Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิเทศเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียนที่ 2 ปี 2565

นิเทศเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียนที่ 2 ปี 2565

Published by สรวิศ จันพุ่ม, 2022-11-18 01:34:35

Description: สรุปนิเทศเปิดเรียน 2

Search

Read the Text Version

ห น# า | ก

ห น# า | ก คำนำ รายงานการนิเทศ การเตรียมความพร3อมการเป6ดภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 เครือขBายที่ 2 (ทBาเรือ-บางจาก) ฉบับนี้ เปKนผลการดำเนินงานการนิเทศ ติดตาม ความพร3อมในด3านตBางๆ ของโรงเรียนใน เครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง ได3แกB ด3านบริหารสถานศึกษา ด3านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล3อม ด3านการ จัดการเรียนการสอน ด3านอุปกรณ\\การเรียน ด3านอาหารกลางวัน และด3านความปลอดภัย เพื่อเตรียมความ พร3อมการเป6ดภาคเรียนของโรงเรยี น กลุBมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ขอขอบคุณ ผู3อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษา รองผู3อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก\\ ผู3บริหารสถานศึกษา ครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา รวมทงั้ ผู3ที่มสี วB นเกยี่ วข3องทุกภาคสวB นทใ่ี หก3 ารสBงเสริม สนับสนุน ใหค3 วามรBวมมอื จน สBงผลให3การดำเนินงานบรรลุผลตามวัตถุประสงค\\ที่กำหนดไว3ทุกประการ ผู3รายงานหวังเปKนอยBางยิ่งวBา รายงานฉบับน้ีจะเปKนแนวทางและประโยชน\\ตBอการการเตรียมความพร3อมการเป6ดภาคเรียนในการจัดการ เรียนการสอน ที่สอดคล3องกับความพร3อมและศักยภาพของผู3เรียนรวมท้ังบริบทของแตBละโรงเรียนได3อยBางมี ประสิทธิภาพ นางสาวจรยิ า ทองหอม นายสรวิศ จนั พBมุ กลมBุ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1

ห น# า | ข สารบญั หนา& คำนำ……..……………………………………………………………………………………………………………………………...ก สารบญั ................................................................................................................................................ข สารบญั ตาราง ...................................................................................................................................... ง สารบญั ภาพ.........................................................................................................................................จ บทท่ี 1 บทนำ ......................................................................................................................................1 ความเปนK มาและความสำคญั .....................................................................................................................1 วัตถุประสงค\\ ..............................................................................................................................................1 กลมุB เปbาหมาย............................................................................................................................................1 ขอบเขตการนิเทศ......................................................................................................................................2 ประโยชน\\ที่คาดวาB จะไดร3 ับ ........................................................................................................................2 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กี่ยวขอ& ง...................................................................................................................4 หลักการตามนโยบาย ประจำปง; บประมาณ พ.ศ. 2566 ............................................................................4 การนเิ ทศการศกึ ษา ...................................................................................................................................8 รปู แบบการนิเทศ.................................................................................................................................... 20 บทที่ 3 การดำเนินงาน.......................................................................................................................36 กลBุมเปbาหมาย......................................................................................................................................... 36 ขอบเขตการนิเทศ................................................................................................................................... 36 วิธดี ำเนนิ การ.......................................................................................................................................... 37 เคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ3 นการนเิ ทศ ตดิ ตามและรายงานผลการเตรยี มความพรอ3 ม............................................... 37 สถติ ิท่ใี ช3ในการวเิ คราะห\\......................................................................................................................... 37 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขG อ& มลู ...........................................................................................................38 บทที่ 5 สรุปผลและข&อเสนอแนะ........................................................................................................43

ห น# า | ค สรุปผล.................................................................................................................................................... 44 ปญg หา/อปุ สรรค ..................................................................................................................................... 44 ขอ3 เสนอแนะ........................................................................................................................................... 45 ข3อค3นพบจากการนเิ ทศ .......................................................................................................................... 45 บรรณานกุ รม......................................................................................................................................46 ภาคผนวก ..........................................................................................................................................60

ห น# า | ง สารบญั ตาราง หนา3 38 ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนขอมลู ท่วั ไปโรงเรียนได3รบั นิเทศการเตรยี มความพรอ3 มการเปด6 เรียน 39 ภาคเรยี นที่ 2 ปก; ารศกึ ษา 2565 39 40 ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนโรงเรียนไดร3 ับนิเทศการเตรยี มความพรอ3 มการเป6ดเรยี นภาคเรียนท่ี 2 41 ปก; ารศึกษา 2565 41 42 ตารางท่ี 3 แสดงผลการนิเทศการเตรียมความพรอ3 มการเปด6 เรยี นภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 42 2565 ดา นการบรหิ ารสถานศึกษา 43 ตารางท่ี 4 แสดงผลการนเิ ทศการเตรียมความพรอ3 มการเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปก; ารศึกษา 2565 ดา นอาคารสถานที่และสภาพแวดลอม ตารางท่ี 5 แสดงผลการนิเทศการเตรยี มความพรอ3 มการเป6ดเรยี นภาคเรยี นที่ 2 ปก; ารศึกษา 2565 ดานการจดั การเรียนการสอน ตารางท่ี 6 แสดงผลการนเิ ทศการเตรียมความพร3อมการเปด6 เรยี นภาคเรียนที่ 2 ป;การศกึ ษา 2565 ดานอุปกรณก ารเรียน ตารางที่ 7 แสดงผลการนิเทศการเตรยี มความพร3อมการเป6ดเรยี นภาคเรียนท่ี 2 ป;การศกึ ษา 2565 ดานอาหารกลางวัน ตารางที่ 8 แสดงผลการนเิ ทศการเตรยี มความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 ดา นความปลอดภัย ตารางท่ี 9 แสดงผลการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565

สารบญั ภาพ ห น# า | จ ภาพท่ี 1 แสดงขนั้ ตอนกระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี น หน3า ภาพที่ 2 แสดงขั้นตอนการวางแผนการนิเทศการศกึ ษา 14 ภาพท่ี 3 กระบวนการ Reflective Coaching 15 ภาพท่ี 4 ขน้ั ตอนการสอนตามกระบวนการกลั ยาณมิตร 25 ภาพที่ 5 วัฒนธรรมความร3ู 28 ภาพที่ 6 กระบวนการนเิ ทศแบบ PIDRE 30 34

บทท่ี 1 บทนำ ความเปQนมาและความสำคัญ รัฐมนตรีวBาการกระทรวงศึกษาธิการ ได3มอบนโยบายการเป6ดภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 ในการขับเคลื่อนการศึกษาที่สำคัญ ได3แกB การดูแลพัฒนาการของนักเรียน ความปลอดภัยในสถานศึกษาการจัด สภาพแวดล3อมสถานศึกษาให3ปลอดภัย การดูแลด3านโภชนาการและสุขภาพ การปbองกันภัยธรรมชาติ โดยมุBงเน3นให3ครูกระชับความสัมพันธ\\กับนักเรียนและผู3ปกครองมากขึ้น เพื่อทำให3เข3าใจนักเรียนเปKนรายบุคคล ทั้งนิสัยและชีวิตความเปKนอยูB ได3พูดคุยกับผู3ปกครองโดยตรง เพื่อรBวมกันหาแนวทางชBวยเหลือได3อยBางถูกต3อง เหมาะสม และเน3นย้ำ MOE Safety Center สถานศึกษาปลอดภัย ตามหลัก 3 ป. “ปbองกัน ปลูกฝgง ปราบปราม” พร3อมสร3างระบบดูแลชBวยเหลือนักเรียน “Screening Learning Loss” ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ คือรBางกาย จิตใจ อารมณ\\ และสังคม และการดำเนินการแก3ไขปgญหาการเรียนรู3ที่ถดถอย โดยนำการเรียนการ สอนรูปแบบ Active Learning มาใช3ชBวยให3ผู3เรียน เรียนอยBางมีความสุข สนุก และมีทักษะการคิดและขอให3 เพิ่มความสำคัญในวิชาประวัติศาสตร\\และหน3าที่พลเมือง เพื่อสร3างสำนึกของความเปKนไทย รักในการเปKนชาติ โดยจัดการเรยี นรต3ู ามความพรอ3 มและเหมาะสมในแตBละบรบิ ทพ้ืนท่ี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตระหนักถึงแนวทางและนโยบาย ของต3นสังกัดจึงได3มอบหมายให3กลุBมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ออกนิเทศ กำกับ ติดตาม การเตรียมความพร3อมการเป6ดภาคเรียน ภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 โดยได3ดำเนินการจัดทำแผนการนิเทศ และเครื่องมือการ นิเทศ ตามนโยบายของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ให3ผู3ที่เกี่ยวข3องออก นิเทศ ติดตามความพร3อมในด3านตBางๆ ของโรงเรียนในสังกัด ได3แกB ด3านบริหารสถานศึกษา ด3านอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล3อม ด3านการจัดการเรียนการสอน ด3านอุปกรณ\\การเรียน ด3านอาหารกลางวัน และด3านความปลอดภัย เพื่อสำรวจ รวบรวมข3อมูลของโรงเรียน ครู ผู3ปกครอง นักเรียน ปgญหา อุปสรรค ข3อเสนอแนะ และแนวทางการ แกไ3 ขปญg หาจากการนิเทศ ตดิ ตามในการเตรียมความพรอ3 มการเป6ดภาคเรยี น วตั ถปุ ระสงคG เพื่อรายงานผลการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 ของ โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 กลSุมเปTาหมาย 1. ผนู3 เิ ทศ ได3แกB ศึกษานิเทศกผ\\ ร3ู ับผิดชอบเครอื ขBายสถานศกึ ษาท่ี 2 2. ผ3ูรบั การนเิ ทศ ได3แกB ผบู3 รหิ ารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา

ห น# า | 2 ขอบเขตการนเิ ทศ เปาT หมาย เชิงปริมาณ สถานศกึ ษาในเครือขBายท่ี 2 จำนวน 18 โรงเรียน ได3รับการการนิเทศ ติดตามการเตรยี มความ พรอ3 มการเป6ดภาคเรยี น ท่ี 2 ป;การศกึ ษา 2565 เปKนไปในทศิ ทางเดยี วกัน เชิงคุณภาพ สถานศึกษาในสังกัดมีความพร3อมในการเป6ดภาคเรียน สามารถวางแผนและดำเนินการจัดการ เรียนการสอนพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี นไดอ3 ยาB งมปี ระสทิ ธิภาพ ระยะเวลาในการดำเนนิ การ ระหวาB งวนั ท่ี 7-11 พฤศจิกายน 2565 ประเดน็ การนเิ ทศ ตอนที่ 1 ข3อมูลท่วั ไป ตอนท่ี 2 รายการนิเทศ ด3านบรหิ ารสถานศกึ ษา ดา3 นอาคารสถานทแ่ี ละส่ิงแวดลอ3 ม ดา3 นการจดั การเรียนการสอน ด3านอปุ กรณ\\การเรียน ดา3 นอาหารกลางวนั ดา3 นความปลอดภยั ประโยชนGทค่ี าดวSาจะไดร& ับ 1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 และโรงเรียนได3รับรู3ปgญหา สภาพบริบทของผู3ปกครองและนักเรียนได3เรียนรู3และค3นพบแนวทางที่เหมาะสมในการแก3ปgญหาและพัฒนา คณุ ภาพผู3เรียนมากขนึ้ 2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีรายงานผลการนิเทศการ เตรียมความพร3อมกBอนเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 เพื่อนำไปใช3ในสนับสนุนการดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามนโยบาย กลยุทธ\\ มาตรฐานการศึกษา และจุดเน3นของการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีข3อมูลสารสนเทศ สำหรับ วางแผนการนิเทศศึกษา การบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให3มีคุณภาพและได3มาตรฐาน ตามเปbาหมาย จุดเน3นทไี่ ด3 กำหนดไว3

บทที่ 2 เอกสารท่ีเกยี่ วข:อง การนิเทศกำกับ ติดตามการการเตรียมความพร3อมกBอนเป6ดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2565ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ได3ศึกษา เอกสารที่เก่ยี วขอ3 ง ดงั นี้ 1. หลกั การตามนโยบาย ประจำป;งบประมาณ พ.ศ. 2566 2. การนิเทศการศึกษา 3. รูปแบบการนิเทศของกลBุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา หลักการตามนโยบาย ประจำป[งบประมาณ พ.ศ. 2566 กระทรวงศึกษาธิการ ได3กำหนดหลักการสำคัญในการประกาศนโยบายและจุดเน3น ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปง; บประมาณ พ.ศ. 2566 ไว3ดงั น้ี 1. สร3างความเชื่อมั่น ไว3วางใจให3กับสังคม โดยเฉพาะอยBางยิ่งผู3เรียนและประชาชน โดยให3ทุก หนBวยงานนำรูปแบบการทำงานโดยบูรณาการการทำงานรBวมกัน และปฏิบัติหน3าที่ด3วยความโปรBงใส ความ รับผดิ ชอบ ความเปKนอันหน่ึงอันเดยี วกัน 2. สนับสนุนให3ผู3ปฏิบัติงานทุกคนดำเนินการตามภารกิจด3วยความรับผิดชอบ ตBอตนเอง องค\\กร ประชาชนและประเทศชาติ โดยให3ความสำคัญกับการประสานความรBวมมือจากทุกภาคสBวน ผBานกลไกการ รบั ฟgงความคิดเหน็ มาประกอบการดำเนนิ งานทเี่ ปนK ประโยชนต\\ อB การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา 3. ดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได3ประกาศและแถลงนโยบายไว3แล3ว เมื่อ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เพื่อมุBงเน3นผลให3เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาคการศึกษาที่จะกBอให3เกิด ประโยชนต\\ อB ผู3เรียนและประชาชนอยาB งมีนัยสำคัญ นโยบายและจดุ เน&น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปง[ บประมาณ พ.ศ.2566 1. การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความปลอดภัย 1.1 เรBงสร3างความปลอดภัยในสถานศึกษาเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นของสังคม และปbองกันจาก ภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหมB และภัยอื่นๆ โดยมีการดำเนินการตามแผนและมาตรการด3านความปลอดภัย ให3แกBผู3เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบตBางๆ อยBางเข3มข3น รวมทั้งดำเนินการศึกษา วิเคราะห\\ วิจัย ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ และแสวงหาสถานศึกษาที่ดำเนินการได3ดีเยี่ยม (Best Practice) เพื่อปรับปรุง พฒั นาและขยายผลตBอไป 1.2 เรBงปลูกฝgงทัศนคติ พฤติกรรม และองค\\ความรู3ที่เกี่ยวข3อง โดยบูรณาการอยูBใน กระบวนการจัดการเรียนรู3 เพื่อสร3างโอกาสในการเรียนรู3และสร3างภูมิคุ3มกันควบคูBกับการใช3สื่อสังคม ออนไลน\\ในเชิงบวกและสร3างสรรค\\ พร3อมทั้งหาแนวทางวิธีการปกปbองคุ3มครองตBอสถานการณ\\ที่เกิดขึ้นกับ ผ3เู รียน ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

ห น# า | 5 1.3 เสรมิ สร3างการรบั รู3 ความเข3าใจ ความตระหนกั และสงB เสริมคณุ ลักษณะและพฤติกรรมที่ พึงประสงค\\ด3านสิ่งแวดล3อม รวมทั้งการปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต 1.4 เรBงพัฒนาบทบาทและภารกิจของหนBวยงานด3านความปลอดภัยที่มีอยูBในทุกหนBวยงาน ในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการให3ดำเนินการอยBางคลอB งตวั และมีประสิทธภิ าพ 2. การยกระดบั คุณภาพการศึกษา 2.1 สBงเสริม สนับสนุนให3สถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสูBการปฏิบัติอยBางเต็ม รูปแบบ เพ่ือสรา3 งสมรรถนะที่สำคัญจำเปKนสำหรับศตวรรษที่ 21 ใหก3 บั ผูเ3 รยี น 2.2 จัดการเรียนรู3ให3ผู3เรียนได3ค3นพบพรสวรรค\\ ความสนใจ ความถนัดในอาชีพของตนเอง ด3วยการเรียนรู3จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในห3องเรียน สถานประกอบการ รวมทั้งการ เรยี นร3ู ผBานแพลตฟอร\\มและหอ3 งดจิ ทิ ลั ใหค3 ำปรกึ ษาแนะนำ 2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู3และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะสBู การปฏิบัติในชั้นเรียน เพื่อสร3างความฉลาดรู3ด3านการอBาน วิทยาศาสตร\\และเทคโนโลยี สร3างตรรกะความคิด แบบเปKนเหตเุ ปKนผลให3นักเรียนไทยสามารถแขBงขนั ได3กับนานาชาติ 2.4 พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร\\ (Coding) สำหรับผู3เรียนทุกชBวงวัยเพื่อ รองรับการเปลย่ี นแปลงสBูสังคมดจิ ิทัลในโลกยุคใหมB 2.5 พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร\\ หน3าที่พลเมืองและศีลธรรม ให3มีความทันสมัย นBาสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู3เรียน ควบคูBไปกับการเรียนรู3ประวัติศาสตร\\ของท3องถ่ิน และการเสริมสรา3 งวถิ ชี ีวติ ของความเปKนพลเมืองทีเ่ ขม3 แข็ง 2.6 จัดการเรียนรู3ตามความสนใจรายบุคคลของผู3เรียนผBานดิจิทัลแพลตฟอร\\มที่หลากหลาย และแพลตฟอร\\มการเรียนรู3อัจฉริยะที่รวบรวมข3อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู3 สื่อการสอน คุณภาพสงู รวมทง้ั มกี ารประเมนิ และพฒั นาผเู3 รยี น 2.7 สBงเสริมการให3ความรู3และทักษะด3านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให3กับ ผู3เรียน โดยบูรณาการการทำงานรBวมกับหนBวยงานที่เกี่ยวข3อง เชBน กระทรวงการคลัง กองทุนการออม แหBงชาติ (กอช.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน สหกรณ\\ ฯลฯ ผBานกระบวนการเรียนรู3 โครงการ และกิจกรรมตBาง ๆ และการเผยแพรBสื่อแอนิเมชันรอบรู3เรื่องเงิน รวมทั้งสBงเสริมให3เกิดการลงทุนเชิง พาณชิ ยเ\\ พอ่ื ใหเ3 กิดผลตอบแทนท่สี งู ขนึ้ 2.8 ปรับโฉมศูนย\\วิทยาศาสตร\\และศูนย\\การเรียนรู3 ให3มีรูปลักษณ\\ที่ทันสมัย สวยงาม รBมร่ืน จูงใจ ให3เข3าไปใช3บริการ โดยมีมุมค3นหาความรู3ด3วยเทคโนโลยีทันสมัย มุมจัดกิจกรรมเชิงสร3างสรรค\\ คิด วิเคราะห\\ของผู3เรียน หรือกลุBมผู3เรียน และการรBวมกิจกรรมกับครอบครัว หรือจัดเปKนฐานการเรียนรู3ด3าน ตBางๆ ที่ผู3เรียนและประชาชนสามารถมาลงทะเบียนเข3ารBวมกิจกรรม และได3รับเอกสารรับรองการเข3ารBวม

ห น# า | 6 กิจกรรม เพื่อนำไปใช3ประโยชน\\ในสBวนที่เกี่ยวข3องหรือสะสมหนBวยการเรียนรู3 (Credit Bank) ได3 รวมทั้งมี บรเิ วณพักผอB นท่ีมบี รกิ ารลักษณะบา3 นสวนกาแฟเพ่ือการเรยี นร3ู เปKนต3น 2.9 สBงเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให3มีการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแหBงชาติไปใช3ใน การวางแผนการพฒั นาการจดั การเรียนการสอน 2.10 พัฒนาระบบการประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษาที่เนน3 สมรรถนะและผลลัพธ\\ที่ตัวผ3ูเรยี น 3. การสรา3 งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาB เทยี มทางการศึกษาทกุ ชBวงวัย 3.1 พัฒนาระบบข3อมูลสารสนเทศของนักเรียนเปKนรายบุคคล เพื่อใช3เปKนฐานข3อมูลในการ สBงตBอไปยังสถานศึกษาในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อปbองกันเด็กตกหลBนและ เด็กออกกลางคนั 3.2 สBงเสริมสนับสนุนให3เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแตB 3 ป;ขึ้นไปทุกคน เข3าสูBระบบการศึกษา เพื่อรับการพัฒนาอยBางรอบด3าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและตBอเนื่องอยBางเปKนระบบ โดยบูรณา การรBวมงานกับทกุ หนBวยงานท่เี กีย่ วขอ3 ง 3.3 พัฒนาข3อมูลและทางเลือกที่หลากหลายให3กับผู3เรียนกลุBมเปbาหมายพิเศษ และกลุBม เปราะบาง รวมทง้ั กลBมุ NEETs ในการเขา3 ถึงการศกึ ษา การเรยี นรู3 และการฝก” อาชีพ อยาB งเทBาเทยี ม 3.4 พัฒนาระบบสนบั สนุนการจดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานโดยครอบครวั (Home School) และ การเรียนรูท3 ีบ่ 3านเปนK หลกั (Home–based Learning) 4. การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะอาชพี และเพิ่มขีดความสามารถในการแขBงขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) มีการบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้ง ในระบบ นอกระบบและระบบทวิภาคี รวมทั้งการจัดการเรียนรู3แบบตBอเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสม หนBวยการเรียนรู3 (Credit Bank) รBวมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอยBางเข3มข3น เพ่อื การมงี านทำ 4.2 ขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนากำลังคนตามกรอบคุณวุฒิแหBงชาติ และยกระดับ สมรรถนะกำลังคนตามกรอบคุณวุฒิอ3างอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทั้งขับเคลื่อนความเปKนเลิศ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) โดยความรBวมมือกับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการ ผลติ กำลังคนทต่ี อบโจทยก\\ ารพฒั นาประเทศ 4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชพี ท่ีสอดคล3องกับความถนดั ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill เพ่อื ใหท3 ุกกลBุมเปbาหมายมกี ารศกึ ษาในระดับทส่ี งู ข้ึน พร3อมทง้ั สรา3 งชอB งทางอาชีพในรปู แบบ หลากหลายให3ครอบคลุมผู3เรียนทุกกลุBมเปbาหมาย รวมทั้งผู3สูงอายุ โดยมีการบูรณาการความรBวมมือระหวBาง หนวB ยงานท่ีเก่ยี วขอ3 ง

ห น# า | 7 4.4 สBงเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด3านอาชีวศึกษา (V-NET) ตาม สมรรถนะที่จำเปKนในการเข3าสูBอาชีพ และการนำผลการทดสอบไปใช3คัดเลือกเข3าทำงาน ศึกษาตBอ ขอรับ ประกาศนียบัตรมาตรฐานสมรรถนะการใช3ดิจิทัล (Digital Literacy) การขอรับวุฒิบัตรสมรรถนะ ภาษาอังกฤษ (English Competency) 4.5 จัดตั้งศูนย\\ให3คำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย\\ Start up) ภายใต3ศูนย\\พัฒนาอาชีพและ การเปKนผู3ประกอบการ และพัฒนาศูนย\\บBมเพาะผู3ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการสBงเสริม และพัฒนา ผู3ประกอบการด3านอาชีพทั้งผู3เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถาน ประกอบการ ท้ังภาครัฐและเอกชนที่สอดคล3องกบั การประกอบอาชพี ในวิถีชวี ติ รปู แบบใหมB 4.6 เพิ่มบทบาทการอาชีวศึกษาในการสร3างและพัฒนาผู3ประกอบการและกำลังแรงงานใน ภาคเกษตร โดยเฉพาะกลุBมเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และกลุBมยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young Smart Farmer) ทส่ี ามารถรองรับการประยกุ ต\\ใช3เทคโนโลยสี มยั ใหมไB ด3 4.7 สBงเสริม และสนับสนุนการผลิตและพัฒนากำลังคนทุกชBวงวัยเพื่อการมีงานทำ โดย บูรณาการความรBวมมือในการจัดการศึกษารBวมกับหนBวยงาน องค\\กรทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน องค\\กร ปกครองสBวนทอ3 งถิ่น และสถาบนั สงั คมอื่น 4.8 พัฒนาหลักสูตรอาชีพสำหรับกลุBมเปbาหมายผู3อยูBนอกระบบโรงเรียนและประชาชนท่ี สอดคล3องมาตรฐานอาชีพ เพื่อการเข3าสูBการรับรองสมรรถนะและได3รับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิ แหBงชาติ รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนรู3และมวลประสบการณ\\เทียบโอนเข3าสูBการสะสมหนBวยการเรียนร3ู (Credit Bank) ได3 5. การสBงเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรสังกัด กระทรวงศกึ ษาธิการ 5.1 สBงเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ\\การประเมินวิทยฐานะแนวใหมB Performance Appraisal (PA) โดยใช3ระบบการประเมินตำแหนBงและวิทยฐานะของข3าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 สBงเสริมสนับสนุนการดำเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางด3านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบ ระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน และระดับอาชีวศกึ ษา 5.3 พัฒนาครูให3มีความพร3อมด3านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู3 การใช3เทคโนโลยี และนวัตกรรมผBานแพลตฟอร\\มออนไลน\\ตBาง ๆ รวมทั้งให3เปKนผู3วางแผนเส3นทางการเรียนรู3 การประกอบ อาชีพ และการดำเนินชวี ิตของผูเ3 รียนได3ตามความสนใจและความถนดั ของแตลB ะบคุ คล 5.4 พัฒนาขีดความสามารถของข3าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ให3มี สมรรถนะทีส่ อดคล3องและเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและการเปลยี่ นแปลงของโลกอนาคต

ห น# า | 8 5.5 เรBงรัดการดำเนินการแก3ไขปgญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ควบคูB กบั การใหค3 วามรู3ด3านการวางแผนและการสร3างวินยั ด3านการเงินและการออม 6. การพัฒนาระบบราชการ และการบริการภาครัฐยคุ ดิจทิ ัล 6.1 ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ด3วยนวัตกรรม และการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มา เปKนกลไกหลัก ในการดำเนินงาน (Digitalize Process) การเชื่อมโยงและแบBงปgนข3อมูล (Sharing Data) การสBงเสริมความรBวมมือ บูรณาการกับภาคสวB นตBาง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอก 6.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือขBายเทคโนโลยีสารสนเทศให3สามารถใช3งานเครือขBาย สื่อสารข3อมูลเชื่อมโยงหนBวยงานภาครัฐได3อยBางมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 สามารถ ตอบสนองความตอ3 งการของประชาชนไดใ3 นทุกเวลา ทกุ สถานที่ ทกุ อุปกรณแ\\ ละทุกชBองทาง 6.3 ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยยึดหลักความ จำเปนK และใช3พนื้ ทเ่ี ปKนฐาน ทม่ี ุBงเน3นการพฒั นาคณุ ภาพผ3ูเรยี นเปKนสำคัญ 6.4 นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช3ในระบบการคัดเลือกข3าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในตำแหนงB และสายงานตาB ง ๆ 6.5 สBงเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสBวนราชการให3เปKนไปตามกลไกการประเมิน คณุ ธรรมและความโปรBงใสในการดำเนนิ งานของหนBวยงานภาครัฐ 7. การขบั เคลือ่ นกฎหมายการศกึ ษาและแผนการศกึ ษาแหงB ชาติ เรBงรัดการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแหBงชาติเพื่อรองรับ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงB ชาติควบคกูB ับการสร3างการรับรูใ3 ห3กบั ประชาชนไดร3 บั ทราบอยาB งท่ัวถึง การนิเทศการศึกษา ความหมายของการนิเทศการศึกษา การนิเทศการศึกษาเปKนกระบวนการหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค\\เพื่อ ชBวยเหลือครูในการปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให3เปKนไปอยBางมีประสิทธิภาพ และเกิด ประโยชน\\สูงสดุ กับผ3ูเรยี น ไดม3 ีนกั การศกึ ษาได3ใหค3 วามหมายของการนิเทศการศกึ ษาไว3 ดงั นี้ เกรียงศักดิ์ ไชยเนตร (2552 : 18) การนิเทศการศึกษา หมายถึง การรBวมกันทาง การศึกษาของ ผู3บริหารโรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให3มีคุณภาพ นอกจากนั้นยังเปKน การสร3างขวัญกำลังใจให3แกBครูอีกด3วย และการนิเทศภายในมีความจำเปKนและมีความสำคัญอยBางยิ่งตBอการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพราะเปKนความรBวมมือรBวมใจ รBวมแรงของบุคลากรทุกภาคสBวนท่ี จะต3องพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให3สูงขึ้น การให3กำลังใจ สร3างแรงจูงใจให3กับบุคลากรใน สถานศึกษาได3แสดงศกั ยภาพของตนเองในการจัดการเรียนร3ู เพ่อื มุBงสBูคุณภาพทส่ี งู ขึ้นของผ3เู รยี น รัตนา นครเทพ (2552 : 19) การนิเทศการศึกษารวมถึงการนิเทศภายในโรงเรียนหมายถึงการ สBงเสริม สนับสนุน หรือการให3ความชBวยเหลือครูในการด3านตBาง ๆ ให3ประสบความสำเร็จ ดำเนินการใดทำ ให3ครูมีความพึงพอใจ มีกำลังใจที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการดำเนินงานตBาง ๆ ของ

ห น# า | 9 โรงเรียนให3เปKนไปตามมาตรฐาน และสBงผลให3โรงเรียนเปKนที่ยอมรับจากทุกฝ¦าย อีกทั้งผBานการประเมินท้ัง ภายในและภายนอก คมกริช มาตย\\วิเศษ (2553 : 16) กลBาววBา การนิเทศเปKนวิธีการที่มีความสำคัญตBอการพัฒนา บุคลากรให3มีความรู3ความสามารถสำหรับหนBวยงาน โดยความรBวมมือของบุคลากรทุกฝ¦ายในการดำเนินงาน ให3ทันกบั การเปล่ียนแปลงทางวิชาการและนวัตกรรมการสอนตBาง ๆ มณีรัตน\\ รัตนวิชัย (2553 : 26) กลBาววBาการนิเทศการศึกษา หมายถึง การจัดกิจกรรมที่ทำให3 เกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนหรือทำให3เกิดการเพิ่มพลังในการปฏิบัติงานของครูรวมทั้งทำให3ครูเกิด ความก3าวหนา3 ในวิชาชพี และกBอใหเ3 กดิ ผลในขน้ั สุดท3าย คอื การศึกษามีความก3าวหน3ามีประสิทธภิ าพตามมา สรุปได3วBาการนิเทศการศึกษาเปKนกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหวBางผู3นิเทศและผู3รับ การนิเทศ รBวมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาให3มีประสิทธิภาพ สงB ผลตBอให3ผเู3 รียนมคี ณุ ภาพเพมิ่ ขน้ึ และบรรลุเปbาหมายตามมาตรฐานหลักสตู รและมาตรฐานการศกึ ษา จุดมSงุ หมายของการนเิ ทศการศกึ ษา การนิเทศการศึกษาเปKนกระบวนการอยBางหนึ่งที่จะทำให3การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประสบ ผลสำเร็จตามจุดประสงค\\ที่วางไว3นักการศึกษาและหนBวยงานทางการศึกษาได3แสดง ทัศนะเกี่ยวกับ จดุ มงุB หมายของการนเิ ทศการศึกษา ดังน้ี สมเดช สแี สง (2544 : 730) ไดก3 ลาB วถึงจดุ มงBุ หมายของการนิเทศการศึกษา ไว3ดงั นี้ 1. เพื่อสรา3 งวิธปี รับปรุงการเรยี นการสอน 2. เพ่ือให3เกดิ ความงอกงามในวิชาชีพทางการศกึ ษา 3. เพอ่ื พฒั นาครู 4. เพื่อชBวยเหลือปรบั ปรงุ วัตถุประสงค\\ของการศึกษา 5. เพื่อชวB ยเหลอื ปรับปรงุ วิธีสอน 6. เพอ่ื ชBวยเหลอื และปรับปรงุ การประเมนิ การสอน ปรียาพร วงศ\\อนุตรโรจน\\ (2548 : 20) กลBาววBาจุดมุBงหมายของการนิเทศการสอนเปKนการมุBง ปรบั ปรงุ และพัฒนาการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ดงั น้ี 1. เพ่อื การพัฒนาวชิ าชีพครู ได3แกB 1.1 การนเิ ทศการสอนใหข3 3อมูลแกBครใู นดา3 นการสอน เพื่อครูจะได3ใชเ3 ปKนแนวทางในการ ปรับปรุงการสอนของตน 1.2 การนเิ ทศการสอนเพอ่ื ให3ครูไดพ3 ัฒนาความรค3ู วามสามารถในด3านการสอน 1.3 การนเิ ทศการสอนเพอื่ สงB เสริมและพัฒนาวชิ าชีพการสอนของครู 2. เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพของนกั เรยี น 2.1 เพ่ือปรับปรงุ คณุ ภาพของการเรียนการสอนในโรงเรียนเพ่ือคุณภาพของนักเรียน 2.2 เพ่อื สBงเสริมประสิทธภิ าพงานวิชาการในโรงเรยี น

ห น# า | 10 3. เพอ่ื สร3างขวัญและกำลังใจแกบB ุคลากรทเ่ี กยี่ วข3องกับการนเิ ทศการสอน 4. เพ่อื สร3างความสมั พันธ\\ทีด่ รี ะหวBางบคุ คลท่ีเกยี่ วขอ3 งในการทำงานรBวมกัน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2552 : 33) กลBาวถงึ จุดมุBงหมายของการนเิ ทศไวด3 งั นี้ 1. เพื่อชBวยผู3บริหารสถานศึกษาและครูผู3สอนให3เกิดการปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษาให3 มีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึ้น 2. เพ่ือพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู3ให3มีประสิทธิภาพสอดคล3องกับความต3องการของ ชุมชน สังคม ทันตอB การเปลี่ยนแปลงทกุ ดา3 น 3. เพื่อสBงเสริมให3โรงเรียนปฏิรูประบบบริหาร โดยให3ทุกคนมีสBวนรับผิดชอบและ ชื่นชมใน ผลงาน 4. เพื่อให3เกิดการประสานงานและความรBวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหวBาง ผ3ทู ่ีเกย่ี วขอ3 ง ไดแ3 กB ชุมชน สังคม มณีรัตน\\ รัตนวิชัย (2553 : 28) กลBาววBาเปbาหมายหลักของการนิเทศการศึกษา อยูBที่เพ่ือ สนับสนุนสBงเสริมกระตุ3นให3ครูและผู3มีสBวนได3เสียจากการจัดการศึกษาทุกฝ¦ายเปKนรายบุคคล หรือหลายคน รBวมมือรBวมใจกันปฏิรูปวิธีการจัดการเรียนการสอนวิธีการบริหารจัดการศึกษาที่มคี วามสำเร็จตามมาตรฐาน ใด ๆ ของโรงเรียนและบุคลากรของโรงเรยี นให3สงู ข้นึ และรักษาไวไ3 ดอ3 ยาB ง ตอB เนอื่ งด3วยความเต็มใจ พศิน แตงจวง (2554 : 23) การนิเทศการศึกษามีความมุBงหมายเพื่อมุBงชBวยเหลือ แนะนำ ปรับปรุงและสBงเสริมครูให3พัฒนาในด3านตBาง ๆ อยBางเต็มที่ เพื่อที่จะเอาความสามารถของครู ออกมาใช3ให3 เปKนประโยชน\\ตBอการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อันจะสBงผลตBอ คุณภาพการเรียนการ สอน ความเจริญกา3 วหน3าของนักเรียนและโรงเรยี นในท่สี ดุ หรอื สรุปไดเ3 ปนK 4 ขอ3 ดงั น้ี 1. เพอ่ื พัฒนาคนและบุคลากรทางการศึกษา 2. เพ่อื พฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นร3ู 3. เพ่ือการสรา3 งความสัมพนั ธ\\อันดี 4. เพอ่ื สร3างขวัญและกำลงั ใจ วัชรา เลBาเรียนดี (2556 : 15) ได3กลBาวถึงความมุBงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อมBุง ปรับปรุงการปฏิบัติงานของครู โดยเน3นการทำงานเปKนทีมรBวมกันในการแก3ปgญหาอยBางเปKนระบบสร3าง เจตคติท่ดี ี ในการอนั จะกBอให3เกดิ ประสทิ ธิผลและประสิทธภิ าพในการางานจัดการศึกษา สรุปได3วBาจุดมุBงหมายของการนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนากระบวนการบริหาร กระบวนการ จัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศภายใน ให3มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในการจัด การศึกษา

ห น# า | 11 หลกั การนเิ ทศการศกึ ษา การนิเทศการศึกษาเปKนกระบวนการหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การนิเทศ การศึกษา จะบรรลุตามความมุBงหมายได3อยBางมีประสิทธิภาพ ต3องอาศัยหลักในการดำเนินงาน มีนักการศึกษาเสนอ แนวคิดเก่ียวกับหลักการในการนเิ ทศการศึกษาไว3 ดังน้ี ศิวากร นันโท (2550 : 21) ได3กลาB ววาB การนิเทศภายในสถานศกึ ษาใชห3 ลกั การ ดังนี้ 1. หลักการปฏิบัติงานตามวิธีวิทยาศาสตร\\ดำเนินการอยBางเปKนระบบระเบียบ ซึ่งครอบคลุม วิธีการศึกษาสภาพปgจจุบัน ปgญหาความต3องการ การวางแผนการนิเทศการศึกษา และการปฏิบัติการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ ซึ่งควรจะมาจากการรวบรวมข3อมูลวิเคราะห\\และสรุปผลอยBางมีประสิทธิภาพเปKน ท่ีเชอ่ื ถอื ได3 2. หลักการปฏิบัติงานตามวิธีทางประชาธิปไตย เคารพในความแตกตBางระหวBาง บุคคลให3 เกียรติซึ่งกันและกัน เป6ดใจกว3างยอมรับผลการประเมินตนเอง ยอมรับในเหตุผลและปฏิบัติ ตามข3อตกลง ตลอดจนใชค3 วามรูค3 วามสามารถในการปฏบิ ัตงิ านเพอ่ื ให3งานนน้ั บรรลุเปาb หมาย 3. หลักการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาสร3างสรรค\\ โดยการแสวงหาความสามารถพิเศษของครูแตB ละบคุ คล เป6ดโอกาสใหไ3 ด3แสดงออกและสนบั สนุนสงB เสรมิ ความสามารถเหลาB นนั้ อยBางเต็มที่ 4. หลักการปฏิบัติตามกระบวนการกลุBมและการมีสBวนรBวมเน3นความรBวมมือ รBวมใจในการ ดำเนินงาน โดยยึดวัตถุประสงค\\การทำงานรBวมกัน การชBวยเหลือแบBงปgนประสบการณซึ่งกันและกัน และ การรBวมคิดรBวมพัฒนา ท้งั น้ีเพ่อื ความสำเรจ็ ของงานโดยรวดเร็ว 5. หลักการปฏิบัติงานเพื่อประสิทธิภาพเน3นการปฏิบัติงานตามบทบาทหน3าที่ รับผิดชอบ มีการควบคุมติดตามผลการดำเนินงานและผลผลิตอยBางใกล3ชิด เพื่อให3มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตาม มาตรฐานการศึกษา 6. หลักการปฏิบัติงาน โดยยึดวัตถุประสงค\\การดำเนินงานทุกครั้งจะต3องกำหนด วัตถุประสงค\\การทำงานอยBางชัดเจน ออกแบบการดำเนินงานอยBางเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให3งานบรรลุตาม วัตถุประสงคท\\ ่กี ำหนดไว3 เกรียงศักดิ์ สังข\\ชัย (2552 : 25) ได3กลBาวถึงหลักการนิเทศการศึกษาวBาการนิเทศเปKนแนวทาง ปฏิบัติที่ผู3นิเทศต3องนำไปปฏิบัติขณะนิเทศภายในสถานศึกษา โดยเฉพาะทางด3านวิชาการจะบรรลุตาม ความมBุงหมายทว่ี างไว3อยBางมปี ระสิทธภิ าพผดู3 ำเนนิ งานต3องมหี ลกั ยดึ ในการนเิ ทศดงั น้ี 1. การนเิ ทศควรจัดใหม3 กี ารบริหารท่ีเปKนระบบและมีการวางแผนการดำเนนิ งานเปKนโครงการ 2. การนิเทศต3องถือหลักการมีสBวนรBวมในการทำงาน คือความเปKนประชาธิปไตยเคารพใน ความคิดเห็นของผู3อื่น เห็นความแตกตBางระหวBางบุคคล เน3นความรBวมมือรBวมใจกันในการดำเนินงานและใช3 ความรคู3 วามสามารถในการปฏบิ ตั งิ านเพอื่ ให3งานนัน้ ไปสเBู ปาb หมายทตี่ อ3 งการ 3. การนิเทศเปKนงานสร3างสรรค\\เปKนการแสวงหาความสามารถพิเศษของแตBละบุคคลให3แตB ละบคุ คลไดแ3 สดงออกและพัฒนาความสามารถเหลาB นัน้ ไดอ3 ยาB งเต็มที่

ห น# า | 12 4. การนิเทศเปKนการแก3ปgญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอนโดยให3ครูอาจารย\\ได3เรียนรู3วBา ปญg หาของตนเปนK อยBางไรจะหาวธิ แี ก3ไขปญg หาน้ันไดอ3 ยBางไร 5. การนิเทศเปKนการสร3างสภาพแวดล3อมในการทำงานให3ดีขึ้น สร3างความเข3าใจ ระหวBางกัน สรา3 งมนุษยสัมพันธ\\ มีวิธกี ารทำงานที่ดแี ละความสามารถท่จี ะอยBรู Bวมกนั ได3 6. การนิเทศเปKนการสร3างความผูกพันและความมั่นคงตBองานอาชีพรวมทั้งความ เชื่อมั่นใน ความสามารถของตนเกดิ ความพอใจในการทำงาน 7. การนิเทศเปKนการพัฒนาและสBงเสริมวิชาชีพครูให3ความรู3สึกภาคภูมิใจในอาชีพที่ต3องใช3 วิชาความร3ูและความสามารถ สุรศักด์ิ ปาเฮ (2554 : 18) ได3สรุปหลักการของการนิเทศภายในวBาผู3บริหาร สถานศึกษาจะต3อง ถือเปKนหน3าที่โดยตรงที่จะต3องนิเทศภายในสถานศึกษาของตนเองที่รับผิดชอบ การดำเนินการนิเทศภายใน สถานศึกษาจะต3องเปKนการรBวมมือหรือยอมรับของบุคคลในสถานศึกษา ที่จะชBวยกันพัฒนาปรับปรุงแก3ไขซ่ึง กันและกันภายใต3บรรยากาศแหBงความเปKนประชาธิปไตย ใช3กระบวนการทางวิทยาศาสตร\\มีบรรยากาศแบบ ความสร3างสรรค\\มีการประสานงานทำงานเปKนหมูBคณะ การนิเทศภายในสถานศึกษาจะต3องเกิดขึ้นจากความ ต3องการแก3ไขปgญหาหรือต3องการสนองความต3องการของสถานศึกษาที่จะต3องยกระดับคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาและการนิเทศภายในสถานศึกษาจะต3องเปKนการสBงเสริมสนับสนุนให3กำลังใจแกBบุคลากรใน สถานศึกษา ให3มีความเชื่อมั่นในตนเองและพร3อมที่จะเผยแพรBผลงานทางวิชาการเพื่อให3บุคคลในหนBวยงาน มีความร3คู วามสามารถสูงข้ึน สรุปได3วBา หลักการนิเทศการศึกษาต3องยึดหลักวิชา หลักประชาธิปไตย หลักมนุษยสัมพันธ\\ สร3างสรรคผ\\ ลงานให3เกิดการพัฒนา และแสวงหาความรวB มมือจากทกุ ฝา¦ ย กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา กระบวนการนิเทศการศึกษาเปKนสิ่งจำเปKนและสำคัญอยBางยิ่งผู3นิเทศจะต3องกำหนดขั้นตอนใน การดำเนินการนิเทศเพื่อชBวยให3งานนิเทศการศึกษาประสบผลสำเร็จตามความมุBงหมาย อยBางมี ประสทิ ธิภาพ ได3มนี กั การศกึ ษาใหท3 ศั นะเกย่ี วกับกระบวนการนิเทศการศึกษาไวด3 ังน้ี แฮรร\\ ิส (Harris. 1985 : 28) ได3เสนอข้ันตอนการนเิ ทศเปKน 6 ขน้ั ตอนคอื 1. ประเมินสภาพการทำงานเปKนกระบวนการศึกษาถึงสภาพตBาง ๆ รวมทั้ง ข3อมูลที่จำเปKนที่ จะนำมาเปKนตัวกำหนดถงึ ความตอ3 งการจำเปKนเพอื่ กBอใหเ3 กดิ การเปลี่ยนซึ่งประกอบดว3 ยงานตBอไปนี้คอื 1.1 วเิ คราะห\\ขอ3 มลู โดยการศึกษาหรอื พจิ ารณาธรรมชาตแิ ละความสัมพันธ\\ของสิ่งตาB งๆ 1.2 สังเกตสิ่งตาB ง ๆ ด3วยความรอบคอบถ่ีถ3วน 1.3 ทบทวนและตรวจสอบสิ่งตBาง ๆ ด3วยความระมัดระวงั 1.4 วดั พฤติกรรมการทำงาน 1.5 เปรียบเทยี บพฤตกิ รรมการทำงาน

ห น# า | 13 2. จัดลำดับความสำคญั ของงานเปนK กระบวนการกำหนดเปาb หมาย จดุ ประสงคแ\\ ละกจิ กรรม ตBาง ๆ ตามลำดับความสำคัญ ประกอบด3วย 2.1 กำหนดเปาb หมาย 2.2 ระบุจดุ ประสงคใ\\ นการทำงาน 2.3 กำหนดทางเลอื ก 2.4 จัดลำดับความสำคญั 3. ออกแบบวิธีการทำงานเปKนกระบวนการวางแผนหรือกำหนดโครงการตBาง ๆ เพื่อ กBอให3เกดิ การเปล่ียนแปลง ประกอบดว3 ย 3.1 จดั สายงานใหส3 วB นประกอบตBาง ๆ มีความสัมพันธ\\กัน 3.2 หาทฤษฎีหรือแนวคิดไปสกูB ารปฏิบตั ิ 3.3 เตรียมการตBาง ๆ ให3พรอ3 มที่จะทำงาน 3.4 จัดระบบการทำงาน 3.5 กำหนดแผนในการทำงาน 4. จัดสรรทรัพยากร เปKนกระบวนการกำหนดทรัพยากรตBาง ๆ ให3เกิดประโยชน\\สูงสุดในการ ทำงาน ประกอบด3วย 4.1 กำหนดทรพั ยากรท่ีต3องใช3ตามความต3องการของบุคคลหรือโครงการตBาง ๆ 4.2 จัดสรรทรพั ยากรไปให3หนวB ยงานตาB ง ๆ 4.3 กำหนดทรพั ยากรทีจ่ ำเปนK ต3องใช3สำหรับจุดมุงB หมายบางประการ 4.4 ออกแบบทรัพยากร 4.5 มอบหมายบุคลากรใหท3 ำงานในแตลB ะโครงการหรอื แตBละเปาb หมาย 5. ประสานงาน เปKนกระบวนการที่เกี่ยวข3องกับคน เวลา วัสดุ อุปกรณ\\และ สิ่งอำนวยความ สะดวกทกุ ๆ อยาB งเพ่ือจะทำใหก3 ารเปลี่ยนแปลงบรรลผุ ลสำเร็จ ไดแ3 กB 5.1 ประสานการปฏบิ ัตงิ านในฝา¦ ยตาB ง ๆ ให3ดำเนนิ การไปดว3 ยความราบรน่ื 5.2 สรา3 งความกลมกลืนและความพร3อมเพรยี งกัน 5.3 ปรบั การทำงานในสBวนตาB ง ๆ ให3มีประสทิ ธิภาพให3มากท่ีสดุ 5.4 กำหนดเวลาในการทำงานในแตBละชวB ง 5.5 สร3างความสัมพันธใ\\ ห3เกดิ ขนึ้ 6. นำสูBการปฏิบัติเปKนกระบวนการที่มีอิทธิพลตBอการปฏิบัติเพื่อให3เกิดสภาพที่เหมาะสม สามารถบรรลผุ ลแหBงการเปล่ยี นแปลงให3มากทีส่ ุด ไดแ3 กB 6.1 การแตBงต้งั บุคลากร 6.2 กำหนดแนวทางหรอื กฎเกณฑ\\ในการทำงาน 6.3 กำหนดแบบแผนเกีย่ วกับเวลา ปริมาณ หรืออัตราเร็วในการทำงาน

ห น# า | 14 6.4 แนะนำการปฏิบัติงาน 6.5 ช้ีแจงกระบวนการทำงาน 6.6 ตดั สินใจหาทางเลอื กในการปฏบิ ตั งิ าน ศุภชัย บุญสิทธิ์ (2548 : 32) ได3กลBาวถึงกระบวนการนิเทศการศึกษาวBาเปKนขั้นตอนการนิเทศ การศึกษาที่มีการดำเนินการอยBางเปKนระบบและตBอเนื่อง 5 ขั้นตอนซึ่งสามารถเขียนภาพประกอบตามลำดับ ขน้ั ตอนได3ดงั ภาพที่ 1 การศกึ ษา การวางแผน การสร3างส่ือ การปฏบิ ัติ การประเมินผล และกำหนด และเครอ่ื งมอื การนเิ ทศ และรายงานผล สภาพป/จจุบัน ทางเลอื ก ปญ/ หาและ ความต#องการ ภาพท่ี 1 แสดงขนั้ ตอนกระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียน ตามแนวทางของสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาประถมศกึ ษาแหBงชาติ ทม่ี า : ศุภชัย บุญสิทธิ์ 2548 : 32 ขั้นตอนท่ี 1 การศกึ ษาสภาพปจg จุบนั ปญg หาและความตอ3 งการ ดงั นี้ 1. การดำเนินการ แก3ไขปรับปรุงหรือพัฒนางานใด ๆ จะต3องเริ่มต3นด3วยการมองเห็นปgญหา ของงานอยBางชัดเจน เพราะการมองเห็นปgญหาจะนำไปสูBความต3องการในการแก3ไขปรับปรุงพัฒนา ดังน้ัน การศึกษาสภาพปgจจุบันปgญหาและความต3องการจึงจำเปKนต3องกำหนดไว3ให3แนBชัด ซึ่งมีจุดประสงค\\ดังนี้เพื่อ ทราบสภาพการศึกษาและคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เพื่อทราบสภาพปgญหาที่เปKนปgญหาและความ ต3องการของครู เพื่อใช3ในการกำหนดแนวทางตัดสินใจแก3ปgญหา เพื่อใช3ในการกำหนดวัตถุประสงค\\หรือ เปbาหมายของการปฏิบัติงานนิเทศ ให3ไปสูBอนาคตที่พึงประสงค\\ได3อยBางแท3จริง การศึกษาสภาพปgจจุบัน ปญg หาและความต3องการของบุคลากรในโรงเรยี นนั้น 2. ตรวจสอบขอ3 มูลในแตBละเรือ่ งให3แนชB ัด 3. เปรียบเทียบข3อมูลของปgญหาโดยเทียบกับเกณฑ\\มาตรฐานหรือจุดหมายที่กำหนดเพื่อ จะได3กำหนดเปbาหมายในการแกป3 gญหาไดถ3 กู ต3อง 4. จัดลำดับความสำคัญของปgญหาแตBละชนิด เพื่อนำไปพิจารณาดำเนินการแก3ไขปรับปรุง ขั้นตอB ไป

ห น# า | 15 ขัน้ ตอนที่ 2 การวางแผนและกำหนดทางเลือก การวางแผนการนิเทศ หมายถึง การนำข3อมูลมาวิเคราะห\\สภาพปgจจุบัน ปgญหา สาเหตุของ ปgญหาและความต3องการมากำหนดกิจกรรมและแนวทางการปฏิบัติงานนิเทศ ซึ่งการ วางแผนนั้นต3องให3 สอดคล3องกับนโยบายของหนBวยงานเหนือทุกระดับด3วยและควรจะมีขั้นตอนตBาง ๆ ดังภาพที่ 2 และ รายละเอียด ดงั นี้ ขน้ั เตรยี มการ ข้ันลงมอื ปฏิบตั กิ าร ข้ันประสาน ข้ันเตรียมแผน วางแผน วางแผน การวางแผน ไปปฏบิ ตั ิ ภาพท่ี 2 แสดงข้นั ตอนการวางแผนการนเิ ทศการศึกษา ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาประถมศกึ ษาแหBงชาติ ท่ีมา : ศภุ ชยั บญุ สิทธิ.์ 2548 : 34 ขั้นเตรียมการวางแผนควรดำเนินการโดยทำความเข3าใจขอบขBายงานอำนาจหน3าที่บทบาทของ ผู3นิเทศแล3วจึงเริ่มจัดทำแผนและโครงการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน โดยนำผลจากการศึกษาข3อมูล เกี่ยวกับสภาพปgจจุบัน ปgญหาและความต3องการของโรงเรียนมา จัดลำดับความสำคัญรวมทั้งศึกษานโยบาย วัตถุประสงค\\และแนวปฏิบัติของหนBวยเหนือเพื่อจัดทำแผนให3สนองตอบในสBวนที่เกี่ยวข3องกับการนิเทศ ภายในโรงเรียน ขั้นลงมือปฏิบัติการวางแผน ในขั้นนี้ผู3บริหารควรจะได3มีการจัดประชุมโดยนำประเด็นปgญหา และความต3องการที่สำคัญ ซึ่งได3จากการศึกษาสภาพปgจจุบัน ปgญหาและความต3องการรวมทั้งนโยบาย ของหนBวยเหนือมาพิจารณา เพื่อสรุปวBาในแตBละป;โรงเรียนสามารถจัดการปgญหาหรือปรับปรุงพัฒนางานใด ไดม3 ากน3อยเพยี งใด ขั้นประสานการวางแผนต3องมีการทบทวนเปbาหมาย วัตถุประสงค\\ แนวปฏิบัติและเวลาที่กำหนด แล3วจึงดำเนินการประสานคนและประสานงานเพื่อให3ฝ¦ายตBาง ๆ สามารถดำเนินงานได3ด3วยดีขั้นเตรียม นำแผนไปปฏิบัติในขั้นนี้โรงเรียนควรจัดทำคูBมือการปฏิบัติหรือทำแผนปฏิบัติงานออกมาเปKนรูปเลBม และ จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานเปKนหลักฐานเพื่อสะดวก การปฏิบัติงานของทุกฝ¦ายและเพื่อสะดวกตBอการติดตาม ผลงานภายหลัง ซึ่งในแผนปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียนจะต3องประกอบด3วยโครงการซึ่งควรมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1. หลกั การและเหตผุ ล 2. วตั ถปุ ระสงค\\ 3. เปbาหมาย 4. กิจกรรมสำคญั 5. ปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงาน

ห น# า | 16 6. ทรพั ยากรท่ตี 3องการ 7. การประเมนิ ผล 8. ผลท่คี าดวาB จะได3รบั จากการปฏบิ ตั ิการนเิ ทศ ขั้นตอนที่ 3 การสร3างสอื่ และเครือ่ งมอื สื่อและเครื่องมือในการนิเทศการศึกษาจำแนกตามลักษณะใช3งานได3 2 ชนิด คือ สื่อสำหรับ ใช3ในการตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งได3แกB แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบประเมิน แบบสังเกต ตลอดจนแฟbม ทะเบียนนักเรียน และสื่อสำหรับสBงเสริมคุณภาพการศึกษา ได3แกB กรณีตัวอยBางการแสดงบทบาทสมมติ คูBมือครู ชุดการเรียน หนังสืออBานประกอบวารสารการนิเทศ ศูนย\\วิชาการ ชุดฝ”กอบรม นิทรรศการและ เครอื่ งโสตทศั นูปกรณ\\ เปนK ต3น ขน้ั ตอนท่ี 4 การปฏิบัตกิ ารนิเทศ การปฏิบัติการนิเทศ หมายถึง การปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในโครงการนิเทศภายใน โรงเรียน ซึ่งผู3บริหารจะต3องนำหลักการนิเทศ เทคนิค ทักษะ สื่อ และเครื่องมือนิเทศไปใช3เหมาะสมกับ สถานการณ\\และบุคลากรผู3รับการนิเทศ เพื่อให3การปฏิบัติการนิเทศเปKนไปด3วยความเรียบร3อยผู3บริหาร โรงเรียนควรดำเนนิ การ ดงั นี้ เตรียมความพร3อมกBอนการนิเทศ ควรจัดให3มีการประชุมคณะปฏิบัติงาน เพื่อซักซ3อมความเข3าใจ เก่ยี วกับวิธกี าร กจิ กรรม ส่ือ เครือ่ งมอื การบนั ทึกผลการประเมินผล การสรุปผลการนิเทศ การปฏิบัติการนิเทศ ดำเนินงานตามกิจกรรมที่กำหนดไว3ในโครงการนิเทศภายในโรงเรียน ผู3บริหาร ไมBควร ละเลยเกี่ยวกับการสBงเสริมแรงใจ ให3กำลังใจ รับทราบปgญหาความต3องการของครูและนำเอาปgญหาความ ต3องการนั้นมาพิจารณาทางชBวยเหลือสนับสนุน ซึ่งในการปฏิบัติการนิเทศนี้ผู3บริหารจะให3การนิเทศทางตรง คือ ผู3นิเทศปฏิบัติการนิเทศด3วยตนเอง โดยปฏิบัติตามโครงการแผนงานและการใช3สื่อการนิเทศตBาง ๆ รวมทั้งวิธีการนิเทศที่เตรียมไว3หรือใช3การนิเทศทางอ3อม ซึ่งเปKนวิธีการนิเทศโดยใช3สื่อการนิเทศแทนผู3นิเทศ ได3แกB การใช3คูBมือครู การแนะนำ แนะนำ จุลสาร เทป สไลด\\วิดีโอเปKนต3น รวมทั้งการใช3วิทยากรที่มีความ เชยี่ วชาญสาขาตาB ง ๆ ชBวยแนะนำกไ็ ด3 ในการปฏิบัติการนิเทศในโรงเรียนให3ได3ผลดีนั้น ศุภชัย บุญสิทธิ์ (2548 : 37) ได3นำเสนอขั้นตอน ไว3 5 ขั้นตอน ดงั น้ี 1. ประชมุ ผ3ูเกยี่ วข3อง 2. ปฏิบัตกิ ารนเิ ทศตามแผน/โครงการ 3. ประชมุ ทบทวนการปฏิบตั ิงาน 4. ประชมุ สรุปผลการนเิ ทศ 5. นำขอ3 มลู ไปใชด3 ำเนนิ การตอB ไป

ห น# า | 17 ขัน้ ตอนที่ 5 การประเมินผลและรายงานผล การประเมินผลการนิเทศ หมายถึง การตรวจสอบความสำเรจ็ ของโครงการกับวตั ถปุ ระสงค\\ และเปาb หมายที่กำหนดไว3 ซึง่ ผนู3 ิเทศควรประเมนิ ผลตั้งแตกB ารเตรียมงานกอB นนิเทศเมอื่ เร่มิ ปฏิบัติ ระหวาB ง ปฏิบัติ สดุ โครงการและเมือ่ สิ้นขนั้ ตอนการประเมินควรประกอบดว3 ย ข้นั เตรยี มงาน ควรตรวจสอบความสมบรู ณ\\ของแผนงาน/โครงการ ขน้ั เตรียมปฏิบตั งิ าน ควรตรวจสอบปจg จยั บคุ ลากรสร3างความเขา3 ใจกบั ผป3ู ฏบิ ัติ ขน้ั ระหวBางปฏบิ ัติงาน ตรวจสอบเพือ่ ทราบปgญหาและอปุ สรรคขณะปฏิบตั ิงาน ขั้นสิ้นสุดโครงการ ตรวจสอบผลรวมการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค\\ และ เปbาหมายซึ่งในการประเมินโครงการนั้น ควรประเมินทั้งผลสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติงานตามโครงการ ปgญหาอปุ สรรคในการปฏิบัติตามโครงการดว3 ย ขนั้ สรุปและรายงานผล ควรดำเนินการหลังจากประเมนิ ผลเสร็จเรยี บร3อยแล3วตามหัวขอ3 ดงั น้ี 1. ชอื่ โครงการ 2. วัตถปุ ระสงค\\ 3. เปbาหมาย 4. ปgญหาและอปุ สรรค 5. ผลสมั ฤทธิ์ของโครงการ 6. ข3อเสนอแนะ 7. ผูร3 ับผดิ ชอบโครงการ 8. ผู3รายงาน ณรงค\\ ไชยชมพู (2550 : 25) ได3เสนอกระบวนการนิเทศภายในไว3วBา การดำเนินการนิเทศภายใน สถานศึกษาควรเปKนกระบวนการตอB เน่ืองกนั ดังน้ี ขั้นเตรียมการนิเทศ เปKนขั้นตอนการสำรวจความต3องการจำเปKน สำรวจ ปgญหาหรือข3อบกพรBอง ที่ทำให3งานไมBบรรลุผลมาใช3ประกอบการทำโครงการ โดยสำรวจความต3องการของครูจัดลำดับความสำคัญ ของปgญหา วิเคราะห\\สาเหตุของปgญหา จัดลำดับกำหนดทางเลือกการแก3ปgญหาและกำหนดกิจกรรม ใหเ3 หมาะสมสำหรับแผนงานโครงการของสถานศกึ ษาตอB ไป ขั้นวางแผนการนิเทศ เปKนการดำเนินการตBอจากขั้นที่ 1 โดยนำทางเลือกในการแก3ปgญหามา กำหนดกิจกรรมโดยเขียนเปKนโครงการนิเทศ ซึ่งจะต3องระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและมี ผ3ูรบั ผิดชอบทีช่ ัดเจน ขั้นปฏิบัติตามแผนการนิเทศ เปKนการปฏิบัติงานโดยการนำโครงการนิเทศที่ได3รับการอนุมัติจาก ผู3บริหารแล3วนำไปสูBการปฏิบัติ โดยคำนึงถึงหลักการนิเทศ สื่อ เครื่องมือ การนิเทศ การเตรียมความพร3อม สรา3 งความเขา3 ใจรวมท้ังชวB ยเหลือสนบั สนุนจากผบู3 ริหาร

ห น# า | 18 ขั้นประเมินการนิเทศเปKนการตรวจสอบผลการดำเนินงานตามโครงการนิเทศ โดยการพิจารณา ผลสมั ฤทธ์ิตามวัตถุประสงค\\ และนำผลการประเมนิ มาเปKนขอ3 มลู ในการ ปรับปรงุ พฒั นาตอB ไป ขั้นปรับปรุงแก3ไขวิธีการเปKนขั้นตอนการนิเทศที่ต3องรีบดำเนินการทันที หากพบวBามีสิ่งใด บกพรBองหรือไมBเปKนไปตามเปbาหมายก็จะต3องปรับปรุงแก3ไขในแตBละขั้นของการดำเนินงานการปรับปรุง แกไ3 ขจงึ สามารถกระทำได3ตลอดการดำเนนิ งานจนกระทัง่ เม่ือส้ินสดุ การนเิ ทศ สรุปได3วBา กระบวนการนิเทศการศึกษามีขั้นตอน 5 ขั้นตอน ได3แกB ขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพ ปgจจุบันปgญหาและความต3องการ ขั้นที่ 2 การวางแผนการนิเทศ ขั้นที่ 3 การสร3างสื่อและเครื่องมือ ขั้นที่ 4 การปฏิบัติการนเิ ทศ ข้นั ท่ี 5 การประเมินผลและรายงานผล โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี ขั้นท่ี 1 การศกึ ษาสภาพปgจจุบนั ปgญหาและความต3องการ เปKนการกำหนดปgญหาและความต3องการในการแกป3 gญหาหรอื พฒั นา ดังน้ี 1.1 การจัดทำข3อมูลสารสนเทศพื้นฐาน เพื่อเปKนข3อมูลในการพิจารณาวางแผนการ ดำเนนิ งาน 1.2 การแลกเปลี่ยนระดมความคิด วิเคราะห\\เพื่อหาสภาพปgญหาที่เกิดขึ้นและความ ต3องการในการพฒั นาตามบรบิ ทของหนBวยงาน 1.3 การจัดลำดับปgญหาและเลือกปgญหาที่เปKนความจำเปKนหรือต3องการในลำดับเรBงดBวน หรือลำดับที่เห็นวBาสำคัญที่สุด เพื่อนำมาเปKนข3อมูลในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของสำนัก เขพ้ืนที่ 1.4 การสร3างการรับรู3ระหวBางผู3นิเทศและผู3รับการนิเทศ ด3วยวิธีการตBาง ๆ เชBน การ ประชมุ การสมั มนา ฯลฯ เพ่อื สร3างวิสัยทัศน\\หรือสร3างเปาb หมายรBวมกันในการดำเนินงาน ขัน้ ที่ 2 การวางแผนการนเิ ทศ เปKนการนำปgญหาและความต3องการ กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมในการจัดทำแผน นิเทศ โดยใหส3 อดคลอ3 งกบั นโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ดังน้ี 2.1 กำหนดแนวทาง/วิธีการพัฒนาที่หลากหลายตามปgญหาที่เกิดขึ้น ตามความต3องการ และจำเปKน มีการใช3กระบวนการชุมชนการเรียนรู3ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) เปKนเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาวิชาชีพครูและการพัฒนา ผเ3ู รยี นอยBางระบบและตBอเนือ่ ง 2.2 เลอื กแนวทาง/วธิ ีการในการพัฒนาโดยการมีสวB นรวB มของทุกฝ¦ายท่เี กี่ยวข3อง 2.3 วางแผนการดำเนนิ งานพฒั นา 1) การประชุมเตรียมการนิเทศของศึกษานิเทศก\\ เพื่อสร3างความรู3ความเข3าใจ และ แนวทางการนิเทศรวB มกัน 2) กำหนดประเด็นการนิเทศ รBวมกันโดยวิเคราะห\\จากปgญหา ความต3องการของ โรงเรียนและนโยบายของตน3 สงั กดั

ห น# า | 19 4) กำหนดระยะเวลาในการนิเทศ โดยกำหนดระยะเวลาในการนิเทศที่เหมาะสมกับ การแกป3 ญg หาและการพัฒนา 5) กำหนดวิธีการนิเทศและกิจกรรมการนิเทศที่เหมาะสมตามสภาพปgญหาและความ ต3องการ เชBน การประชุมสัมมนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู3 การสังเกตชั้นเรียน การสาธิต การบันทึกวีดีโอและ การถBายภาพ การสมั ภาษณ\\ การ Coaching & Mentoring ฯลฯ เปKนตน3 2.4 จัดทำแผนนิเทศ ประกอบด3วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค\\ เปbาหมาย แผนการดำเนินการ ประเด็นหรือรายการนิเทศ กิจกรรมสำคัญ ปฏิทินการปฏิบัติงาน ทรัพยากรที่ต3องการ เครือ่ งนเิ ทศ ผลทคี่ าดวาB จะได3รบั ขน้ั ท่ี 3 การสร3างส่อื และเครอื่ งมือ สื่อและเครื่องมือนิเทศเปKนสิ่งที่จะชBวยให3การนิเทศมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค\\ และเปKนสิ่งที่จะชBวยเก็บรายละเอียดที่ผู3รับการนิเทศไมBสามารถแสดงออกมาได3 และสามารถเก็บข3อมูลนำมา เปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นเพื่อเปKนแนวทางในการพัฒนา และสิ่งที่ทำให3มีความเข3าใจตรงกันระหวBางผู3นิเทศ และผู3รบั การนิเทศ 3.1 สร3างสื่อการนิเทศที่ทำให3การนิเทศบรรลุวัตถุประสงค\\ เชBน วิธีการนิเทศ ทักษะการ นเิ ทศ เทคนิคการนเิ ทศ โดยเปKนสื่อที่สอดคล3องในยุคศตวรรษที่ 21 3.2 สร3างเครื่องมือการนิเทศเพื่อเก็บข3อมูลเปKนแนวทางในการแก3ปgญหาและพัฒนา ตรวจสอบ ติดตามความก3าวหน3าของการดำเนินงาน และการประเมินผลการดำเนินงานซึ่งเปKนเครื่องมือที่มี คุณภาพ ใช3งBาย สามารถเก็บข3อมูลที่ตอบประเด็นปgญหาความต3องการ และเปKนประโยชน\\ในการแก3ปgญหา ปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษา ขน้ั ท่ี 4 การปฏบิ ัตกิ ารนิเทศ ดำเนนิ การนิเทศตามวธิ ีการนิเทศและกิจกรรมที่กำหนด 4.1 ประชุมเตรียมการกBอนการนิเทศ เพื่อสร3างความเข3าใจของผู3นิเทศให3การนิเทศ เปKนไปอยาB งมีประสทิ ธภิ าพ 4.2 นิเทศตามขัน้ ตอน ระยะเวลา และใช3เครอื่ งมอื ตามท่ีกำหนด 4.3 การสะท3อนผลการนเิ ทศ 4.4 ปรับปรงุ และพัฒนาการดำเนินงาน ขั้นที่ 5 การประเมนิ ผลและรายงานผล 5.1 ประเมินความก3าวหน3าของการดำเนินงาน เชBน การดำเนินงานของผู3รับการนิเทศ เพอื่ นำผลไปปรบั ปรงุ แนวทางการดำเนินงาน 5.2 ประเมินผลการนิเทศเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติการนิเทศตามระยะเวลาที่ต3องการใน การนำผลไปใช3ในการพฒั นา 5.3 รายงานผลการนเิ ทศตอB ผ3เู กีย่ วขอ3 ง

ห น# า | 20 5.4 นำผลการนิเทศที่เปKนปgญหา อุปสรรคและข3อเสนอแนะไปพัฒนาการนิเทศในคร้ัง ตอB ไป หรือในป;การศกึ ษาตอB ไป รปู แบบการนเิ ทศ ในการนิเทศ ติดตาม โรงเรียนสามารถเลือกใช3รูปแบบหรือเทคนิคการนิเทศตามดุลพินิจของตน อยาB งอสิ ระ ตามรูปแบบตBาง ๆ ดงั นี้ 1. การนเิ ทศแบบคลินิก (Clinical Supervision) ทฤษฎีการนิเทศตามรปู แบบของโกลดแ\\ ฮมเมอร\\ ไดเ3 สนอรปู แบบ (Model) การนิเทศ แบบคลินกิ ไว3 5 ขัน้ ตอน ดงั น้ี ขั้นที่ 1 การประชุมปรึกษากBอนการสังเกตการสอน (pre-observation conference) เปKน พ้ืนฐานของความเข3าใจและตกลงรวB มกันระหวBางครูและผน3ู เิ ทศเก่ยี วกับการจดั การเรียนการสอน ขนั้ ที่ 2 การสงั เกต การสอน (observation) ซ่งึ ผูน3 เิ ทศจะดำเนนิ การสงั เกตการสอนของครู ขั้นที่ 3 การวิเคราะห\\ข3อมูลและกำหนดวิธีการประชุมนิเทศ (analysis and strategy) คือ การ รวบรวมข3อมูลพฤติกรรมการสอนให3เปKนหมวดหมูBเปKนระบบเพื่อนำมาวิเคราะห\\ ผู3นิเทศและครูจะรBวมกันคิด วางแผนขน้ั ตอนของการประชุมนิเทศด3วย ขน้ั ท่ี 4 การประชุมนิเทศ (supervision conference) เปนK การให3ข3อมลู ปbอนกลบั เกยี่ วกับพฤตกิ รรมการสอนของครู ขั้นที่ 5 การประชุมวิเคราะห\\พฤติกรรมการนิเทศ (post-conference analysis)เปKนการ เป6ดโอกาสให3ครูและผู3นิเทศได3ปฏิบัติตั้งแตBเริ่มต3นในขั้นตอนที่ 1 จนถึงขั้นตอนที่ 4 เพื่อค3นหาถึงพฤติกรรม การนิเทศที่ดี และที่บกพรBองสมควรปรับปรุงโดยที่ครูมีสBวนรับผิดชอบที่จะให3ข3อมูลปbอนกลับเกี่ยวกับ พฤติกรรมการนิเทศ 2. การนเิ ทศแบบระบบพเี่ ลีย้ ง (Mentoring Supervision) Mentoring หมายถึง ผู3ที่มีความรู3 ความสามารถเปKนที่ยอมรับที่สามารถให3คำปรึกษาและ แนะนำชBวยเหลือครูเพื่อพัฒนาศักยภาพให3สูงขึ้น และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู3ได3อยBางมีคุณภาพ พี่ เลี้ยง หรือ Mentor จะดูแลครู ครูที่ได3รับการดูแลจากพี่เลี้ยง เรียกวBา Mentee บางองค\\กรจะเรียกระบบพี่ เลี้ยง หรือ Mentoring System นี้วBา Buddy System ซึ่งเปKนระบบที่พี่จะต3องดูแลเอาใจใสBน3อง คอยให3 ความชวB ยเหลือและให3คำปรึกษาแนะนำ เมอื่ Mentee มีปgญหา คุณลักษณะของ Mentor 1. มีทกั ษะในการสรา3 งปฏิสัมพันธ\\กับผอู3 ่ืน (Interpersonal Skills) 2. มีทักษะในการจูงใจ (Influence Skills) 3.การยอมรับผลสำเร็จในการทำงานของผู3อ่ืน (Recognized other’s accomplishment) 4. การมีทกั ษะในการนิเทศ (Supervisory Skills) 5. มีเทคนิคในสายวชิ าชีพ (Technical Knowledge)

ห น# า | 21 บทบาทหนา3 ทข่ี อง mentor 1. Guide Mentor จะเปKนผ3แู นะแนวแกBกลมBุ Mentee ในการระมัดระวังปgญหาและ อปุ สรรคตอB การทำงาน 2. Ally Mentee เปนK พันธมิตรท่คี อยให3ขอ3 มลู แกB Mentee 3. Catalyst Mentor เปนK ผก3ู ระต3ุนใหก3 ลุBม Mentee มองภาพวิสยั ทัศน\\และอนาคตของ สถานศึกษาวBาจะไปในทศิ ทางใด 4. Savvy Insider Mentor เปKนผู3มีความรู3 ทักษะ และประสบการณ\\ในการจัดการศึกษาให3 มีแนวทางในการจัดการศึกษาให3ประสบความสำเร็จและสามารถให3แนวทางแกBกลุBมMentee ในการจัด กจิ กรรมการเรยี นร3ูให3บรรลตุ ามเปาb หมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนด 5. Advocate ในขณะท่ีกลBมุ Mentee เกดิ การเรียนรูน3 ัน้ สมาชิกจะเริ่มมองเห็นวBาตนเอง สามารถผลกั ดนั ความเจรญิ ก3าวหนา3 และแผนพัฒนาความกา3 วหน3าด3วยตนเอง Mentor จะทำหน3าท่ชี Bวยให3 Mentee ไดม3 ีโอกาสแสดงความสามารถให3เห็นเปนK ทปี่ ระจักษ\\ 3. การนเิ ทศแบบชี้แนะ (Coaching Supervision) เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) เปKนการชี้แนะครู โดยผู3ชี้แนะ (Coach) อาจเปKน ศึกษานิเทศก\\ ผู3บริหารสถานศึกษา ผู3นิเทศภายในที่สามารถเปKนผู3ชี้แนะได3 ผู3ได3รับการชี้แนะ (Coached) สBวนใหญBเปKนครูในสถานศึกษา การนิเทศแบบชี้แนะจะเน3นไปที่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน (Individual performance) และพัฒนาศักยภาพ (Potential) ของครู Coaching เปKน การสื่อสารอยBางหนึ่งที่เปKนทางการและไมBเปKนทางการ เปKนการสื่อสารแบบสองทาง (Two way Communication) ผ3นู เิ ทศและครไู ด3รBวมกนั แก3ไขปgญหาตBาง ๆ ท่ีเกิดขน้ึ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู3 แนวปฏิบัตกิ ารนเิ ทศแบบชีแ้ นะ 1. กำหนดเวลาให3เหมาะสมกบั เนือ้ หาท่ตี 3องการชแี้ นะ 2. มีความพร3อมในการชี้แนะ 3. สุขภาพรBางกายแข็งแรง 4. วธิ กี ารชแี้ นะมคี วามเหมาะสมกบั เน้ือหาสาระและผูร3 ับการนิเทศ 5. ศึกษาข3อมูลเกี่ยวกับเนื้อหา/ขอบเขตของงานที่นิเทศโครงสร3างสถานศึกษาวิสัยทัศน\\ นโยบายตBาง ๆ ของสถานศึกษา ขอ3 มลู เก่ยี วกับผร3ู บั การนเิ ทศ 6. เตรยี มความพร3อมดา3 นส่ือ อุปกรณ\\ เครือ่ งมอื ท่ีใช3ในการนิเทศชี้แนะ 7. เข3าใจจิตวทิ ยาการเรียนร3ูของครู 4. การนิเทศแบบ Coaching & Mentoring Coaching เปKนการชี้แนะ/สอนงานให3แกBผู3ถูกชี้แนะ โดยผู3ชี้แนะ (Coach) อาจเปKนผู3บริหาร สถานศึกษา ผู3นิเทศภายในหรือศึกษานิเทศก\\ที่สามารถเปKนผู3ชี้แนะ สอนงานได3 ผู3ถูกชี้แนะ(Coached) สBวน ใหญBเปKนครูที่อยูBในสถานศึกษา การนิเทศแบบชี้แนะจะเน3นไปที่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน (Individual

ห น# า | 22 Performance) และพัฒนาศักยภาพ (Potential) ของครู Coaching เปKนการสื่อสารอยBางหนึ่งที่เปKน ทางการและไมBเปKนทางการระหวBางผู3ชี้แนะและผู3ถูกชี้แนะ เปKนการสื่อสารแบบสองทาง (Two way Communication) ทำให3ได3รBวมกันแก3ไขปgญหาตBาง ๆ ที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู3 เชBน ปgญหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู3เรียนต่ำ ผู3เรียนออกกลางคัน สื่อที่ใช3ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู3ไมBมีคุณภาพ ซึ่งการรBวมกันแก3ไขปgญหาดังกลBาวกBอให3เกิดความสัมพันธ\\อันดีระหวBางผู3ชี้แนะ (Coach) และผู3ถูกชี้แนะ (Coached) อยBางไรกต็ ามการทีจ่ ะ Coaching ได3ดีนนั้ ตอ3 งมีความพร3อมท้งั ผ3ชู แ้ี นะและผู3ถกู ชี้แนะ แนวทางการชี้แนะ การชBวยเหลือครูจำเปKนต3องใช3กลุBมบุคคล บทบาท และกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อนำพาครู ไปสูBจุดหมายทีพ่ ึงประสงค\\ การนิเทศเปKนการดำเนินการโดยผู3มีประสบการณ\\ในการใช3กระบวนการวิธีการ ตBาง ๆ ในการ ให3ความชBวยเหลือ อำนวยการ กำกับ ดูแล เพื่อคุณครูสามารถพัฒนาความรู3ความสามารถได3ตามเปbาหมาย ขององค\\กร การเปKนพี่เลี้ยง เปKนวิธีการที่ผู3ที่มีประสบการณ\\ให3ความชBวยเหลือผู3ที่มีประสบการณ\\น3อยกวBา ให3ได3รับการ พัฒนาทั้งเรื่องวิชาชีพและการดำเนินชีวิตให3พัฒนาไปสูBเปbาหมายที่ได3วางไว3รBวมกันการอบรมเปKนวิธีการให3 ความรู3ความเข3าใจในการปฏิบัติงาน โดยมีหลักสูตรและวิธีการใน การดำเนินการเฉพาะให3ได3ผลตาม มาตรฐานทีว่ างไว3 การชี้แนะเปKนวิธีการในการพัฒนาสมรรถภาพการทำงานของคุณครู โดยเน3นไปที่การทำงาน ให3ได3ตามเปbาหมายของงานนั้น หรือ การชBวยให3สามารถนำความรู3ความเข3าใจที่มีอยูBและ/หรือ ได3รับการ อบรมมาไปสูกB ารปฏบิ ตั ไิ ด3 เครื่องมอื การชี้แนะ เครื่องมือสำคัญของการชี้แนะคือ รูปแบบการใช3ภาษาแบบตBาง ๆ ที่ชBวยให3ครูเกิดการเรียนรู3 รูปแบบการใช3ภาษาของผู3ชี้แนะเหลBานี้ จะเปKนแบบอยBางให3ครูนำไปใช3ในการชี้แนะตนเองได3ในภายหลัง การใช3ภาษาในการชี้แนะ มีคุณภาพและระดับที่แตกตBางกันไป ซึ่งผู3ชี้แนะต3องเลือกใช3ให3เหมาะสม กับสถานการณ\\ ในสถานการณ\\ที่ครูประสบปgญหาในการสอน ผู3ชี้แนะจำนวนมากมักมีแนวโน3มบอกวิธีการ แก3ปgญหาหรือให3แนวทางแกBครูเปKนหลัก แทนที่จะชBวยให3ครูได3คิดและหาวิธีการแก3ปgญหาด3วยตนเอง ซึ่งผู3 ชแ้ี นะต3องตัดสินใจเลอื กโดยการถามตวั เอง จำนวน 3 คำถาม คอื 1. เราควรบอกวธิ ีการแกป3 ญg หาไปเลยหรือไมB 2. เราควรรBวมมือกับคุณครูในการแก3ปgญหา ด3วยการให3ข3อมูลบางอยBางและหาทางแก3 รBวมกันหรือไมB 3. เราควรใหค3 ุณครไู ด3เรยี นรู3และแก3ปgญหาดว3 ยตัวเองหรือไมB

ห น# า | 23 การนิเทศแบบ Mentoring Mentoring การเปKนพี่เลี้ยง (Mentor) เปKนการให3ผู3ที่มีความรู3ความสามารถหรือเปKน ที่ยอมรับ หรือผู3บริหารในหนBวยงานให3คำปรึกษาและแนะนำชBวยเหลือรุBนน3องหรือผู3ที่อยูBในระดับ ต่ำกวBา (Mentee) ในเรื่องที่เปKนประโยชน\\ตBอการทำงานเพื่อให3มีศักยภาพสูงขึ้น การเปKนพี่เลี้ยงอาจ ไมBเกี่ยวกับ หน3าที่ในปgจจุบันโดยตรงการ Mentoring นอกจากใช3กับพนักงานใหมBแล3ว ยังสามารถนำวิธีการนี้มาใช3กับ พนักงานที่ปฏิบัติงานในองค\\กรมากBอน โดยคุณลักษณะของผู3ที่เข3าขBายของการเปKนMentee ในองค\\กรได3นั้น ควรมีคุณลักษณะท่ีสำคญั ดังตBอไปนี้ 1. เปนK ผท3ู ี่มปี ระวตั ใิ นการทำงานทป่ี ระสบความสำเรจ็ 2. เปนK ผ3ทู ม่ี ีความเฉลยี วฉลาดและมคี วามคิดสรา3 งสรรคใ\\ นการทำงาน 3. เปKนผูท3 ่มี ีความผกู พันกับบริษัทและผูกพันกับหน3าทีก่ ารงานทไี่ ด3รบั มอบหมาย 4. เปนK ผู3ทมี่ ีความใฝฝ¦ นg และความปรารถนาทจี่ ะทำงานให3บรรลุเปาb หมาย 5. เปนK ผท3ู ชี่ อบความทา3 ทายและเต็มใจพรอ3 มทีจ่ ะทำงาน 6. เปนK ผ3ูทม่ี คี วามปรารถนาทจี่ ะได3รับความก3าวหน3าและการเติบโตในสายอาชพี 7. เปKนผู3ที่เต็มใจรับฟgงคำชี้แนะและข3อมูลปbอนกลับจากหัวหน3างานและคนรอบข3างเพ่ือ การพฒั นาและปรบั ปรงุ ตนเองอยBเู สมอ บทบาทหนา3 ทขี่ อง Mentor ในองค\\กรแหBงการเรียนรู3ซึ่งทุกคนต3องเรียนรู3ไปพร3อมกันเปKนทีมนั้น Mentoring แบบกลุBมมี ความเหมาะสม ที่จะนำมาใช3พัฒนาบุคคลในองค\\กรได3ดี โดย Mentor หรือ Learning Leader จะทำหน3าท่ี ดังนี้ 1. Guide เปKนผูค3 อยชช้ี อB งทางแกBกลBุม Mentee และคอยเตือนใหร3 ะมดั ระวังจดุ อันตราย แตB จะไมBเปKนผู3ตัดสินใจเลือกทางให3 จะชBวยให3กลุBมมองเห็นภาพขององค\\กรในอนาคต เพื่อกลุBมย3อนไปดูวBาการที่ เขาก3าวหน3าในงานขึ้นมาจนอยูBในตำแหนBงปgจจุบัน เขาได3ใช3ทักษะ วิธีการและพฤติกรรมที่ดีหรือไมBดีอยBางไร บ3าง นอกจากนี้ยังคอยตั้งคำถามที่กระตุ3นให3กลุBมหาคำตอบซึ่งจะทำให3กลุBมสามารถมองเห็นกลยุทธ\\และ เทคนิคใหมB ๆ ที่จะนำไปใช3ในสถานการณ\\ตBาง ๆ ได3 การเรียนร3ู Mentee ไมBได3เรียนรู3จากประสบการณ\\ของ ตนเองเทBาน้นั แตBจะเรียนร3จู ากประสบการณข\\ อง Mentee อน่ื ๆ ในกลBุมด3วย 2. Ally เปKนพันธมิตรที่คอยให3ข3อมูลแกB Mentee แตBละคนในกลุBมวBา บุคคลนอกกลุBมเขา มองจุดอBอน จุดแข็งของ Mentee แตBละคนอยBางไร หาก Mentee เลBาถึงปgญหาของตนก็จะฟgงอยBางตั้งใจ เห็นอกเหน็ ใจ แลว3 ใหข3 3อมูลความเหน็ ทั้งทางดีและทางไมBดีอยาB งตรงไปตรงมาและเปKนมติ ร 3. Catalyst เปKนผู3กระตุ3นให3กลุBมมองภาพวิสัยทัศน\\ขององค\\กรและอนาคตของตนเอง ชี้ให3เห็นวBาในอนาคตจะมีอะไรที่เปKนไปได3เกิดขึ้นบ3างแทนการคาดการณ\\ การมองภาพในอนาคตนั้นให3มอง ออกไปนอกแวดวงการทำงานของแตBละคนดว3 ย

ห น# า | 24 4. Savvy Insider Mentor เปKนผู3ซึ่งอยูBในหนBวยงานมานาน พอจะร3ูวBางานตBาง ๆ ใน หนBวยงานประสบความสำเร็จได3อยBางไร รู3ลูBทางวBาหาก Mentee ในกลุBมแตBละคนจะก3าวหน3า บรรลุ เปbาหมายที่กำหนดไว3จะต3องเดินไปทางไหน จะเปKนผู3ทำหน3าที่เชื่อมโยง Mentee กับบุคคลอื่นในองค\\กรที่ สามารถชวB ยให3Mentee เกดิ การเรียนรู3ได3 5. Advocate ในขณะที่กลุBมเกิดการเรียนรู3นั้น สมาชิกจะเริ่มมองเห็นวBาตนเองสามารถ ผลักดันความเจริญก3าวหน3าและพัฒนาแผนความก3าวหน3าได3ด3วยตนเอง Mentor จะทำหน3าที่ชBวย ให3Mentee ได3มี โอกาสแสดงความสามารถให3เห็นเปKนที่ประจักษ\\แกBผู3บังคับบัญชา (Visibility) เชBน เม่ือ Mentee เสนอโครงการปฏิบัติงานที่เห็นวBาดี ก็พยายามผลักดันให3โครงการน้ันได3รับอนุมัติให3ดำเนินการได3 เพือ่ Mentee จะได3มีโอกาสแสดงความรค3ู วามสามารถ กลBาวโดยสรุป Coaching คือการเปKนผู3สอนให3กับผู3ใต3บังคับบัญชาในเรื่องของงานที่รับผิดชอบ โดยผู3รับการสอนจะเปKนผู3ที่มีผลงานอยูBในระดับมาตรฐาน สBวนการ Mentoring นั้นเปKนการให3คำปรึกษา และแนะนำชBวยเหลือให3กับพนักงานใหมBหรือพนักงานที่มีอยูBเดิมที่มีผลงานอยูBในระดับสูงกวBามาตรฐาน ใน เรื่องที่เกี่ยวข3องกับงานและอื่น ๆ ที่จะทำให3ศักยภาพของพนักงานสูงขึ้น อันจะสBงผลตBอการพัฒนาองค\\กร ตBอไปในอนาคต อยBางไรก็ตามทั้ง Coaching และ Mentoring ตBางก็เปKนเทคนิคในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย\\ ที่จะทำให3ทั้งผู3บังคับบัญชา ผู3ใต3บังคับบัญชาทำงานได3อยBางเตม็ ศักยภาพ และองค\\กรมีความพร3อมใน การรับการเปลี่ยนแปลง มีผลการปฏิบัติงานเปKนไปตามเปbาหมายที่วางไว3อยBางมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน Mentor(พี่เลี้ยง) คือผู3ที่มีประสบการณ\\สูงและเชี่ยวชาญเฉพาะทางปฏิบัติงานรBวมกับผู3มีประสบการณ\\น3อย กวBาสัมพันธภาพของพี่เลี้ยงและผู3รBวมงานจะเปKนสัมพันธภาพเชิงบวก มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การ ปฏิบัติตนเปKนต3นแบบและเคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน นอกจากเปKนแมBแบบแล3วผู3ที่เปKน Mentor ยัง ต3องมีบทบาทของการเปKนผู3สอนงานหรือผู3ชี้แนะ (Coach) ด3วย ทั้งนี้การเปKนพี่เลี้ยงและการเปKนผู3ฝ”กสอนมุBง เปาb หมายท่กี ารเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผู3รBวมงานให3มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล 5. การนเิ ทศแบบสอนและสะทอ& นคิด (Reflective Coaching Supervision) การนิเทศแบบสะท3อนคิด (Reflective Coaching Supervision) เปKนการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching Supervision) รูปแบบหนึ่งที่มุBงให3ความสำคัญกับการสะท3อนกลับผลการสังเกตการณ\\ ปฏิบัติงานของผู3รับการนิเทศและให3ความสำคัญในเรื่องความรBวมมือในการทำงานระหวBางผู3นิเทศและผู3รับ การนเิ ทศในฐานะทเี่ ปนK partner ในการทำงานรBวมกัน หลกั การสำคัญ 1. ผูน3 เิ ทศตอ3 งมบี ทบาทเปนK ผส3ู นับสนนุ ไมBใชBผูป3 ระเมนิ 2. เปKนการนิเทศที่ชBวยผู3รับการนิเทศจัดการปgญหาในการทำงานโดยมุBงความสนใจไปท่ี นกั เรียนใหม3 ีสวB นรBวมในกิจกรรมทค่ี าดหวงั และอธบิ ายในเชงิ พฤตกิ รรมของผเู3 รียน 3. การสะท3อนกลับจะทำให3ผรู3 ับการนเิ ทศได3คน3 พบศกั ยภาพที่ดใี นการทำงาน

ห น# า | 25 กิจกรรมในหอ3 งเรยี น (Lesson day) กำหนดประเดน็ ที่ตอ3 งสังเกตและวธิ กี ารบนั ทกึ ขอ3 มูล การสะทอ3 นคิด (Reflective) จดบันทกึ ยBอประเด็นที่สังเกตเลอื กประเดน็ เปาb หมายทีจ่ ะรวB มหารือ การอภิปรายรวB มกัน (Debriefing) ทั้งสองฝา¦ ยเขยี นบรรยายประเด็นที่สังเกตอยBางละเอียดมานำเสนอ รวB มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ภาพที่ 3 กระบวนการ Reflective Coaching 6. การนเิ ทศรูปแบบประชุม อบรม สมั มนา การประชุม อบรม สัมมนา เปKนรูปแบบการนิเทศที่มีศึกษานิเทศก\\พบปะครูหรือผู3รับการ นิเทศ ซึ่งอาจจะจัดเปKนกลุBมใหญB ๆ หรือกลุBมยBอย ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยูBกับเนื้อหาหรือสื่อที่จะใช3ในการนิเทศ การ ประชุม อบรม สัมมนานั้น มีจุดประสงค\\สBวนใหญBเพื่อให3ผู3รับการนิเทศได3พัฒนาความรู3 แตBประสบการณ\\ที่ เกิดขึ้นจะอยูBในระดับกลาง (สงัด อุทรานันท\\. 2530 : 107) การประชุม อบรม สัมมนามีลักษณะเปKนที่นBา สังเกต ดงั นี้ 1. การประชุมชี้แจง เปKนการนิเทศที่ผู3นิเทศใช3กับผู3รับการนิเทศที่มีจำนวนมากเพื่อนำเสนอ ข3อมูลแจ3งแนวปฏิบัติ ชี้แจงการปฏิบัติงาน เปKนต3น สามารถดำเนินการเปKนกลุBมใหญBหรือกลุBมเล็กก็ได3 ผู3รับ การนิเทศจะได3รับความรู3หรือรับรู3เพื่อนำไปปฏิบัติ ผู3นิเทศเปKนผู3ดำเนินการอาจมีการอภิปรายซักถาม ระหวาB งผนู3 ิเทศกับผ3รู บั การนิเทศ 2. การประชุม อบรม สัมมนา เปKนการนิเทศที่ผู3นิเทศใช3กับผู3รับการนิเทศที่มีจำนวนมาก เพื่อให3ความรู3 สามารถดำเนินการเปKนกลุBมใหญBหรือกลุBมเล็กก็ได3 ผู3นิเทศเปKนผู3ให3ความรู3 สBวนผู3รับการนิเทศ จะไดร3 ับความรูไ3 ด3วฒุ ิมากขน้ึ 3. การประชุมปฏิบัติการ (Work Shop) เปKนการนิเทศที่ผู3นิเทศใช3กับผู3รับการนิเทศที่มี จำนวนมาก เพื่อให3ผู3รับการนิเทศได3รับความรู3และลงมือฝ”กปฏิบัติจริงหรือปฏิบัติงานแก3ปgญหาด3วยกันเปKน กลุBมสามารถดำเนินการเปKนกลุBมใหญBหรือกลุBมเล็กก็ได3 ผู3รับการนิเทศจะได3รับความรู3และทักษะไปพร3อม ๆ

ห น# า | 26 กัน ผู3นิเทศเปKนผู3ดำเนินการ อาจมีการอภิปรายซักถามระหวBางผู3นิเทศกับผู3รับการนิเทศ การประชุม ปฏบิ ัติการนีผ้ น3ู ิเทศจะมีปฏสิ ัมพนั ธก\\ ับผร3ู บั การนิเทศมาก จากการศึกษา สรุปได3วBา รูปแบบการนิเทศแบบการประชุม อบรม สัมมนานี้ เปKนรูปแบบที่ผู3รับ การนิเทศได3รับประสบการณ\\ตรงและหลากหลายการเรียนรู3 ทำให3ได3รับความรู3ความสามารถนำไปพัฒนา งานโดยเฉพาะการจัดการเรยี นรไู3 ดเ3 ปKนอยาB งดยี งิ่ 7. การนเิ ทศทางไกล การนิเทศทางไกล หมายถึง การถBายโยงองค\\ความรู3โดยใช3สื่อ สิ่งพิมพ\\ที่ผู3นิเทศการศึกษาใช3 ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนงานอื่น ๆ ที่มีตBอการเรียนการสอนเพื่อให3เกิดประโยชน\\ สูงสุดแกBผู3เรียนและสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหBงชาติ (2534 : 4) ให3ความหมายการนิเทศ ทางไกล หมายถึง การนิเทศการศึกษาที่ผู3นิเทศและผู3รับการนิเทศไมBมีปฏิสัมพันธ\\กันโดยตรงต3องอาศัยสื่อ ตาB ง ๆ ถาB ยทอดสาระในการนเิ ทศ 1. เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบายการศึกษาของหนBวยงานระดับสูงเน3นนโยบายรัฐบาลสมัยปgจจุบัน นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อดำเนินการด3านการ จดั การศึกษาใหส3 อดคล3องกบั นโยบายดังกลาB ว 2. เนื้อหาที่เกี่ยวข3องกับนวัตกรรมทางการศึกษา ได3แกB วิธีการ สื่อ อุปกรณ\\เทคโนโลยีใหมB ๆ ทีม่ ีประโยชนต\\ Bอการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 3. เนื้อหาเกี่ยวกับโครงการกิจกรรมตBาง ๆ ของโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เชBน ผู3บริหารโรงเรียนดีเดBน ครูดีเดBน กิจกรรมสหกรณ\\ดีเดBน กิจกรรมประชาธปิ ไตยดเี ดBน เปนK ต3น 4. ผลการศึกษาค3นคว3า ทดลอง วิเคราะห\\ วิจัย ที่เปKนประโยชน\\ตBอการเรียนการสอน เชBน การทดลองโดยใช3สื่อประเภทตBาง ๆ ได3แกB เกม เพลง นิทาน บทบาทสมมุติ ชุดการสอน รูปภาพ สไลด\\ ฯลฯ การบริหาร เชBน การสำรวจ ปgญหาการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา ขวัญกำลังใจ การปฏิบัติงานของ ผ3ูบรหิ าร เปKนตน3 5. การนิเทศการศึกษา เชBน การประยุกต\\ใช3วิธีการนิเทศแบบคลินิกในโรงเรียนประถมศึกษา สภาพการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา เปKนต3น เพื่อนำมาเปKนข3อมูลในการปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพการศึกษาสำหรับการนิเทศทางไกลในยุคการศึกษาในศตวรรษที่ 21 นี้ มีสื่อเทคโนโลยีที่นำมาใช3 เปKนเครื่องมือในการสื่อสารการนิเทศมากมาย เชBน การนิเทศผBานกลุBมไลน\\ เฟสบุ-ค เว็บไซต\\ โทรศัพท\\หลักใน การนิเทศทางไกล 5.1 การนิเทศทางไกลเปนK การนเิ ทศโดยผาB นสอ่ื 5.2 การนิเทศทางไกลเปKนการสื่อสารทางเดียว ผู3นิเทศจะไมBได3รับข3อมูลย3อนกลับ ทนั ที 5.3 การนเิ ทศทางไกลต3องดำเนนิ การอยาB งตBอเน่อื งและสมำ่ เสมอ

ห น# า | 27 5.4 สื่อที่ใช3ในการนิเทศทางไกลต3องสBงถึงบุคคลกลุBมเปbาหมายอยBางครบถ3วนเพื่อ ปรบั ปรุง และเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการปฏิบัติงาน 5.5 สื่อที่ใช3ในการนิเทศ เน3นความถูกต3อง ชัดเจน เบ็ดเสร็จในตัวเอง เหมาะสมกับ สภาพปญg หาความตอ3 งการและสอดคล3องกบั ทอ3 งถ่ิน 8. การนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร กรอบความคิดพื้นฐานของกัลยาณมิตรนิเทศ คือ หลักธรรมความเปKนกัลยาณมิตร ของ พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทย ได3แกB ความมีน้ำใจ การรBวมทุกข\\รBวมสุข การชBวยเหลือเกื้อกูลและ แนวทางที่ถูกต3องด3วยการยอมรับนับถือและให3เกียรติซึ่งกันและกัน เปKนการนิเทศที่มุBงพัฒนาคนมากกวBา การพฒั นาเอกสารและผลงาน โดยกัลยาณมติ ร 7 ประการ ไดแ3 กB 1. ปโ6 ย หมายถึง นBารัก สบายใจ สนทิ สนม ชวนใหอ3 ยากปรกึ ษา 2. ครุ หมายถงึ นBาเคารพ ประพฤตสิ มควรแกBฐานะ รส3ู ึกอบอBนุ เปนK ทพี่ ึง่ ไดแ3 ละปลอดภยั 3. ภาวนีโย หมายถึง นBาเจริญใจหรือนBายกยBอง ทรงคุณความรู3 และภูมิปgญญาแท3จริง ท้ัง เปนK ผฝ3ู ”กอบรมและปรับปรุงตนอยูเB สมอ ควรเอาอยาB ง ทำให3ระลกึ และเอยB อ3างดว3 ยความซาบซึ้งภมู ใิ จ 4. อตฺตา จ หมายถึง รู3จักพูดให3ได3ผล รู3จักชี้แจงให3เข3าใจ รู3วBาเมื่อไรควรพูดอะไรอยBางไร คอยให3คำแนะนำ วBากลาB วตักเตือน เปKนทีป่ รึกษาทดี่ ี 5. วจนกฺขโมหมายถึง อดทนตBอถ3อยคำ พร3อมที่จะรับฟgงคำปรึกษา ซักถาม คำเสนอแนะ วพิ ากษว\\ ิจารณ\\ อดทนฟgงได3ไมBเบื่อไมBฉุนเฉียว 6. คมฺภีร¯ฺจ กถํ กตฺตา หมายถึง แถลงเรื่องล้ำลึกได3 สามารถอธิบายเรื่องยุBงยากซับซ3อน ให3 เขา3 ใจและใหเ3 รยี นรเ3ู ร่อื งราวทล่ี ึกซึ้งยงิ่ ขน้ึ ไปได3 7. โน จฎฐาเน นิโยชเน หมายถึง ไมBแนะนำในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย (พจนานกุ รมพุทธศาสตร:\\ 2528) จะเห็นได3วBา กัลยาณมิตรธรรม 7 นี้ มุBงเน3น ความปลอดโปรBงใจ ไมBบีบคั้น เน3นความมีน้ำใจ ชวB ยเหลอื เก้ือกลู สรา3 งความเข3าใจ กระจาB งแจ3ง แนะแนวทางท่ถี ูกตอ3 งด3วยการยอมรบั นับถือซึง่ กนั และกนั สรุปได3วBา กระบวนการกัลยาณมิตร คือ กระบวนการประสานสัมพันธ\\ระหวBางบุคคล เพื่อ จุดหมาย 2 ประการ คือ 1) ชี้ทางบรรเทาทุกข\\ 2) ชี้สุขเกษมศานต\\ โดยทุกคนตBางมีเมตตาธรรม พร3อมจะชี้แนะ และชBวยเหลือซึ่งกันและกัน กระบวนการกัลยาณมิตร ชBวยให3บุคคลสามารถแก3ปgญหาได3โดยการจัดขั้นตอน ตามหลักอรยิ สจั 4 ดงั น้ี

ห น# า | 28 8.การปฏบิ ตั เิ พ่ือแกป3 ญg หาตามแนวทางที่ มรรค ถูกต3อง 7. การจดั ลำดบั จดุ หมายของภาวะพ3นปgญหา 6. การรBวมกนั คิดวเิ คราะหค\\ วามเปนK ไปไดข3 องการ แกป3 ญg หา 5. การกำหนดจุดหมายหรอื สภาวะพ3นปญg หา นิโรธ 4. การจัดลำดับความเขม3 ระดับของปญg หา 3. การรวB มกนั คดิ วเิ คราะหเ\\ หตผุ ลของปญg หา สมุทยั 2. การกำหนดและจัดประเด็นปญg หา ทุกข\\ 1. การสร3างความไวว3างใจ ตามหลกั กลั ยาณมติ รธรรม 7 ภาพท่ี 4 ข้ันตอนการสอนตามกระบวนการกัลยาณมิตร หากพิจารณาแผนภมู ขิ า3 งต3น กระบวนการนิเทศโดยชีท้ างบรรเทาทกุ ข\\ มีขั้นตอนคือ 1) การสร3างความไว3วางใจ 2) การกำหนดปgญหาและแนวทางแก3ปgญหา 3) การศกึ ษา ค3นคว3า คิดวิเคราะหร\\ วB มกันถึงเหตปุ จg จยั แหBงปญg หา 4) การจัดลำดบั ความเขม3 หรือระดบั ความซบั ซอ3 นของปgญหา 5) การกำหนดจดุ หมายของการแกป3 ญg หา หรอื วตั ถปุ ระสงค\\ของภารกิจ 6) การวเิ คราะห\\ความเปKนไปได3หรอื ทางเลอื ก 7) การจดั ลำดบั วตั ถปุ ระสงค\\และวธิ ีการ 8) การกำหนดวิธีการที่ถูกต3องเหมาะสมหลาย ๆ วิธี แผนภูมิขั้นตอนชี้ทางบรรเทาทุกข\\ และ ชี้สุขเกษมศานต\\นี้ นักการศึกษาสBวนใหญBมุBงนำไปใช3ในกิจกรรมการแนะแนวและการให3คำปรึกษา (Guidance and Counseling) แกBนักเรียนและนิสิต นักศึกษา อยBางไรก็ตามหากจะนำขั้นตอนดังกลBาวมา

ห น# า | 29 ใช3ในการแก3ปgญหาทางการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและการพัฒนาครูก็ยBอมจะ ประยุกต\\ใช3ได3 ปจg จยั ท่ีเก้อื หนนุ กระบวนการกัลยาณมติ ร การนำกระบวนการกัลยาณมิตรมาใช3ในการพัฒนาครูและการปฏิรูปการศึกษามีปgจจัยหลัก 4 ประการที่เกื้อหนุนให3ทุกขั้นตอนดำเนินไปด3วยดี ได3แกB 1) องค\\ความรู3 2) แรงหนุนจากต3นสังกัด 3) ผู3บริหาร ทกุ ระดับ 4) บคุ ลากรทัง้ โรงเรยี น 1. องค\\ความรู3การชี้แนะและชBวยเหลือกันในกลุBมหรือหมูBคณะ ยBอมต3องอาศัยอุดมการณ\\ เปbาหมายรBวมกัน และมีหลักการความรู3ที่ได3พิสูจน\\เห็นจริงแล3วเปKนพื้นฐาน ตัวอยBาง เชBนการปฏิรูป กระบวนการเรียนรูข3 องสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหBงชาติ (2540) ผ3ูเช่ียวชาญถงึ 5 คณะ ไดพ3 ัฒนา หลักการและความรู3เกี่ยวกับการสอนที่นักเรียนมีความสุข การเรียนรู3แบบมีสBวนรBวม การสอนและการฝ”ก กระบวนการคิด การพัฒนาสุขภาวะ สุนทรียภาพทางศิลปะ ดนตรี กีฬา และหลักการฝ”กหัดอบรมกาย วาจา ใจ คณะผู3เชี่ยวชาญได3นำเสนอหลักทฤษฎีและวิธีการ เพื่อเปKนพื้นฐานความรู3สำหรับผู3บริหารและครูที่ ต3องการพัฒนาการสอน ซึ่งเน3นผู3เรียนเปKนสำคัญการจัดการความรู3ให3เปKนฐานสูBการปฏิบัติ จึงเปKนปgจจัยที่ จำเปKนและกBอให3เกิดการเรียนรู3รBวมกันในการปฏิบัติ (interactive learning through action, ประเวศ วะ สี. 2545 : 57) ทั้งนี้เพราะผู3นิเทศและบุคลากรในโรงเรียนจะพัฒนาตนได3ก็ตBอเมื่อ มีหลักการความรู3เปKน พื้นฐาน และสร3างแนวทางสูBจุดหมายรBวมกันเกิดวัฒนธรรมความรู3ขั้นอีกระดับหนึ่ง นอกเหนือจากการใช3 สามัญสำนึกและประสบการณ\\เดิมกระบวนการกัลยาณมิตรที่มีฐานความรู3จะเกิดการวิจัย การพัฒนาและ วิจัยตBอเนื่องกันไป สร3างวัฒนธรรมความรู3ให3เกิดขึ้นในโรงเรียน ดังที่ศาสตราจารย\\นายแพทย\\ประเวศ วะสีได3 อธบิ ายไวใ3 นหนังสือ “เครือขาB ยแหงB ปgญญา” วาB วัฒนธรรมความร3ูมอี งคป\\ ระกอบ 5 ประการ คือ 1. การมีฉนั ทะในความรู3 2. มีความสามารถในการสร3างความรู3 3. ใช3ความร3ใู นการดำรงชวี ิตและการทำงาน 4. ได3ประโยชนจ\\ ากการใช3ความร3ู 5. มคี วามสุขจากกระบวนการความร3ูทงั้ หมด ภาพท่ี 5 วัฒนธรรมความรู3 (ประเวศ วะสี : 2545)

ห น# า | 30 การนิเทศและพัฒนาครูจึงต3องเริ่มที่การสร3างความรู3 ความเข3าใจที่ตรงกันในประเด็นหลักทฤษฎี เชBน การยึดผู3เรียนเปKนศูนย\\กลาง หรือผู3เรียนสำคัญที่สุด ที่หลักการอยBางไร ทฤษฎี สร3างสรรค\\ความรู3 หลัก บูรณาการ การพัฒนาพหุปgญญา กิจกรรมพัฒนานักเรียน หลักสูตรสถานศึกษาการประเมินผลตามการ ปฏิบัติจริง คืออะไร ถ3าตBางฝ¦ายไมBมีหลักความรู3 ก็ยBอมตีความกันไปคนละทางเกิดการโต3แย3งโดยไมBจำเปKน ดังนั้นจงึ ต3องมเี อกภาพในหลักการ และมคี วามหลากหลายในวธิ ีการ 2. แรงหนุนจากต3นสังกัด ปgจจุบันนี้มีการตื่นตัวอยBางมากในทุกองค\\กรที่มุBงพัฒนาบุคลากรให3มี คุณภาพ ทั้งนี้เพราะในสังคมไทยมีการประเมิน การตรวจสอบ และการประกันคุณภาพของสถานศึกษา การ ดำเนินงานของโครงการหลายโครงการที่ประสบความสำเร็จเปKนเพราะหนBวยงานต3นสังกัดได3ให3ความรBวมมือ และมีสBวนรBวมในการวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน ตลอดจนการประเมนิ ผล 3. ผู3บริหารทุกระดับ รายงานผลการดำเนินงานปฏิรูปกระบวนการเรียนรู3หลายโครงการได3แสดง ให3เห็นวBาความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขึ้นอยูBกับความรู3ความสามารถและเจตคติของ ผู3บริหารนับตั้งแตBระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติในสถานศึกษาการพัฒนาบุคลากรทั้งโรงเรียนอยBางมี ประสิทธิภาพนั้น ผู3บริหารมีความสำคัญมากดังที่สำนักนโยบายและแผนการศึกษาได3ให3ความหมายของ ผู3บริหารสถานศึกษาต3นแบบวBา “...หมายถึง ผู3บริหารสถานศึกษาที่มีผลการปฏิบัติงานดีเดBนด3านการบริหาร ที่สBงเสริมการปฏิรูปการเรียนรู3 ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหBงชาติ พ.ศ. 2542 แก3ไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545 เปKนผู3นำทางวิชาการ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู3 ความสามารถ เปKนที่ยอมรับของ คณะครูนกั เรียน ผูบ3 ังคบั บัญชา กรรมการสถานศกึ ษา พBอแมB ผ3ูปกครอง ชมุ ชนและสงั คม...” 4. บุคลากรทั้งโรงเรียน โครงการสนับสนุนการฝ”กอบรมครู โดยใช3โรงเรียนเปKนฐานที่สำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา (2546) ได3ดำเนินการตBอจากโครงการนำรBองระยะที่ 1 (พ.ศ.2545) นั้น เกิดขึ้น จากความเชื่อที่วBาการพัฒนาครูที่โรงเรียนทั้งโรงเรียน โดยโรงเรียนรBวมมือจากหนBวยงานภายนอก ชBวยให3มี การปฏิบัติจริง พัฒนาการสอนในสถานการณ\\จริงที่โรงเรียน เกิดการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลภายใน โรงเรียนอยBางตBอเนื่อง ประหยัดคBาใช3จBาย และเวลาและสBงผลตBอการพัฒนาคุณภาพของผู3เรียน ดังที่มีคำ กลBาวหยอกเย3าวBา School-Based Training นBาจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกวBา Hotel-Based Training จุดแข็งของการจัดกิจกรรมปฏิรูปทั้งโรงเรียนที่ค3นพบคือ ครูเกBงต3องลดดีกรีความเกBงลงมาเทียบเคียง แล3วเดินไปพร3อม ๆ กัน คนใดยังทำไมBได3 ครูเกBงต3องเข3าไปชBวยเหลือให3เขาทำตามแบบกBอน แล3วถึงปลBอยให3 ทำตามแบบของตนเอง การนิเทศแบบกัลยาณมิตรนี้ มูลนิธิยุวสถิรคุณ ได3ใช3เปKนหลักในการนิเทศอาสาของศูนย\\โรงเรียน คุณธรรม ซึ่งการนิเทศแบบกัลยาณมิตรจะชBวยให3กระบวนการนิเทศประสบความสำเร็จ ผู3นิเทศที่มีความ เปKนกัลยาณมิตร คือ มีความเปKนมิตร ชวนให3เข3าไปหารือไตBถาม ขอคำปรึกษานBาเคารพทำให3ผู3รับการนิเทศ เกิดความรู3สึกอบอุBน เปKนที่พึ่งได3 นBายกยBองในฐานะเปKนผู3ทรงคุณวุฒิที่มีความรู3และภูมิปgญญาแท3จริง รู3จัก พูดให3ได3ผล รู3จักชี้แจงให3เข3าใจงBาย อดทนตBอถ3อยคำ พร3อมที่จะรับฟgงคำปรึกษา คำแนะนำและคำ วิพากษ\\วิจารณ\\ สามารถอธิบายเรื่องที่ยุBงยากและซับซ3อนให3เข3าใจได3 และให3เรียนรู3เร่ืองราวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นไป

ห น# า | 31 ได3 จึงเปKนการชี้แนะและให3ความชBวยเหลือที่ดีและมีประสิทธิภาพ (ศูนย\\โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. 2560 : 15) 9. การนเิ ทศการศึกษาเชิงระบบ การนิเทศการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ ควรมีกระบวนการที่ตBอเนื่อง มีการเคลื่อนไหวที่ เปKนพลวัตร (Dynamic) นัน่ ก็คอื การนำวงจรคณุ ภาพ (Quality Loop) หรอื วิธรี ะบบ (System Approach) มาใชใ3 นการดำเนนิ งาน 1. การวเิ คราะห\\ ขน้ั การวิเคราะห\\ เปนK ขน้ั ตอนการทำงานข้นั แรกที่ผ3ูนเิ ทศควรใหค3 วามสำคญั เพราะการนเิ ทศจะประสบความสำเร็จ มปี ระสิทธภิ าพสงู ควรต3องมีผลการวิเคราะห\\ในหัวข3อที่สำคญั ๆ ดงั น้ี 1.1 การวิเคราะห\\ความต3องการ ความจำเปKนการวิเคราะห\\ความต3องการ ความจำเปKน ควรใช3เทคนิคและวิธีการหลายอยBางเพื่อให3ได3ข3อมูลที่ครอบคลุม เชBน การนิเทศและตรวจเยี่ยม การ สัมภาษณ\\ผู3บริหารและครูผู3สอน การสBงแบบสำรวจความต3องการ แล3วนำข3อมูลเหลBานั้นมาวิเคราะห\\ผล จะ ทำให3ได3รับข3อมูลเกี่ยวกับความต3องการจำเปKนในการพัฒนาการเรียนการสอนที่หลากหลายและครอบคลุม เปKนประโยชนต\\ Bอการออกแบบ กิจกรรมการนเิ ทศทต่ี รงกับความตอ3 งการของโรงเรียนกลBมุ เปาb หมาย 1.2 การวิเคราะห\\เนื้อหาและภารกิจเมื่อได3ข3อมูลเกี่ยวกับความต3องการ ความจำเปKนแล3ว ผู3นิเทศจะดำเนินการกำหนดหลักสูตร กิจกรรม ตามลำดับความต3องการ แล3วกำหนดเนื้อหาในการนิเทศ การศึกษา การจัดโครงสร3างและลำดับการนำเสนอ ให3งBายตBอการสร3างความรู3ความเข3าใจ ผู3รับการนิเทศ ได3รับความสะดวก มีความรู3ความเข3าใจ และทักษะในการปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจในการนิเทศ สามารถ ชักจงู ใหเ3 กิดการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมไปในทางที่ดีข้นึ ได3 1.3 การวิเคราะห\\ผู3รับการนิเทศ ผู3นิเทศควรทำความรู3จักกับผู3รับการนิเทศในทุกมิติ เชBน เพศ วัย วุฒิการศึกษา ประวัติการรับราชการ นิสยั ใจคอ ความสนใจ ความถนัด เปKนต3น ทั้งนี้เพื่อให3สามารถ วางแผนการนิเทศ การเลือกวิธีการ สื่อ รวมทั้ง เทคนิคการนิเทศที่เหมาะสมได3 ซึ่งก็คือ หลักการนิเทศ ที่ยึด ผรู3 ับการนิเทศเปนK ศนู ย\\กลางในการนิเทศ น่นั เอง 1.4 การวิเคราะห\\สภาพการณ\\และนโยบาย การนิเทศการศึกษา ไมBเพียงสนองความ ต3องการจำเปKนของโรงเรียน ผู3บริหาร และครู เทBานั้น แตBในบางกรณี ก็เปKนการนิเทศตามนโยบาย เชBน การ เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับหลักสูตรวิธีการจัดการเรียนรู3 การบริหารจัดการที่สนองกลยุทธ\\ของฝ¦ายนโยบาย เปKน ตน3 ดงั นั้นการวเิ คราะห\\สภาพการณ\\และนโยบาย จงึ เปนK ภาระงานทจี่ ำเปนK ไมยB ่งิ หยอB นไปกวาB กนั 2. การออกแบบและพัฒนา เมื่อมีการวิเคราะห\\ความต3องการ ความจำเปKน วิเคราะห\\ผู3รับ การนิเทศ เนื้อหา ภารกิจ และสภาพการณ\\ตBาง ๆ อยBางครอบคลุมแล3ว จะเปKนข3อมูลพื้นฐานที่สำคัญในการ ออกแบบและพัฒนาในหวั ขอ3 ตBาง ๆ ดงั น้ี 2.1 การออกแบบวัตถุประสงค\\ของการนิเทศ การกำหนดวัตถุประสงค\\ เปKนเสมือนเข็มทิศ ในการนเิ ทศการศึกษา ผน3ู เิ ทศควรให3ความสำคญั อยูBเสมอ โดยกำหนดจุดวตั ถุประสงค\\ ทงั้ ในลักษณะกวา3 งๆ

ห น# า | 32 (Goals) และวัตถุประสงค\\ ที่มีลักษณะเฉพาะ หรือเชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) มีความ ครอบคลมุ ทงั้ ดา3 นพุทธิพสิ ัย จติ พิสัยและทกั ษะพิสัย ทำให3การนเิ ทศการศกึ ษามคี วามชดั เจนและครอบคลมุ 2.2 การออกแบบวิธีการและกิจกรรมการนิเทศเมื่อผู3นิเทศ ได3มีการวิเคราะห\\ความ ต3องการ ความจำเปKน และประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข3องดังที่ได3กลBาวมาแล3วก็จะเปKนขั้นตอนของการดำเนินการ กำหนดวิธีการนิเทศ ได3สอดคล3องกับผลการวิเคราะห\\ ในเบื้องต3น เชBน การนิเทศทางไกลผBานเว็บไซต\\ โดย การใช3ชBองทางกระดานถาม-ตอบ (Web การนิเทศและให3คำแนะนำปรึกษา ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส\\ การนิเทศทางไกลด3วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส\\ (E-mail) การนิเทศทางไกลด3วยเทคโนโลยีเว็บบล็อก (Web Blog) การจดั สงB แผนB ซีดรี อมหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส\\ (E-Book) 3. ขัน้ การนิเทศ 3.1 การเตรียมการและประสานงานการนิเทศเมื่อผู3นิเทศได3มีการวิเคราะห\\ความต3องการ ความจำเปKน วิเคราะห\\ผู3รับการนิเทศเนื้อหา ภารกิจ สภาพการณ\\ตBาง ๆ มีการสร3างและพัฒนาสื่อและ กิจกรรมการนิเทศแลว3 ควรมกี ารเตรียมการประสานงานและนเิ ทศการศึกษา ดังนี้ 3.1.1 การจดั ทำตารางและกำหนดการนเิ ทศ ที่สอดคล3องกบั วตั ถุประสงค\\ 3.1.2 ประสานงานกับคณะนิเทศ เพื่อให3มีการบูรณาการการนิเทศ ให3ครอบคลุม ภารกิจ และกลยุทธ\\ตBาง ๆ รวมท้งั การบูรณาการการนเิ ทศ ตามความจำเปนK 3.1.3 ประสานงานไปยงั โรงเรยี นกลมBุ เปาb หมาย เพอื่ นัดหมายเก่ยี วกับวัน เวลาตาราง การนเิ ทศ รวมทง้ั การเตรยี มข3อมูลเบ้ืองตน3 ในด3านตBาง ๆ 3.2 การปฏิบัติการนิเทศ เปKนขั้นตอนที่ผู3นิเทศ ลงมือดำเนินการนิเทศ ซึ่งควรใช3หลักการ นิเทศที่สำคัญๆ เชBน การมีมนุษย\\สัมพันธ\\อันดีตBอกัน การทำงานเปKนทีม มีการรBวมคิด รBวมทำ รBวมผลสำเร็จ ภายใต3ความเชื่อที่วBา ผู3รับการนิเทศทุกคน สามารถพัฒนาให3บรรลุผลตามศักยภาพได3 ให3ความสำคัญในการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน ตามแนวทางการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู3ที่เน3นประโยชน\\สูงสุดแกBผู3เรียนฝ”ก ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญปgญหาและการประยุกต\\ใช3ความรู3และทักษะ ในการปbองกันและ การแก3ไข ปgญหาให3ผู3เรียน เน3นให3ผู3เรียนได3เรียนรู3จากประสบการณ\\จริง ฝ”กให3คิดเปKน ทำเปKน รักการแสวงหา ความรู3 ด3วยตนเอง เกิดการใฝ¦รู3ใฝ¦เรียนอยBางตBอเนื่อง ผสมผสานสาระความรู3ด3านตBาง ๆ อยBางสมดุล ผู3สอน สามารถจัดบรรยากาศ สภาพ แวดล3อม สื่อการเรียนการสอน การอำนวยความสะดวกให3ผู3เรียน มีการใช3 กระบวนการวิจยั เปKนสวB นหนึง่ ของกระบวนการเรยี นรู3 4. ขั้นการประเมินผลและรายงานการดำเนินกิจกรรมการนิเทศตBาง ๆ ควรได3มีการประเมินท่ี สอดคล3องกับวัตถุประสงค\\ของกิจกรรม ทั้งกBอนการดำเนินกิจกรรม ระหวBางดำเนินกิจกรรม และหลังการดำเนิน กิจกรรม ทั้งนี้เพื่อให3ได3ข3อมูล ที่เปKนประโยชน\\หลายประการ กลBาวคือ การประเมินกBอนการดำเนินกิจกรรม จะ ทำให3ได3ข3อมูลเกี่ยวกับผู3รับการนิเทศ เกี่ยวกับความสนใจ ความรู3พื้นฐานการประเมินระหวBางดำเนินกิจกรรมจะ ทำให3ทราบข3อมูล เกี่ยวกบั พัฒนาการของผู3รับการนิเทศ สBวนการประเมินหลังการดำเนินกิจกรรม จะทำให3ทราบ ถึงผลสัมฤทธิ์ ของการดำเนินงาน มีการเลือกใช3วิธีการและเครื่องมือในการประเมินผล ที่ครอบคลุมวัตถุประสงค\\

ห น# า | 33 เมื่อการประเมินผลสิ้นสุดลง ควรได3มีการสรุปและรายงานผลให3ผู3เกี่ยวข3องได3ทราบ โดยอาจจัดทำเปKนรายงาน อยาB งงาB ย แลว3 รวบรวมไวใ3 นเอกสารการนเิ ทศท่ี....เพื่อใหเ3 หน็ เส3นพฒั นาของการดำเนินงานไดอ3 ยBางเปนK รปู ธรรม 5. ขั้นปรับปรุงและพัฒนา เปKนขั้นตอนสำคัญที่ผู3นิเทศควรดำเนินการอยูBเสมอในทุกขั้นตอนการ นิเทศ เพราะในปรับปรุงและพัฒนา การปฏิบัติงานน้ัน ต3องมีการปรับปรุง แก3ไข และพัฒนาอยูBตลอดเวลา เมื่อมี การประเมินผลการดำเนินการทุกครั้ง จะได3ข3อมูลสำคัญที่ผู3รับการนิเทศ ผู3นิเทศ บุคลากร หนBวยงานองค\\กร ผู3รับผิดชอบ จะนำไปประกอบการปรับปรุง แก3ไขหรือพัฒนาให3การทำงานเปKนไปอยBางสอดคล3อง เหมาะสมตาม บทบาทหน3าท่ี และมีการผลดำเนินงานที่เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด การปรับปรุงและพัฒนาได3ดำเนินการในทุก ขั้นตอนของการนิเทศ เชBน การปรับปรุงวิธีการและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข3อมูล เพื่อให3ได3ผลที่แมBนยำ มปี ระโยชนใ\\ นการดำเนินการนิเทศการศกึ ษาอยBางสูงสดุ การปรบั ปรงุ ในขั้นตอนการออกแบบและพฒั นา เพอ่ื ให3 วัตถุประสงค\\ของการนิเทศมีความครอบคลุม สอดคล3องกับสภาพปgญหา และความต3องการของครูและโรงเรียน รวมทั้งการปรับปรุงพัฒนาชุดฝ”กอบรม ให3ได3ประสิทธิภาพตามเกณฑ\\ที่กำหนดไว3 เลือกวิธีการนิเทศที่เหมาะสม กับกลุBมผู3รับการนิเทศ บริบท เนื้อหาสาระ งบประมาณ รวมทั้งการปรับปรุงแผนการนิเทศให3มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการปรับปรุงพัฒนาวิธีการประเมิน ผลการนิเทศ ให3ได3เครื่องมือที่มีคุณภาพตามหลักวิชาการซึ่งจะ สBงผลถงึ ขอ3 มลู ทไ่ี ดจ3 ากการประเมนิ มีความถูกตอ3 งตามความเปKนจรงิ 10. การนิเทศแบบ “PIDER” การนิเทศของสงัด อุทรานันท\\ (2530) ซึ่งเปKนกระบวนการนิเทศที่สอดคล3องกับสภาพ สังคมไทย 5 ขัน้ ตอน เรียกวBา “PIDER” ดังน้ี 1. การวางแผน (P-Planning) เปKนขั้นตอนที่ผู3บริหาร ผู3นิเทศและผู3รับการนิเทศจะทำการ ประชุม ปรึกษาหารือ เพื่อให3ได3มาซึ่งปgญหาและความต3องการจำเปKนที่ต3องมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึง ขน้ั ตอนการปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับการนิเทศทจ่ี ดั ขึ้น 2. ให3ความรู3กBอนดำเนินการนิเทศ (I-Informing) เปKนขั้นตอนของการให3ความรู3 ความเข3าใจ ถึงสิ่งที่จะดำเนินการวBาต3องอาศัยความรู3 ความสามารถอยBางไรบ3าง จะมีขั้นตอนในการดำเนินการอยBางไร และจะดำเนินการอยBางไรให3ผลงานออกมาอยBางมีคุณภาพ ขั้นตอนนี้จำเปKนทุกครั้งสำหรับเริ่มการนิเทศที่จัด ขึ้นใหมB ไมBวBาจะเปKนเรื่องใดก็ตาม และเมื่อมีความจำเปKนสำหรับงานนิเทศที่ยังเปKนไปไมBได3ผล หรือได3ผลไมB ถึงขัน้ ทีพ่ อใจ ซึง่ จำเปนK ทจ่ี ะต3องทบทวนให3ความรใู3 นการปฏิบัติงานทถ่ี ูกตอ3 งอกี คร้งั หนง่ึ 3. การดำเนินการนิเทศ (D-Doing) ปะกอบด3วยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือ การ ปฏิบตั งิ านของผูร3 บั การนิเทศ (ครู) การปฏบิ ัตงิ านของผ3ใู ห3การนิเทศ (ผ3ูนเิ ทศ) การปฏิบัติงานของผสู3 นบั สนนุ การนเิ ทศ (ผ3บู รหิ าร) 4. การสร3างเสริมขวัญกำลังใจแกBผู3ปฏิบัติงานนิเทศ (R-Reinforcing) เปKนขั้นตอนของการ เสริมแรงของผู3บริหาร ซ่งึ ใหผ3 3ูรบั การนิเทศมีความมนั่ ใจและบังเกดิ ความพึงพอใจในการปฏบิ ัติงานขน้ั น้อี าจ ดำเนนิ ไปพรอ3 ม ๆ กบั ผ3ูรบั การนเิ ทศที่กำลงั ปฏบิ ัติงานหรือการปฏบิ ัติงานไดเ3 สร็จสิน้ แล3วก็ได3

ห น# า | 34 5. การประเมินผลการนิเทศ (E-Evaluating) เปKนขั้นตอนที่ผู3นิเทศนำการประเมินผลการ ดำเนินงานที่ผBานไปแล3ววBาเปKนอยBางไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบวBามีปgญหาหรือมีอุปสรรค อยBางใดอยBางหนึ่ง ที่ทำให3การดำเนินงานไมBได3ผล สมควรที่จะต3องปรับปรุง แก3ไข ซึ่งการปรับปรุงแก3ไขอาจ ทำได3โดยการให3ความรู3เพิ่มเติมในเรื่องที่ปฏิบัติใหมBอีกครั้ง ในกรณีที่ผลงานยังไมBถึงขั้นนBาพอใจ หรือได3 ดำเนินการปรับปรุงการดำเนินงานทั้งหมดไปแล3ว ยังไมBถึงเกณฑ\\ที่ต3องการ สมควรที่จะต3องวางแผนรBวมกัน วิเคราะหห\\ าจดุ ท่คี วรพัฒนา หลงั ใชน3 วตั กรรมด3านการเรยี นร3ูเขา3 มานเิ ทศ ใหการนเิ ทศและ ควบคมุ คณุ ภาพงาน ขน้ั ที่ 1 ขนั้ ท่ี 2 ขั้นที่ 3 ข้ันที่ 4 ข้ันท่ี 5 การให3 ปฏิบตั งิ าน การสร3าง ประเมนิ วงแผน (P) ความร(ู3 I) (D) ขวญั กำลงั ใจ (E) (R) บรกิ าร สนบั สนุน ในกรณีคณุ ภาพไมถ ึงข้นั ในกรณีทีท่ ำยงั ไมไ ดผ ล ปรับปรงุ แกไ ข ภาพท่ี 6 กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE รูปแบบการนเิ ทศของกล2มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา รูปแบบการนิเทศ SMART TEAM โดยกลุBมนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 S Scheme การวางแผน M Management บริหารจดั การสคBู วามสำเร็จ A Action การปฏบิ ตั ิ R Reinforcement สนับสนนุ เสริมแรง รายงาน สะท3อนผล T Technology เทคโนโลยี T Team – Training – Technology ทำงานเปKนทีม พัฒนาความร3ู ใชเ3 ทคโนโลยี E Encourage ให3กำลงั ใจ สงB เสริม

ห น# า | 35 A Assistance ประสานงานและชBวยเหลอื M Mind & Smile ทำงานดว3 ยความย้มิ แย3มแจมB ใส การวางแผน (S – Scheme) เปKนขั้นตอนที่คณะทำงานทุกคน ทำการประชุม ปรึกษาหารือ เพื่อให3 ได3มาซึ่งประเด็นและความต3องการจำเปKนที่ต3องมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึงขั้นตอนการปฏิบัติ เก่ียวกบั การนเิ ทศท่ีจดั ขึ้น บริหารจัดการสูBความสำเร็จ (M – Management) เปKนขั้นตอนท่ีคณะทำงานทุกคนรBวมกำหนด แนวทางและรปู แบบทน่ี ำไปสูคB วามสำเร็จ การดำเนินการนิเทศ (A – Action) เปKนขั้นตอนการดำเนินการนิเทศ คือ การปฏิบัติงานของ ผรู3 ับการนเิ ทศ ผู3ให3การนเิ ทศ และผสู3 นบั สนุนการนิเทศ สนับสนุน เสริมแรง รายงาน สะท3อนผล (R – Reinforcement) เปKนขั้นตอนการสนับสนุน เสริมแรงสร3างเสริมขวัญกำลังใจแกBผู3ปฏิบัติงานนิเทศเพื่อให3ผู3รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความ พึงพอใจในการปฏิบัติงาน พร3อมทั้งให3ข3อแนะนำและเสนอแนะโดยวาจา หลังจากนั้นผ3ูนิเทศประเมินผล การดำเนินงานการนิเทศ วิเคราะห\\จุดเดBน จุดด3อย และจุดที่ควรพัฒนา เพื่อใช3เปKนข3อมูลในการนิเทศในครั้ง ตBอไป เทคโนโลยี (T – Technology) เปนK ขนั้ ตอนท่ีผ3ูรบั ผิดชอบดำเนินการรวบรวมขอ3 มลู ทีไ่ ด3ท้งั หมด เปนK ขอ3 มลู สารสนเทสทีพ่ ร3อมใช3งานในโดยใชเ3 ทคโนโลยเี ขา3 มาขบั เคลื่อน TEAM T Team – Training – Technology การทำงานเปนK ทมี ใชก3 ระบวนการขบั เคล่ือนโดยเนน3 การใชเ3 ทคโนโลยี E Encourage ใหก3 ำลงั ใจ สงB เสรมิ เน3นการทำงานรBวมกนั โดยการให3 A Assistance กำลงั ใจซึง่ กันและกนั ประสานงานและชวB ยเหลือ ทำงานดว3 ยระบบเครือขBาย ความรBวมมอื ชวB ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั เพอ่ื ให3งาน ประสบความสำเร็จบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท\\ ว่ี างไว3 M Mind & Smile ทำงานด3วยความยิ้มแยม3 แจมB ใสเปKนมติ รตBอกัน สรุปวBา รูปแบบการนิเทศการศึกษาหรือกระบวนการนิเทศมีหลายรูปแบบ แตBมีวัตถุประสงคเ\\ พื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษาซึ่งกระบวนการนิเทศที่มีระบบขั้นตอน จะต3องอยูBบนปgญหาและความต3องการ มี การวิเคราะห\\ปgญหาและสำรวจความต3องการอยBางถูกต3อง มีการปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ การใช3กระบวนการนิเทศในลักษณะที่มีกระบวนการที่ถูกต3องจะเปKนประโยชน\\ตBอโรงเรียน อยาB งแท3จริง

บทท่ี 3 การดำเนนิ งาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ได3การนิเทศ ติดตามการการ เตรยี มความพร3อมกอB นเปด6 เรยี นภาคเรยี นท่ี 2 ป;การศกึ ษา 2565 ของโรงเรยี นในสังกัด ดงั น้ี วตั ถุประสงคA เพื่อรายงานผลการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 ของของโรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 กลSมุ เปTาหมาย 1. ผู3นเิ ทศ ได3แกB ศกึ ษานิเทศก\\ผรู3 บั ผดิ ชอบเครือขาB ยสถานศึกษา ที่ 3 2. ผ3รู บั การนิเทศ ไดแ3 กB ผ3บู ริหารสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ขอบเขตการนเิ ทศ เปาT หมาย เชิงปริมาณ สถานศึกษาในเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรงเรียน ได3รับการนิเทศติดตามการเตรียม ความพรอ3 มการเปด6 ภาคเรยี น ท่ี 2 ป;การศกึ ษา 2565 เปนK ไปในทิศทางเดียวกนั เชิงคุณภาพ สถานศึกษาในสังกัดมีความพร3อมในการเป6ดภาคเรียน สามารถวางแผนและดำเนินการ จัดการเรยี นการสอนพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี นได3อยBางมีประสทิ ธิภาพ ระยะเวลาในการดำเนินการ ระหวาB งวนั ท่ี 7-11 พฤศจิกายน 2565 ประเดน็ การนิเทศ ตอนท่ี 1 ข3อมลู ท่ัวไป ตอนที่ 2 รายการนเิ ทศ ดา3 นบรหิ ารสถานศึกษา ด3านอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอ3 ม ด3านการจดั การเรียนการสอน ดา3 นอปุ กรณ\\การเรยี น ดา3 นอาหารกลางวัน ดา3 นความปลอดภยั

ห น# า | 37 วิธีดำเนนิ การ 1. ขน้ั เตรยี ม (Preparation) - ผู3นิเทศวางแผนและเตรยี มการนเิ ทศ - จดั ประชุมชแ้ี จงการนเิ ทศรวB มกับผู3ทเ่ี กย่ี วข3องในการออกนิเทศ - จัดเตรยี มส่ือ/เคร่อื งมือ 2. ขั้นนิเทศ (Supervision) ตอนท่ี 1 ข3อมูลท่ัวไป ตอนท่ี 2 รายการนิเทศ ด3านบรหิ ารสถานศกึ ษา ด3านอาคารสถานท่ีและสง่ิ แวดลอ3 ม ด3านการจดั การเรยี นการสอน ด3านอปุ กรณก\\ ารเรยี น ด3านอาหารกลางวนั ดา3 นความปลอดภยั 3. ขนั้ สรปุ (Conclusion) - ให3คำแนะนำ เสนอแนะแนวทางแกไ3 ข - ผ3ูนเิ ทศรวบรวมและวิเคราะห\\ผลจากการนเิ ทศ เพ่ือสรปุ ผลการนิเทศ - รายงานผลการนิเทศ เคร่อื งมอื ที่ใชใ& นการนิเทศ ตดิ ตามและรายงานผลการเตรยี มความพรอ& ม 1. แบบนิเทศติดตามการเตรียมความพร3อมการเป6ดภาคเรยี น ท่ี 2 ปก; ารศึกษา 2565 2. รายงานผลการนเิ ทศติดตามการเตรียมความพร3อมการเป6ดภาคเรียน ท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 สถิติท่ีใช&ในการวิเคราะหG คBารอ3 ยละ (%)

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหขC อ: มลู การนิเทศกำกับ ติดตามการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค\\เพื่อรายงานผลการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ของโรงเรียน ในเครอื ขBายท่ี 2 ได3วิเคราะหข\\ 3อมูล ดงั น้ี ผลการวิเคราะหAขอC มูล ผลการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 โรงเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ดังน้ี ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนขอ มูลทวั่ ไปโรงเรยี นได&รับนิเทศการเตรียมความพร&อมการเปด€ เรยี น ภาคเรยี นที่ 2 ปก[ ารศึกษา 2565 โรงเรยี น ผู&บรหิ าร จำนวนบคุ ลากร จำนวนนกั เรยี น ครผู สู อน บุคลากร ปฐมวยั ประถม มัธยม รวม อืน่ ศึกษา ศกึ ษา 46 วัดสวนพล นายเพชรพนั ธ\\ ขันเพช็ ร\\ 3 2 7 39 0 163 123 วัดชนั นายภักดี จิตรัว 11 1 44 119 0 20 70 วัดทา งาม นางมาลีพนั ธ\\ุ ภูมา 8 3 29 94 0 1503 159 บา นยา นซ่ือ นางสาวสวุ รรณี ชาB งสลกั 4 1 3 17 0 77 41 วัดหวั อฐิ นายทวี นพคณุ ขจร 7 2 8 62 0 44 บา นทวดทอง นายโชติ คำนวณ 66 16 140 1363 0 184 101 วัดโพธเ์ิ สด็จ นายประพันธ\\ ไชยณรงค\\ 14 5 16 98 45 55 460 วดั หญา นางสาวพชิ ติ า มณีพงศ\\ 4 3 0 77 0 วดั วนาราม นางสภุ าณี ชูสุวรรณ\\ 5 2 8 33 0 วดั เทพธิดาราม, นางฉัตรลลิตา วุฒมิ งคล 6 2 7 37 0 วัดโพธิท์ อง นางมลธิชา ลิม่ ตระกลู วดั มหาชัยวนาราม นายสมพงษ\\ เกษร 14 3 43 91 50 วัดดอนยาง นายอำนาจ บูลภบิ าล 7 4 21 80 0 บา นทวดเหนอื นางภสั รา ชูเสน 4 2 21 34 0 บานคลองดิน นางสาวรตั นาภรณ\\ นะขาว 19 7 124 336 0

ห น# า | 39 โรงเรยี น ผ&ูบรหิ าร จำนวนบุคลากร จำนวนนักเรียน ครผู ูสอน บุคลากร ปฐมวยั ประถม มธั ยม รวม อนื่ ศกึ ษา ศกึ ษา 456 บา นนาเคยี น นางพรทิพย\\ เปย¶; มอภยั ทอง 21 6 112 248 98 42 93 วดั พระมงกุฎ นางสาวจุไรพร สงวนอาสน\\ 4 2 8 34 0 วัดบานตาล นางสาวสุพรรณี สวุ รรณเจรญิ 5 2 15 76 0 จากตารางที่ 1 พบวBาขอมูลท่วั ไปของโรงเรียนในเครอื ขBายท่ี 2 ทไี่ ด3รบั นิเทศการเตรียมความ พร3อมการเปด6 เรียนภาคเรยี นท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 จำนวน 18 โรง มีผู3บริหาร จำนวน 12 คน และ รักษาการผ3อู ำนวยการ จำนวน 6 คน ได3แกB โรงเรยี นบานยานซ่อื วดั หวั อิฐ วดั หญา วัดวนาราม วดั โพธ์ิ ทอง และโรงเรยี นวัดพระมงกุฎ ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนโรงเรยี นไดร& ับนิเทศการเตรียมความพร&อมการเป€ดเรยี นภาคเรียนที่ 2 ป[การศกึ ษา 2565 จำนวนโรงเรียนในเครอื ขSาย 2 รบั การนิเทศ รอ& ยละ 18 18 100 จากตารางที่ 1 พบวBา โรงเรียนในเครือขBายที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 ได3รับการนิเทศการเตรยี มความพรอ3 มการเปด6 เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปก; ารศึกษา 2565 จำนวน 18 โรงเรยี น คดิ เปKนร3อยละ 100 ตารางท่ี 3 แสดงผลการนิเทศการเตรยี มความพรอ& มการเป€ดเรยี นภาคเรียนที่ 2 ปก[ ารศกึ ษา 2565 ดา นการบริหารสถานศึกษา ข3อท่ี รายการเตรยี มความพร3อม ปฏบิ ตั ิ ไมBปฏิบัติ จำนวน รอ3 ยละ จำนวน รอ3 ยละ 1 มกี ารจดั ประชุมครู /บคุ ลากร /ผ3ูปกครอง และนกั เรยี นกอB น 18 เปด6 ภาคเรยี น 2 มคี ำสง่ั การจดั ชน้ั เรยี น และมอบหมายงานใหค3 รูรบั ผดิ ชอบท่ี 18 ชดั เจน 3 มีการวางแผน/โครงการ/มอบหมายงานใหบ3 คุ ลากรได3รบั รู3 18 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ประจำป; 2565

ห น# า | 40 ข3อท่ี รายการเตรยี มความพรอ3 ม ปฏิบตั ิ ไมBปฏบิ ัติ จำนวน ร3อยละ จำนวน ร3อยละ 4 มีการดำเนนิ งานธรุ การและสารสนเทศของโรงเรียนเปKน 18 ปgจจุบัน 5 หอ3 งเรียน/หอ3 งปฏิบัตกิ ารทกุ หอ3 งมีความเรียบรอ3 ย สะอาด 18 ปลอดภยั และเอ้ือตอB การจัดการเรียนการสอน 6 มกี ารมอบหมายงานการจัดการเรยี นการสอน ให3กับครู 18 บุคลากรทางการศกึ ษาไวอ3 ยBางชดั เจน 7 มีการขบั เคลอื่ นตามนโยบายของ สพฐ.และตามนโยบายของ 18 สพป.นครศรีธรรมราช เขต ๑ เฉล่ยี 100 0 จากตารางที่ 3 พบวBา การเตรียมความพร3อมดานการบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง เรียน โดยดำเนนิ การแลว3 มคี าB เฉลี่ย คิดเปKนร3อยละ 100 ตารางที่ 4 แสดงผลการนิเทศการเตรียมความพรอ& มการเป€ดเรยี นภาคเรียนที่ 2 ป[การศกึ ษา 2565 ดานอาคารสถานที่และสภาพแวดลอม ขอ3 ท่ี รายการเตรยี มความพร3อม ปฏิบตั ิ ไมBปฏิบตั ิ จำนวน รอ3 ยละ จำนวน ร3อยละ 1 มีการจัดบริเวณ/บริบทโรงเรยี น/อาคารเรยี นทปี่ ลอดภัย 18 2 มีการดแู ลรกั ษา/ตรวจสภาพระบบไฟฟาb ท่ีปลอดภยั 18 3 มีการจัดหอ3 งเรยี น หอ3 งคอมพิวเตอร\\ ห3องสมุด 18 หอ3 งปฏบิ ัติการตาB งๆ พรอ3 มใช3งาน 4 มกี ารดูแลรักษาความสะอาดหอ3 งนำ้ ห3องส3วม/ระบบ 18 นำ้ ประปาทีเ่ หมาะสม 5 มีอปุ กรณก\\ ารจดั การเรยี นการสอนใช3งาน ได3ทุกห3องเรยี น 18 เฉลี่ย 100 0 จากตารางที่ 4 พบวBา การเตรียมความพร3อมด3านอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอมของโรงเรียน เครือขBายท่ี 2 จำนวน 18 โรงเรยี น โดยดำเนนิ การแลว3 มคี าB เฉลี่ย คิดเปนK รอ3 ยละ 100

ห น# า | 41 ตารางที่ 5 แสดงผลการนเิ ทศการเตรยี มความพรอ& มการเปด€ เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปก[ ารศกึ ษา 2 5 6 5 ดานการจัดการเรียนการสอน ขอ3 ท่ี รายการเตรยี มความพรอ3 ม ปฏิบตั ิ ไมปB ฏิบัติ จำนวน รอ3 ยละ จำนวน รอ3 ยละ 1 มกี ารจดั ทำและพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา 18 2 มีการวางแผนและจดั ระบบการวัดและ ประเมินผล 18 การศึกษา 3 มกี ารจัดทำแผนการสอน 18 4 มกี ารจัดทำแผนงาน/โครงการแผนปฏิบตั ริ าชการประจำป; 18 5 มกี ารวิเคราะห\\การวดั และประเมนิ ผล 18 เฉลี่ย 100 จากตารางที่ 5 พบวBา การเตรียมความพร3อมดานการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเครือขBาย ที่ 2 จำนวน 18 โรงเรียน โดยดำเนนิ การแล3ว มคี Bาเฉล่ยี คิดเปKนรอ3 ยละ 100 ตารางที่ 6 แสดงผลการนเิ ทศการเตรยี มความพรอ& มการเป€ดเรียนภาคเรยี นท่ี 2 ปก[ ารศึกษา 2565 ดานอุปกรณการเรียน ข3อที่ รายการเตรยี มความพรอ3 ม ปฏบิ ตั ิ ไมBปฏิบัติ จำนวน รอ3 ยละ จำนวน ร3อยละ 1 มีการจดั ซ้ือ จดั จาง ในการจัดซอื้ หนงั สือเรยี น 18 2 มีอปุ กรณเครื่องเขยี น แบบเรียน หนงั สือเรยี นครบ 18 3 ผเู รยี นมเี ครอ่ื งแบบนักเรยี น ,ถุงเทา ,รองเทาท่ีเหมาะสม 18 เฉลี่ย 100 จากตารางที่ 6 พบวBา การเตรียมความพร3อมดานอุปกรณการเรียนของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรงเรยี น โดยดำเนนิ การแล3ว มคี าB เฉลี่ย คิดเปนK รอ3 ยละ 100

ห น# า | 42 ตารางที่ 7 แสดงผลการนิเทศการเตรยี มความพรอ& มการเปด€ เรยี นภาคเรียนที่ 2 ปก[ ารศกึ ษา 2565 ดา นอาหารกลางวัน ข3อที่ รายการเตรยี มความพรอ3 ม ปฏบิ ตั ิ ไมปB ฏิบัติ จำนวน ร3อยละ จำนวน ร3อยละ 1 มกี ารจดั อาหารกลางวนั ให3กบั นกั เรียนครบทุกคน 18 2 มีการจดั อาหารกลางวนั ตามเมนูอาหารกลางวัน 18 3 มกี ารจัดสถานท่รี ับประทานอาหาร เหมาะสมถกู หลัก 18 สุขาภิบาลอาหารและตามมาตรการความปลอดภัยใน สถานการณแ\\ พรBระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนาB 2019 4 มีการจดั สถานทปี่ ระกอบอาหาร เหมาะสมถกู หลัก 18 สขุ าภิบาลอาหาร 5 มีการจดั ซอื้ /จดั หาวัสดุอุปกรณ\\สำหรบั การประกอบอาหาร 18 ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร เฉลีย่ 100 0 จากตารางที่ 7 พบวBา การเตรียมความพร3อมดานอาหารกลางวันของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรงเรียน โดยดำเนินการแล3ว มคี าB เฉลย่ี คดิ เปKนร3อยละ 100 ตารางที่ 8 แสดงผลการนเิ ทศการเตรียมความพร&อมการเปด€ เรยี นภาคเรยี นท่ี 2 ปก[ ารศึกษา 2565 ดานความปลอดภยั ข3อที่ รายการเตรียมความพร3อม ปฏบิ ัติ ไมBปฏิบัติ จำนวน รอ3 ยละ จำนวน รอ3 ยละ 1 มมี าตรการปอb งกันการแพรรB ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส 18 โคโรนBา 2019 2 มีมาตรการคัดกรองวัดไข3 ให3กบั นกั เรยี น ครู และผู3เข3ามา 18 ติดตBอทกุ คนกอB นเข3าสถานศึกษา มีจดุ ล3างมอื ด3วยสบBู จดั วางเจลแอลกอฮอลส\\ ำหรบั ใชท3 ำ 18 3 ความ สะอาดมือ บริเวณทางเขา3 อาคารเรยี นหน3าประตู ห3องเรียน ทางเข3าโรงอาหาร อยาB งเพียงพอ 4 มมี าตรการรักษาความปลอดภยั ดแู ลชวB ยเหลือและ 18 ค3มุ ครองนกั เรียนในสถานศึกษา เฉล่ีย 100 0

ห น# า | 43 จากตารางที่ 8 พบวBา การเตรียมความพร3อมดานความปลอดภัยของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรงเรียน โดยดำเนนิ การแลว3 มคี าB เฉลี่ย คิดเปKนรอ3 ยละ 100 ตารางที่ 9 แสดงผลการนเิ ทศการเตรียมความพร&อมการเป€ดเรียนภาคเรยี นที่ 2 ป[การศึกษา 2 5 6 5 ขอ3 ที่ รายการเตรยี มความพร3อม ปฏิบตั ิ ไมปB ฏบิ ตั ิ จำนวน รอ3 ยละ จำนวน รอ3 ยละ 1 ดา นการบริหารสถานศึกษา 18 2 ดา3 นอาคารสถานที่และสภาพแวดลอม 18 3 ดา นการจัดการเรยี นการสอน 18 4 ดา นอปุ กรณก ารเรียน 18 5 ดา นอาหารกลางวัน 18 6 ดา นความปลอดภยั 18 เฉลีย่ 100 0 จากตารางที่ 8 พบวBา การเตรียมความพร3อมการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปก; ารศึกษา 2565 ของโรงเรยี นเครอื ขBายท่ี 2 จำนวน 18 โรงเรียน ไดด3 ำเนนิ การแล3ว มี คBาเฉลย่ี คิดเปนK รอ3 ยละ 100

บทที่ 5 สรุปผลและและข:อเสนอแนะ การนิเทศกำกับ ติดตาม ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค\\เพื่อรายงานผลการนิเทศการเตรียมความ พร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 ของของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ของโรงเรียนในเครือขBายที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 ซึ่งผศ3ู กึ ษาได3สรุปผลและข3อเสนอแนะ ดังนี้ วัตถปุ ระสงคA เพื่อรายงานผลการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 ของ ของโรงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 กลุ2มเปDาหมาย 1. ผน3ู ิเทศ ได3แกB ศกึ ษานิเทศก\\ผ3ูรบั ผิดชอบเครอื ขาB ยสถานศกึ ษา ท่ี 2 2. ผ3ูรบั การนิเทศ ได3แกB ผู3บรหิ ารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ขอบเขตการนเิ ทศ เปTาหมาย เชิงปรมิ าณ สถานศึกษาในเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรงเรียน ได3รับการนิเทศติดตามการเตรียม ความพร3อมการเป6ดภาคเรยี น ท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 เปKนไปในทิศทางเดยี วกัน เชงิ คุณภาพ สถานศึกษาในสังกัดมีความพร3อมในการเป6ดภาคเรียน สามารถวางแผนและดำเนินการ จัดการเรียนการสอนพัฒนาคุณภาพนกั เรียนไดอ3 ยBางมีประสทิ ธิภาพ ระยะเวลาในการดำเนินการ ระหวาB งวนั ท่ี 7-11 พฤศจกิ ายน 2565 ประเด็นการนเิ ทศ ตอนท่ี 1 ขอ3 มูลทวั่ ไป ตอนที่ 2 รายการนิเทศ ดา3 นบรหิ ารสถานศกึ ษา ดา3 นอาคารสถานทแี่ ละสงิ่ แวดล3อม ดา3 นการจดั การเรียนการสอน ดา3 นอปุ กรณก\\ ารเรยี น

ห น# า | 44 ดา3 นอาหารกลางวนั ดา3 นความปลอดภยั สรปุ ผล ผลการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2565 ของโรงเรียน ในสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 พบวBา 1. ขอมลู ทว่ั ไปของโรงเรยี นในเครอื ขBายที่ 2 ท่ไี ด3รบั นเิ ทศการเตรยี มความพรอ3 มการเปด6 เรยี น ภาคเรยี นที่ 2 ป;การศึกษา 2565 จำนวน 18 โรง มผี 3บู ริหาร จำนวน 12 คน และรักษาการผู3อำนวยการ จำนวน 6 คน ไดแ3 กB โรงเรยี นบานยา นซือ่ วดั หัวอฐิ วดั หญา วดั วนาราม วัดโพธทิ์ อง และโรงเรยี นวัด พระมงกุฎ 2. โรงเรียนในเครือขBายที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ได3รับการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 จำนวน 18 โรงเรียน คิดเปนK ร3อยละ 100 3. การเตรียมความพร3อมดานการบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง เรียน โดยดำเนนิ การแลว3 มีคBาเฉลี่ย คิดเปนK ร3อยละ 100 4. การเตรียมความพร3อมด3านอาคารสถานที่และสภาพแวดลอมของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง เรยี น โดยดำเนินการแลว3 มีคBาเฉล่ยี คดิ เปนK รอ3 ยละ 100 5. การเตรียมความพร3อมดานการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรงเรียน โดยดำเนินการแล3ว มคี Bาเฉลี่ย คิดเปKนรอ3 ยละ 100 6. การเตรียมความพร3อมดานอุปกรณการเรียนของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง เรียน โดยดำเนินการแล3ว มีคาB เฉลย่ี คิดเปKนรอ3 ยละ 100 7. การเตรียมความพร3อมดานอาหารกลางวันของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง เรียน โดยดำเนนิ การแลว3 มีคาB เฉล่ีย คิดเปนK ร3อยละ 100 8. การเตรียมความพร3อมดานความปลอดภัยของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง เรียน โดยดำเนินการแล3ว มีคาB เฉลย่ี คดิ เปKนร3อยละ 100 9. การเตรียมความพร3อมการนิเทศการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ป; การศึกษา 2565 ของโรงเรียนเครือขBายที่ 2 จำนวน 18 โรง เรียน ได3ดำเนินการแล3ว มีคBาเฉลี่ย คิดเปKนร3อย ละ 100 ป‚ญหา/อุปสรรค จากการนิเทศติดตามการเตรียมความพร3อมการเป6ดเรียนภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา 2565 โรงเรยี นในเครือขาB ยท่ี 2 สามารถสรปุ ปญg หา อปุ สรรค ดงั นี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook