับรองในการประชมุ ครัง้ นั้น ใชสําหรบั กรณีเร่อื งเรง ดว นใหประธานหรอื เลขานกุ ารของทป่ี ระชุมอา น สรปุ มติใหท่ีประชุมพจิ ารณารบั รอง 2.รับรองในการประชมุ ครง้ั ตอไปประธานหรือเลขานุการเสนอรายงานการประชมุ ครั้งทแ่ี ลวมาใหท ่ีประชมุ พิจารณารบั รอง 3. รบั รองโดยการแจงเวียน ใชใ นกรณที ี่ไมมีการประชมุ คร้ังตอ ไปหรือมีแตยังไมไ ดก ําหนดระยะเวลาเลขานุการสงรายงานการประชมุ ทางไปรษณียห รือดว ยตนเองรายงานการประชุม ระเบียบวาระท่ี 1 เร่ืองทีป่ ระธานแจงใหท ป่ี ระชุมทราบ เม่ือประธานกลาวเปดการประชุม หากมีเรื่องท่ีแจงใหที่ประชุมทราบ อาทิเชน มีเรื่องสาํ คัญท่ีตองการใหนําไปปฏิบัติการมอบหมายงาน เรื่องท่ีนาสนใจเร่ืองท่ีประธานไดเขารวมประชุมที่สําคัญการประกาศเกียรติคุณ

บุคลากร หรือการแนะนําผูบริหารคนใหม ในวาระนี้ไมใชเรื่องการพิจารณา จึงไมมมี ติที่ประชุม ถาไมมีเร่ืองแจง ใหท่ปี ระชมุ ทราบ กเ็ ขยี นวา “ไมมี” 21 ระเบยี บวาระท่ี 2 เรื่องรบั รองรายงานการประชุม ประธานจะเปนผูเสนอใหท่ีประชุมพิจารณารายงานการประชุมครั้งท่ีผานมาหรือไมมี (กรณีที่มีการประชุมมครั้งแรก) โดยอาจใหพิจารณาทีละหนาในกรณีท่ีไมไดแจกรายงานลวงหนา หรือรวบยอดท้ังฉบับหากมีผูเสนอขอแกไข เลขานุการจะตองบันทึกขอความท่ีแกไขอยางละเอียด ในระเบียบวาระน้ีจะลงทายวา“ที่ประชุมพจิ ารณาแลวรบั รองรายงานการประชมุ ครัง้ ท.ี่ ............ โดยมีการแกไ ข (หรอื ไมม ีการแกไข) ระเบยี บวาระที่ 3 เร่อื งเสนอใหท ี่ประชมุ ทราบ บางแหงใชคําวา “เรื่องสืบเนื่อง” คือเปนการสืบเน่ืองจากการประชุมคร้ังที่แลว เพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายจากการประชุมครั้งกอน แตการใชคําวา “ เร่ืองสืบเนื่อง” อาจจะทําใหสับสนโดยมี การนําเอาเรื่องที่เลอ่ื นจากการประชุมครัง้ กอนมาพิจารณาและลงมตใิ นวาระน้ี ทําใหสบั สนกับวาระท่ี ๔ซึ่งเปน เรือ่ งเพ่ือพจิ ารณาโดยเฉพาะ ระเบยี บวาระท่ี 4 เร่ืองเสนอใหท ่ีประชมุ พิจารณา เลขานุการจะตองสงขอมูลประกอบการพิจารณาใหผูประชุมลวงหนา หากขอมูลมีเปนจํานวนมากจะตองสรุปสาระสําคญั ใหดวย หัวขอตาง ๆ ทจ่ี ะนํามาพิจารณาจะตองตงั้ ชื่อเร่อื งกระชบั ชดั เจน เมอ่ื ผเู กย่ี วของอานก็จะทราบทันทีวา เปนเรื่องใด ในระเบียบวาระน้ีจะลงทายดวยมติท่ีประชุม เชน “ท่ีประชุมมีมติอนุมัติตามเสนอ” หรือ “ท่ีประชุมพิจารณาแลวมีมติ ดังน้ี 1...2...3...” มติท่ีประชุมจะตองกระชับและชัดเจนมีการมอบหมายใหท ําอะไร แลวเสรจ็ เม่ือไหร อยางไร เปน ตน ระเบยี บวาระที่ 5 เร่ืองอ่ืน ๆ (ถา มี) ระเบียบวาระนี้อาจเปนเรื่องเรงดวนท่ีสําคัญมิไดแจงลวงหนา อาจจะเปนทั้งเร่ืองเพ่ือทราบเพอ่ื พจิ ารณา การนดั หมาย ในวาระนอ้ี าจจะมหี รือไมม กี ไ็ ดรายงานการประชุมทดี่ ี ควรมีลกั ษณะดงั นี้ 1. เน้อื หาถูกตองตรงตามท่ีประชุมอภปิ ราย มติถกู ตอง ชดั เจน ครบถวนทกุ ประเดน็ 2. เที่ยงตรง ผูจดรายงานการประชุมตองมีใจเปนกลางไมเอนเอียงไปขางใดขางหนึ่ง ไมนำขอคิดเห็นของตนเองใสใ นรายงานการประชมุ 3. ชัดเจนและเขาใจงาย ผูจดควรคํานึงถึงผูอานเปนสําคัญ แมมิไดเขาประชุมก็สามารถอานรายงานการประชุมไดเ ขาใจ และสามารถนาํ มติทป่ี ระชุมไปปฏิบัตไิ ด 4. ใชภาษาดี ควรใชภาษาราชการ (ภาษาเขียน) ท่ีส้ันกระชับตรงประเด็นและสุภาพเปนประโยคบอกเลาที่เรียบงาย ควรใชป ระโยคขอความเดียวที่ไมมีคำเชื่อมมาก นอกจากน้ีจะตองมีเครื่องหมายวรรคตอนทถ่ี ูกตอ ง

5. มีหัวขอยอยทุกเรื่องผูจดควรตั้งหัวขอยอยทุกเรื่องเพื่อใหสะดวกในการอางอิงภายหลังและทําใหผูอา นเขาใจเรอื่ งทนั ที 22ขอ แนะนาํ ในการเขยี นรายงานการประชุม 1. วนั เวลาประชุม มีการใชคําวา “เปด – ปดประชุม” ที่ถูกตองเปน เร่ิมประชุมและเลิกประชุมสว นคาํ วา เปด – ปด ควรใชในกรณขี องประธานคอื ประธานกลาวเปด – ปดการประชมุ การเขียนตัวเลขเวลา ตองเขียน 09.00 น. ไมใช 9.00 น. และเขียนตามจริงไมใชตามเวลาทนี่ ดั หมายเศษของนาทอี นโุ ลมเปน็ เลข 0 หรอื 5 2. ผมู าประชุม จะตองเขยี นวา ผูม าประชุม ไมใช ผูเ ขาประชุม ผูไมมาประชุม และผเู ขารวมประชุม เทาน้ัน

ภาคผนวก

สงิ่ ทค่ี วรรเู กย่ี วกบั การจดั ประชมุ การประชุม คือ กิจกรรมของบุคคลกลุมหน่ึงหรือการที่บุคคลตั้งแต 2 คนข้ึนไปมาพบปะกันตากําหนดนัดหมาย โดยมวี ัตถุประสงคตางๆ กัน เชน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ความคดิ มารวมปรึกษาหารอื เพ่ือแกปญหาอยางมีวัตถุประสงค มีระเบียบวิธี และเวลาที่กําหนดให ผูเขาประชุมแตละคนเปนไดท้ังผูรับสารและผูสงสารสว นความรู ขอ มูล ขอ เท็จจรงิ ขอคดิ เหน็ อารมณ ความรูสึกทแี่ สดงออกมาในที่ประชุม คอื “สาร” นนั่ เองรูปแบบของการประชุม การประชมุ เฉพาะกลุม คือ การประชุมเฉพาะผมู สี ิทธแิ์ ละหนาทเ่ี ทา นนั้ การประชุมตามปกติ คือ การประชุมทที่ าํ ตามกําหนดนัดหมายกันไวลว งหนา อยางแนนอน การประชุมพเิ ศษ คอื การประชมุ ที่กําหนดขน้ึ นอกเหนือไปจากการประชมุ ตามปกติ การประชมุ สามญั คอื การประชมุ ทีข่ อบงั คับกาํ หนดไวตายตัว การประชมุ วิสามญั คอื การประชมุ ท่ขี อบงั คับเปดโอกาสใหท าํ ไดต ามความจําเปน การประชมุ ลับ คอื การประชุมทจ่ี ะเปดเผยไดเ ฉพาะมติหรือขอปฏิบัติเมื่อถึงกาํ หนดเทานน้ั การประชุมปรึกษา คือ การประชุมเพ่ือปรึกษาหารือ เชน วางนโยบาย เสนอแนะแนวทางปฏิบัติแลว สรุปผล การประชุมปฏิบัติการ คือ การประชุมของคณะบุคคลที่ปฏิบัติงานประเภทเดียวกัน เพ่ือแสวงความรู ความเขาใจ และแนวทางปฏบิ ตั ิงานใหบังเกดิ สัมฤทธผิ ลสงู สดุ การประชุมสัมมนา คือ การประชุมเฉพาะกลุมแบบหนึ่งตามหัวขอท่ีกําหนด เพื่อประมวลขอคิดและเสนอแนะจากทปี่ ระชมุ ผูเ ขารวมสมั มนาจะมาจากแหลง ตา งๆกนั การประชุมชี้แจง คือ การประชุมที่ผูรับผิดชอบของหนวยงานเรียกบุคคลท่ีเกี่ยวของในหนวยงานนนั้ มารับทราบขอ เท็จจริง แนวทางการปฏบิ ัติ โดยไมมีการอภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ โดยตรง การประชุมใหญ คือ การประชุมที่เปดโอกาสใหสมาชิกขององคการทั้งหมดเขารวมแสดงความคดิ เห็นตามเวลาทก่ี ําหนดไวในขอบงั คับองคการนั้นๆวธิ สี ่อื สารและการใชภาษาในการประชุม วิธกี ารสอ่ื สารและการใชภาษาในการประชุมแยกออกไดด ังนี้ 1 การใชภ าษาสาํ หรบั ประธานในทป่ี ระชุม การใชภ าษาในทีป่ ระชมุ ขนึ้ อยูก ับรูปแบบของการประชมุ ซงึ่ อาจเปน การประชมุ ทีไ่ มเปนทางพิธีการก็ได 2 การใชภ าษาของผูเ ขา ประชมุ การประชุมอยา งเปนกันเอง ภาษาทใี่ ชป ระชุมก็จะเปน ลักษณะสนทนา แตตองใชคาํ พดู ทสี่ ่อื ความหมายไดช ัดเจน สวนการประชมุ ทีเ่ ปนทางการ จะตองระมัดระวงั การใชภาษาของตนเองใหมากยงิ่ ขึ้น ควรมีคาํ วา “ขอ” ใชเ สมอในการประชมุ เพราะแสดงถงึ ความสภุ าพ เชน ผมขอเสนอวา ดิฉันขอใหเลื่อนการพจิ ารณาเรื่องนไี้ ปคราวหนา

บนั ทกึ ขอความสวนราชการ สาํ นกั งานจัดรูปทีด่ นิ กลาง ฝา ยบรหิ ารทัว่ ไป โทร. 0 2669 4235ที่ กษ 0309/ วันที่เรื่อง ขอเชญิ ประชมุ คณะกรรมการจดั รปู ที่ดนิ กลาง ครง้ั ท่ี /เรียน ดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดกําหนดใหมีการประชุมคณะกรรมการจัดรูป ที่ ดิน กล าง คร้ังท่ี / ใน วัน ........... ที่ ............................... เวล า ............. น .ณ หอ ง ............................................... ดังระเบียบวาระการประชมุ ทไ่ี ดส งมา พรอมน้ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และโปรดเขารวมประชุมตามกําหนดวัน เวลา และสถานท่ีดังกลาวดวย ( พิมพช่ือเต็ม ) ตาํ แหนง

ท่ี กษ 0309/ สํานักงานจัดรปู ทดี่ ินกลาง กรมชลประทาน ถนนสามเสน กทม. ๑๐300 ( วนั เดือน ป )เรือ่ ง ขอเชญิ ประชมุ คณะกรรมการจัดรูปที่ดนิ กลาง ครง้ั ท่ี / .เรยี นสิ่งทีส่ ง มาดวย 1. ระเบียบวาระการประชมุ คณะกรรมการจัดรปู ทีด่ ินกลาง ครงั้ ที่ / . จาํ นวน 1 ชดุ 2. แบบตอบรับการประชุม จาํ นวน 1 ชุด ดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดกําหนดใหมีการประชุมคณะกรรมการจัดรูปท่ีดิน ครั้งท่ี / . ในวัน ( วัน/เดือน/ป ที่นัดประชุม ) เวลา น..ณ หองประชุม .ตามระเบียบวาระการประชุมฯ(สงิ่ ท่สี งมาดวย 1) ในการนี้ สํานักงานจัดรูปที่ดินกลาง จึงขอเรียนเชิญทานหรือผูแทนเขารวมประชุมตามกําหนดวัน เวลา และสถานท่ีดังกลาว และโปรดแจงแบบตอบรับการประชุมฯ (ส่ิงที่สงมาดวย 2) ใหฝายบริหารท่ัวไปสํานักงานจัดรูปท่ีดินกลาง ภายในวันท่ี .นี้ ทางโทรสาร .จกั ขอบคณุ ยิง่ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และโปรดเขารวมประชุมตามกําหนดวัน เวลา และสถานที่ดงั กลาวดว ย ขอแสดงความนบั ถือ ( พิมพช่ือเต็ม ) ตาํ แหนง

ฝายบริหารทวั่ ไปสํานักงานจัดรปู ทีด่ นิ กลางโทร.โทรสารท่ี ใบรับหนงั สือ แบบที่ 17เร่ือง .ถงึรับวันท่ี .ผูรบั .เวลา . .น. .

ระเบยี บวาระการประชุม . ครงั้ ที่ / . วัน .ท่ี . เวลา . ณ . -----------------------------ระเบยี บวาระท่ี 1 เรอ่ื งที่ประธานแจงใหท่ีประชุมทราบระเบียบวาระท่ี 2ระเบียบวาระท่ี 3 รบั รองรายงานการประชุมคณะกรรมการจดั รูปทีด่ นิ กลาง คร้งั ที่ / ..ระเบยี บวาระที่ 4 วันที่ . / ..ระเบยี บวาระท่ี 5 เรอ่ื งสืบเน่อื งจากการประชุมคณะกรรมการจัดรปู ทด่ี ินกลาง ครัง้ ที่ วนั ท่ี .ระเบียบวาระที่ 6 เรื่องที่ 3.1 . เรื่องท่ี 3.2 . เรื่องเสนอเพอื่ ทราบ .. เร่อื งที่ 4.1 . เรอ่ื งท่ี 4.2 . เรอ่ื งท่ี 4.3 . เรอ่ื งที่ 4.4 . เรื่องท่ี 4.5 เรือ่ งเสนอเพือ่ พจิ ารณา .. เรอื่ งท่ี 5.1 . เรอ่ื งท่ี 5.2 . เรื่องท่ี 5.3 . เรื่องที่ 5.4 . เรอื่ งที่ 5.5 เรอ่ื งอืน่ ๆ (ถามี)

รายงานการประชมุ . คร้ังท่ี / . . เม่ือ ณ . --------------------------------------ผูม าประชุม 1. ช่ือ – สกลุ ตาํ แหนง 2. ชื่อ – สกุล ตําแหนงผูไ มม ารว มประชมุ 1. ช่ือ – สกุล ติดราชการ ตาํ แหนง ตดิ ราชการ 2. ชือ่ – สกลุ ตําแหนงผเู ขารว มประชุม (ถามี) 1. ชื่อ – สกลุ ตําแหนง หนว ยงานท่สี งั กัดเริม่ ประชุม น. ประธานกลาวเปดประชุมและดาํ เนนิ การประชุมตามระเบียบวาระตาง ๆ ดงั ตอไปน้ีระเบยี บวาระท่ี 1 เร่อื งท่ปี ระธานแจงใหท่ีประชุมทราบ . (หากไมมเี รื่องแจง ใหทราบ ใหระบวุ า “ไมมี) ) (รายละเอียดเรื่องทป่ี ระธานแจงใหทราบ . . มติท่ปี ระชมุ รบั ทราบ เม่ือ .ระเบยี บวาระที่ 2 เร่อื งการรบั รองรายงานประชุม ประธานเสนอใหท ี่ประชุมพิจารณารา งรายงานการประชมุ ครง้ั ท่ี

มติท่ีประชุม ท่ีประชมุ พจิ ารณาแลว รับรองรายงานการประชมุ ครั้งท่ี โดนไมมขี อแกไขหรอื โดยมีการแกไ ข หนา .ระเบียบวาระที่ 3 เร่ืองท่ีเสนอใหท ี่ประชุมทราบ . . 3.1 ) (รายละเอยี ดเร่อื ง . มติทีป่ ระชุม รับทราบ . ) (ลําดับหวั ขอ ยอยจนครบถว น) .ระเบยี บวาระท่ี 4 เร่ืองท่ีเสนอใหท ่ีประชุมพจิ ารณา 4.1 (รายละเอียดเรอ่ื ง มตทิ ีป่ ระชุม 1. เห็นชอบใหดาํ เนินการ/อนุมัตติ ามเสนอ 2. มอบหมายให ดาํ เนนิ การ (ลาํ ดับหวั ขอยอยจนครบถว น)ระเบยี บวาระที่ 5 เร่ืองอื่น ๆ (ถา มี) ประธานนดั ประชุมครัง้ ตอไป ในวันท่ี . ประธานกลาวปดประชุมเร่ิมประชุม น. ( พิมพช่ือเต็ม ) ผูจดรายงานการประชุม

( พิมพชื่อเต็ม )ผูตรวจรายงานการประชุม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook