ประวตั ิความเป็ นมาจงั หวดั สระบรุ ี เมือง “ สระบุรี ” มีประวัติอนั สันนิษฐานว่า ตง้ั ข้ึนประมาณ พ.ศ. 2092 ในรัชสมยั สมเด็จพระ มหาจกั รพรรด์ิแหง่ กรุงศรีอยุธยา สืบเน่ืองมาจากยามมี ศึกสงครามประชิดติดพระนคร ไมส่ ามารถเรียกระดม พลรกั ษาพระนครไดท้ นั เพราะหวั เมืองตา่ งๆตามท่ีมีการ แบง่ การปกครองอยูห่ า่ งจากกรุงศรีอยุธยามาก จึงตอ้ ง ตง้ั เมืองใหมข่ ้ึนเพ่ือใหส้ ะดวกรวดเร็วและไดผ้ ลทนั ตอ่ เหตุการณ์ยามเกิดศึกสงคราม สว่ นท่ีตงั้ เมืองสระบุรี คร า วแ ร กไ ม่มี กา ร กา หนดเข ตแ ดนไ ว้แน่ นอ น สันนิษฐานว่า คงจะแบง่ เอาบางส่วนจากทางเมือง ลพบุรี แขวงเมือง-นครราชสีมา แขวงเมืองนครนายก ตงั้ ข้ึนเป็นเมืองสระบุรี ทง้ั น้ีเพราะเขตท่ีตง้ั ข้ึนเป็นเมือง สระบุรี เป็นเขตท่ีคลุมบางส่วนของแมน่ ้าป่ าสกั ซ่ึง สะ ด ว ก ต่อ ก า ร เดิ น ทา งไ ป ทา งภา คต ะ วัน อ อ ก ตะวนั ออกเฉียงเหนือ และยงั เคยเป็นเสน้ ทางท่ีพวกขอม สมัยโบราณเคยใชเ้ ดินทางในการติดตอ่ กบั ราชธานี (นครธม)
ประวตั ิความเป็ นมาจงั หวดั สระบรุ ี สาหรบั ประวตั ิความเป็นมาของสระบุรีมีปรากฏในหนงั สือ เร่ือง “เท่ียวตาม ทางรถไฟ” พระนิพนธข์ องสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดารงราชานุ ภาพ ซ่ึงไดท้ รงอธิบายแยกเร่ื องความเป็นมาของสระบุรี ในแตล่ ะยุค แตล่ ะสมยั ดงั น้ี สมยั กรุงละโว้ (ลพบุรี) ต่อมาถึงสมยั อโยธยา “ทอ้ งท่ีอนั เป็นเขตจงั หวดั สระบุรีน้ี แตโ่ บราณคร้ังเม่ือพวกขอมยงั เป็นใหญ่ ในประเทศน้ีอยูใ่ นทางหลวงสายหน่ึง ซ่ึงพวกขอมไปมาติดตอ่ กบั ราชธานีท่ีนคร หลวง (ซ่ึงเรียกในภาษาขอมวา่ นครธม) ยงั มีเทวสถาน ซ่ึงพวกขอมสรา้ งเป็น ปรางคห์ ินไวต้ ามท่ีไดต้ ง้ั เมือง ปรากฏอยูเ่ ป็ นระยะมา คือ ในเขตจงั หวดั - ปราจีนบุรี มีท่ีอาเภอวฒั นานครแหง่ หน่ึง ท่ีดงศรีมหาโพธ์ิแหง่ หน่ึง ตอ่ มาถึง เขตจงั หวดั นครนายก มีท่ีดงละครแหง่ หน่ึง แลว้ มามีท่ีบางโขมด ทางข้ึนพระ พุทธบาทอีกแหง่ หน่ึง ตอ่ ไปก็ถึงลพบุรี ซ่ึงเป็นเมืองหลวงของมณฑลละโว้ ท่ี พวกขอมมาตงั้ ปกครอง แตท่ ่ีใกลล้ าน้าป่าสกั ซ่ึงตงั้ จงั หวดั สระบุรี หาปรากฏส่ิง สาคญั คร้ังขอมอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดไม่ เพราะฉะน้ันเมืองสระบุรีเห็ นจะเป็นเมือง ตงั้ ข้ึนตอ่ เม่ือไทยไดป้ ระเทศน้ีจากขอมแลว้ ขอ้ น้ีสมดว้ ยเคา้ เง่ือนในพงศาวดาร ดว้ ยช่ือเมืองสระบุรีปรากฏในเร่ื องพงศาวดารเป็นคร้ังแรก เม่ือรัชกาลสมเด็จ พระมหินทราธิราช…”
ประวตั ิความเป็ นมาจงั หวดั สระบรุ ี สมยั กรงุ ศรีอยุธยา “เม่ือพระเจา้ หงสาวดีบุเรงนองยกกองทพั มาลอ้ มพระนครศรีอยุธยา พระ ไชยเชษฐาเจา้ กรุงศรีสตั นาคนหุต ยกกองทพั เมืองเวียงจนั ทล์ งมาชว่ ยไทย เดิน กองทพั เลียบลาน้าป่าสกั ลงมา พระเจา้ หงสาวดีใหพ้ ระมหาอุปราชคุมกองทพั ไป ซุม่ ดกั ทางอยูท่ ่ีเมืองสระบุรี ตีกองทพั กรุงศรีสตั นาคนหุตแตกกลบั ไป ดงั น้ีเป็นอนั ไดค้ วามวา่ เมืองสระบุรีตง้ั มากอ่ น พ.ศ.2112 แตจ่ ะตง้ั เม่ือใดขอ้ น้ีไดส้ นั นิษฐาน ตามเคา้ เง่ือนท่ีมีอยู่ คือเม่ือในแผน่ ดินสมเด็จพระมหาจกั รพรรด์ิ พระราชบิดาของ สมเด็จพระมหินทราธิราชน้ัน พระเจา้ หงสาวดีตะเบงชะเวต้ี ยกกองทพั เขา้ มาตี กรุงศรีอยุธยา เม่ือ พ.ศ.2091 ในสมยั น้ันมีเมืองป้อมปราการเป็นเข่ือนขณั ฑก์ นั ราชธานีอยูท่ งั้ 4 ทิศ คือเมืองสุพรรณบุรีอยูท่ างตะวนั ตก เมืองลพบุรีอยูท่ างทิศ เหนื อ เมืองนครนายกอยูท่ างทิศตะวนั ออก และเมืองพระประแดงอยูท่ างทิศใต้ กองทพั พระเจา้ หงสาวดียกเขา้ มาทาง ดา่ นพระเจดียส์ ามองค์ ขา้ งทิศตะวนั ตก กองทพั ไทยจึงไปตงั้ ตอ่ สูอ้ ยูท่ ่ีเมืองสุพรรณบุรี รับขา้ ศึกไมอ่ ยูต่ อ้ งถอยเขา้ มาเอา พระนครศรีอยุธยาเป็นท่ีมน่ั จึงไดช้ ยั ชนะเป็นเหตุใหเ้ ห็นวา่ เป็นเมืองท่ีตงั้ เป็นเข่ือน ขณั ฑก์ นั พระนครน้นั หาเป็นประโยชน์ดงั ท่ีคาดมาแตก่ อ่ นไมท่ ่ีสรา้ งป้อมปราการไว้ ถา้ ขา้ ศึกเอาเป็ นท่ีม่นั สาหรับทาการสงครามแรมปี ตีพระนคร ก็จะกลบั เป็ น ประโยชน์แกข่ า้ ศึก จึงใหร้ ้ื อป้อมปราการเมืองสุพรรณบุรี เมืองลพบุรี และเมือง นครนายกเสียทงั้ 3 เมืองคงไวแ้ ตเ่ มืองพระประแดง ซ่ึงรกั ษาทางปากน้า
ประวตั ิความเป็ นมาจงั หวดั สระบรุ ี อีกประการหน่ึงเห็นวา่ ท่ีรวบรวมผูค้ นในเวลาเกณฑท์ พั ยงั มีน้อยแหง่ นัก จึงไดต้ งั้ ตวั เมืองเพ่ิมเติมข้ึนอีกหลายเมือง สาหรับเป็ นท่ีรวบรวมผูค้ นเพ่ือจะได้ เรียกระดมมารักษาพระนครไดท้ นั ทว่ งที ในเวลาการสงครามมีมาอีก เมืองท่ีตงั้ ใหม่คร้ังนั้นระบุช่ือไวใ้ นหนังสือพระราชพงศาวดาร แตท่ างทิศใตก้ บั ทางทิศ ตะวนั ตก คือ เมืองนนทบุรี 1 เมืองสาครบุรี 1 (สมุทรสาคร) เมือง 1 และ เมืองนครไชยศรีเมือง 1 แตท่ างทิศอ่ืนหาไดก้ ลา่ วไม่ เมืองสระบุรี (และเมือง ฉะเชิงเทรา) เห็นจะตงั้ ข้ึนในคราวน้ีน่ันเอง คือตง้ั เม่ือราว พ.ศ.2092 กอ่ น ปรากฏช่ือในพระราชพงศาวดารเพียง 20 ปี เหลา่ เมืองท่ีตง้ั ครง้ั นั้นเป็นแตส่ าหรับ รวบรวมผูค้ นดงั กลา่ วมา จึงกาหนดแตเ่ ขตแดนมิไดส้ รา้ งบริเวณเมือง ผูร้ ั้งตงั้ จวน อยูท่ ่ีไหนก็ช่ือวา่ เมืองอยูต่ รงน้ัน ไมเ่ หมือนเมืองท่ีตง้ั มาแตก่ อ่ น เชน่ เมืองราชบุรี และเมืองเพชรบุรี เป็นตน้ เมืองตงั้ สาหรับรวบรวมคนเชน่ วา่ มาน้ี มีอีกหลายเมือง พ่ึงมาตงั้ บริเวณเมืองประจาท่ีทว่ั กนั ตอ่ เม่ือ รชั กาลท่ี 5 แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์” นามเจา้ เมืองสระบุรีคนแรก ไม่ปรากฏหลกั ฐาน คงมีเพียงตาแหน่ ง บรรดาศักด์ิเจา้ เมืองสระบุรี ซ่ึงปรากฏเดน่ ชดั ในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวร มหาราช เม่ือ พ.ศ. 2125 ทราบแตว่ า่ มีบรรดาศกั ด์ิเป็น “พระสระบุรี” เทา่ นั้น โดย สนั นิษฐานวา่ น่าจะเป็นคนไทยภาคกลาง มีหนา้ ท่ีคุมรักษาฉางขา้ วไวใ้ หก้ องทพั หลวงคร้ังยกไปตีเขมร ซ่ึงคงจะเป็นเพราะใหช้ าวเมืองสระบุรีสมยั นั้นทาไร่ทานา เก็บเก่ียวไวส้ าหรบั งานสงคราม
ประวตั ิความเป็ นมาจงั หวดั สระบรุ ี จวบจนถึงสมยั รัชกาลท่ี 3 เจา้ เมืองสระบุรีบรรดาศกั ด์ิเป็น “พระยาสุรา ราชวงศ”์ ซ่ึงตามพงศาวดาร วา่ เป็นชนเผา่ ลาวพุงดาซ่ึงถูกเกณฑอ์ พยพมาแตค่ รั้ง เจา้ พระยามหากษัตริยศ์ ึก (รัชกาลท่ี 1) พาทพั ไปตีนครเวียงจนั ท์ (สมยั กรุง ธนบุรี) แลว้ มาตงั้ รกราก ณ แขวงเมืองสระบุรี พ.ศ.2324 ลว่ งถึงสมยั รัชกาลท่ี 4 ทางการมีการแตง่ ช่ือเจา้ เมืองใหม่ ดงั น้ี เมืองพระพุทธบาท (แกว้ ประศกั ด์ิเมืองปรันตปะ) เดิมนามวา่ ขุนอนันตคีรี ตง้ั ใหมเ่ ป็นหลวงสจั จภญั ฑคิรี ศรีรัตนไพรวนั เจติยาสนั คามวาสีนพคูหาพนม โขลน เมืองสระบุรี เดิมนามวา่ ขุนสรบุรีปลดั ตง้ั ใหมเ่ ป็น พระสยามลาวบดีปลดั ตาแหน่งเจา้ เมืองในสมยั รัชกาลท่ี 5 (พ.ศ.2435) มีการจดั รูปการปกครองใหม่ เป็ นเทศาภิบาล โดยจัดตงั้ เป็ นมณฑลเทศาภิบาล จังหวดั อาเภอ ตาบล หมูบ่ า้ น ลดหล่นั กนั ลงไป เมืองสระบุรีข้ึนอยูก่ บั มณฑล กรุงเกา่ มีการส่ง ขา้ ราชการมาปกครองแทนการตงั้ เจา้ เมืองสาหรับท่ีตง้ั เมืองสระบุรี คร้ังแรก ไมป่ รากฏหลกั ฐานท่ีแน่นอนคงทราบแตเ่ พียงวา่ ตง้ั อยูท่ ่ีหวั จวนบริเวณบึงหนองโงง้ ใกลว้ ดั จนั ทบุรี ตาบลศาลารีลาว ปัจจุบนั คือ ตาบลเมืองเกา่ อาเภอเสาไห้ มีพระยาสระบุรี (เล้ียง) เป็ นเจา้ เมือง ปี พ.ศ. 2433 พระยาสระบุรี (เล้ียง) ถึงแกก่ รรม จา่ เริง เป็นเจา้ เมืองแทน
ประวตั ิความเป็ นมาจงั หวดั สระบรุ ี ไดย้ า้ ยศาลากลางเมืองสระบุรีไปอยูท่ ่ีบา้ นไผล่ อ้ มน้อย อ.เสาไห้ ( บา้ นเรื อนท่ีเจา้ เมืองสรา้ งอยูอ่ าศยั คือ ศาลากลางเมือง ) จนถึงสมยั ท่ี พระยาพิชยั รณรงคส์ งครามเป็ นเจา้ เมืองเห็นวา่ ตวั เมืองเดิมท่ีเสาไหอ้ ยู่ ห่างไกลจากทางรถไฟมาก (รัชกาลท่ี 5 ไดโ้ ปรดใหส้ ร้างทางรถไฟ สายตะวนั ออกเฉียงเหนือ ข้ึนมาถึงเมืองสระบุรี เม่ือพ.ศ.2439) ประกอบ กบั ภูมิประเทศไมเ่ หมาะสมกบั สภาพการณใ์ นสมยั น้ัน ยากแกก่ ารขยายเมือง ในอนาคต จึงไดส้ รา้ งศาลาข้ึนใหม่ ณ บริเวณตาบลปากเพรียว การกอ่ สรา้ ง เสร็จในสมยั เจา้ เมืองคนท่ี 3 คือ พระยาบุรีสราธิการ (เป้า จารุเสถียร) ในปี พ.ศ. 2509 ก็ไดร้ ้ือและสรา้ งศาลากลางหลงั ใหมข่ ้ึนแทน
ตราประจาจงั หวดั สระบรุ ี รปู มณฑป หมายถึง สถานท่ีอนั เป็นท่ีเคารพบูชาสูงสุดของชาวจงั หวัดสระบุรี และชาวไทยทง้ั ประเทศ เป็นรูปมณฑป ปลูกครอบรอยพระพุทธบาทขององค์ สมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ตง้ั อยูท่ ่ีวดั พระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร ตาบลขุนโขลน อาเภอพระพุทธบาท จงั หวดั สระบุรี คาขวญั จงั หวดั สระบุรี “พระพุทธบาทสูงคา่ เข่ือนป่าสกั ชลสิทธ์ิ ฐานผลิตอุตสาหกรรม เกษตรนาลา้ แหลง่ เท่ียว หน่ึงเดียวกะหร่ีปับ๊ นมดี ประเพณีตกั บาตรดอกไมง้ าม เหลืองอร่ามทุง่ ทานตะวนั ลือลน่ั เมืองชุมทาง”
ดอกไมป้ ระจาจงั หวดั สระบรุ ี ช่ือดอกไม้ : ดอกสุพรรณิการ์ ช่ือวิทยาศาสตร์ : Cochlospermum regium(Mart.&Schrank) Pilg ตน้ ไมป้ ระจาจงั หวดั สระบรุ ี ช่ือพรรณไม้ : ตะแบกนา ช่ือวิทยาศาสตร์ : Lagerstroemia floribunda 2
อาเภอในจงั หวดั สระบรุ ี การปกครองแบ่งออกเป็ น 13 อาเภอ 111 ตาบล 965 หมู่บา้ น 1.อาเภอเมืองสระบุรี 2.อาเภอแกง่ คอย 3.อาเภอหนองแค 4.อาเภอวิหารแดง 5.อาเภอหนองแซง 6.อาเภอบา้ นหมอ 7.อาเภอดอนพุด 8.อาเภอหนองโดน 9.อาเภอพระพุทธบาท 10.อาเภอเสาไห้ 11.อาเภอมวกเหล็ก 12.อาเภอวงั มว่ ง 13.อาเภอเฉลิมพระเกียรติ
สถานที่ท่องเที่ยวในจงั หวดั สระบรุ ี น้าตกเจ็ดสาวนอ้ ย น้าตกเจ็ดสาวน้อย เป็ นน้าตกจานวน 7 ชน้ั มีน้าไหลตลอดทง้ั ปี ตลอดสายน้าท่ี ไหลผา่ นในพ้ืนท่ีมีระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร มีเกาะ แกง่ ท่ีไมส่ ูงมากนักลดหลน่ั เป็นธารน้าตกกวา้ งคลา้ ยแกง่ ขนาดใหญ่ มีอา่ งน้า ต้ืนหลายแหง่ ท่ีสามารถลงเลน่ น้าได้ น้าตกชน้ั ท่ีสวยงาม ท่ีสุด คือชนั้ ท่ี 4 ชว่ งท่ีสวยงามท่ีสุดของน้าตกจะเป็นชว่ งเดือนพฤศจิกายน – เมษายน เพราะ น้าใสและปลอดภยั แกผ่ ูล้ งเลน่ น้า
สถานท่ีท่องเที่ยวในจงั หวดั สระบรุ ี วดั ป่ าสว่างบญุ วดั ป่าสวา่ งบุญ มีส่ิงท่ีโดดเดน่ คือ พระมหาเจดีย์ 500 ยอด โดยมีเจดีย์ ประธานองคใ์ หญอ่ ยูต่ รงกลาง และมีองคเ์ จดียร์ ายองคเ์ ล็กตง้ั ลดหลน่ั กนั ลง มาอยูร่ อบๆทิศ โดยมี ซุม้ ประตูทางข้ึนทง้ั ส่ีมุมทาเป็นบนั ไดข้ึนไปยงั องคเ์ จดีย์ ท่ีตงั้ อยูท่ างดา้ นบน ตวั องคเ์ จดียเ์ ป็ นปูนปั้นสวยงามประณี ตเคลือบสีทอง นอกจากเจดีย์ 500 ยอดแลว้ ยงั มีส่ิงน่าสนใจ อาทิ พระเจดียบ์ รรจุพระบรม สารีริกธาตุ 84,000 องค์ พระอุโบสถอาศรมรูปทรงสถูปดบั ขนั ธป์ รินิพาน พระพุทธรูปหินปางปรินิพพานยาว 10.59 เมตรท่ีสรา้ งดว้ ยหินช้ินเดียวใหญ่ ท่ ีสุดในเมื องไทย
สถานที่ท่องเทน่ีย้าวตใกนโจกงั รหกวอดั ีดสกระบรุ ี น้าตกโกรกอีดก น้าตกโกรกอีดก อยูใ่ นพ้ืนท่ีการดูแลของศูนยศ์ ึกษาธรรมชาติเจ็ดคต- โป่งกอ้ นเสา้ ลกั ษณะเป็นน้าตกใหญท่ ่ีสวยงามแบง่ ออกเป็น 8 ชนั้ ความสูง ประมาณ 350 เมตร สามารถเท่ียวชมไดท้ ุกชนั้ แตน่ กั ทอ่ งเท่ียวนิยมเท่ียวถึง ชน้ั 7 เทา่ นั้น เพราะความสวยงามของน้าตกแหง่ น้ีอยูท่ ่ีชั้น 6 และ 7 ซ่ึงมี ความสวยงามกวา่ ชนั้ อ่ืนๆ โดยการไปทอ่ งเท่ียวยงั น้าตกโกรกอีกตอ้ งเดินเทา้ เขา้ ไปชมในแตล่ ะชน้ั ผา่ นป่าเขา โดยในชว่ ง 1-2 กม.แรกเรียกไดว้ า่ ยงั เดิน สบายๆ แตห่ ลงั จากน้ันอาจตอ้ งมีการปีนป่ายเพ่ือไปยงั ชนั้ น้าตกท่ีสวยงาม น้าตกน้ีจึงเหมาะสาหรบั ผูท้ ่ีรักการผจญภยั หากตอ้ งการเดินทางไปเขา้ น้าตก โกรกอีดกในสว่ นท่ีเป้นป่าลึกควรติดตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีท่ีศูยน์เจ็ดคตใหน้ าทางเขา้ ไป โดยตอ้ งเตรี ยมความพร้อมของร่างกายมาเป็ นอย่างดี สอบถาม รายละเอียดเพ่ิมเติมไดท้ ่ี ศูนยศ์ ึกษาธรรมชาติและทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศเจ็ดคด- โป่งกอ้ นเสา้
สถานท่ีท่องเที่ยวในจงั หวดั สระบรุ ี น้าตกโกรกอีดก ช่วงเวลาท่ีเหมาะสม น้าตกโกรกอีดก มีน้าตลอดทง้ั ปีแตจ่ ะสวยมากในชว่ งฤดูฝนเ พราะ ปริมาณน้าจะไหลเต็มหนา้ ผา มีน้าตกครบทุกสาย ชว่ งเวลาท่ี เหมาะสมคือ มิถุนายน- กนั ยายนไปชว่ งตน้ ฤดูฝนจะสวยกวา่ เพราะพืชพรรณในป่าฝนเร่ิม ออก มีทง้ั มอส เฟิร์น และเห็ดสวยงาม มีใหช้ ม เห็ดแชมเปญสีชมพูสวยๆ ผีเส้ือเยอะ
สถานท่ีท่องเที่ยวในจงั หวดั สระบรุ ี วดั พระพุทธบาท วดั พระพุทธบาท วดั สาคญั แบะสิทธ์ิวีดหน่ึงคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของสระบุรี มี ปูชนี ยสถานท่ีสาคัญคื อ รอยพระพุทธบาท ท่ีประทับไวใ้ นแผ่น หิ น ประดิษฐานอยูภ่ ายในพระมณฑป มีทางข้ึนเป็ นบนั ไดพญานาคหา้ เศียร์ท่ี งดงาม หากใครมาเท่ียวสระบุรี ตอ้ งหาโอกาสไปกราบรอยพระพุทธบาท ท่ีวดั พระพุทธบาท จะเป็นสิริมงคล แกต่ วั เองและครอบครัว
สถานท่ีท่องเที่ยวในจงั หวดั สระบรุ ี วดั พระพุทธฉาย วดั พระพุทธฉาย เป็นท่ีประดิษฐาน พระพุทธฉาย(เงาพระพุทธเจา้ )คือ เงาเลือนลางท่ีเป็นรอยประทบั อยูท่ ่ีหนา้ ผา เชิงเขา บริเวณวดั พระพุทธฉาย มี ลกั ษณะคลา้ ยพระพุทธรูปยืน สนั นิษฐานวา่ คน้ พบในสมยั พระเจา้ ทรงธรรม แหง่ กรุงศรีอยุธยา ในบริเวณใกลเ้ คียงมีมณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาท เบ้ืองขวา มณฑปหลงั น้ีสรา้ งข้ึนในสมยั สมเด็จพระเจา้ เสือ และมีตน้ พระศรี มหาโพธ์ิท่ีอญั เชิญมาจากศรีลงั กา ทุกปี จะมีงานนมสั การพระพุทธฉาย พรอ้ มกบั งานนมสั การรอย พระพุทธบาทท่ีจงั หวดั สระบุรี
สถานท่ีท่องเท่ียวในจงั หวดั สระบรุ ี หอวฒั นธรรมพ้ืนบา้ นไทยวนสระบรุ ี อวฒั นธรรมพ้ืนบา้ นไทยวน สระบุรี เกิดจากแรงบนั ดาลใจของอาจารย์ ทรงชยั วรรณกุล ท่ีตอ้ งการจะอนุรักษ์มรดกทางวฒั นธรรมของกลุม่ ชาติ พนั ธุไ์ ทยวน จึงไดเ้ ร่ิมรวบรวมสถานท่ีและส่ิงของ อาทิ เรื อนของเจา้ เมือง สระบุรี เรือนของพนั ตรีหลวงจบกระบวนยุทธ เรือนของเสือคง โจรเล่ืองช่ือ ในอดีตในจงั หวดั สุพรรณบุรี ผา้ ทอโบราณ เรือพ้ืนบา้ นท่ีใชล้ ุม่ น้าป่าสกั และ ภาคกลางกวา่ 20 ลา โดยตง้ั ใจวา่ จะใหเ้ ป็นแหลง่ รวบรวมภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และเป็นแหลง่ เรียนรูเ้ ก่ียวกบั วฒั นธรรมของกลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ทยวนในจงั หวดั สระบุรี ซ่ึงเป็นกลุม่ ชาวลา้ นนาท่ีถูกกวาดตอ้ นอพยพมาจากเมืองเชียงแสน เม่ือประมาณ 200 ปี ท่ีแลว้ เปิ ดทุกวนั เวลา 08.30-16.00 น. (ไมเ่ วน้ วนั หยุดนกั ขตั ฤกษ)์
สถานท่ีท่องเที่ยวในจงั หวดั สระบรุ ี ท่งุ คอสมอส สิริสมยั ตระการตาทุง่ คอสมอส สีชมพู อร่ามตา ท่ีโอบลอ้ มดว้ ยวิวทิวเขาพระ พุทธบาทนอ้ ย ดอก บนพ้ืนท่ีกวา่ 5 ไร่ ท่ี ทุง่ คอสมอส สิริสมยั อาเภอแกง่ คอย สระบุรี ท่ีบานอวดโฉมตอ้ นรับสายถา่ ยภาพ เซลฟ่ี ไดม้ าถา่ ยรูปดอกไม้ สวนใกลก้ รุง พรอ้ มมีบริการใหเ้ ชา่ ชุดกิโมโน แบบญ่ีปุ่นใหใ้ สถ่ า่ ยภาพเกๆ๋ อีก ดว้ ย ทุง่ ดอกมอสเปิดใหเ้ ขา้ ชมฟรี ตงั้ แตว่ นั น้ี –19 มกราคม 2563 ใครอยาก มีภาพตวั เองกบั ทุง่ ดอกไมส้ ีชมพูแสนสวย รีบไปกนั เลยจา้
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: