Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5.วิชา นักอุตุนิยมวิทยา

5.วิชา นักอุตุนิยมวิทยา

Published by สรวิศ จันพุ่ม, 2021-03-24 04:17:56

Description: 5.วิชา นักอุตุนิยมวิทยา

Keywords: scout

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การสอบวชิ าพเิ ศษ ลกู เสอื เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ วิชา นกั อุตุนิยมวทิ ยา ส�ำนกั การลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนกั เรยี น สำ� นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - คูม่ ือ การสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ วิชา นักอุตนุ ยิ มวทิ ยา สำ� นกั การลกู เสอื ยุวกาชาดและกจิ การนกั เรยี น ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ 2 คู่มอื การสอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่

ค�ำน�ำ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจแนวทาง การดำ� เนนิ งานสอบวชิ าพเิ ศษลกู เสอื โดยเฉพาะลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ ดงั นนั้ ส�ำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน จึงแต่งต้ังคณะกรรมการด�ำเนินงาน การประชุมจัดท�ำคู่มือการสอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ วชิ านักอุตนุ ิยมวิทยา ส�ำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน ขอขอบคุณคณะกรรมการ ด�ำเนินงานการประชุมจัดท�ำคู่มือการสอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ โดยมี นางสุวัฒนา ธรรมประภาส นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ หัวหน้าฝ่าย ส่งเสริมกิจการลูกเสือ เป็นเลขานุการคณะกรรมการ ซ่ึงคณะกรรมการได้จัดท�ำ คู่มือการสอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ คร้ังนี้จนส�ำเร็จลุล่วงด้วย ความเรยี บรอ้ ย โดยมงุ่ หวงั เผยแพรใ่ หผ้ บู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ในสถานศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนต้นสามารถน�ำไปใช้เป็นคู่มือการสอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ วชิ านกั อุตนุ ยิ มวทิ ยา ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั การลกู เสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรียน สำ� นกั การลกู เสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรียน 3ก

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - สารบญั หน้า ก เนอ้ื หา ข ค�ำนำ� 1 สารบัญ 1 การสอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ 2 วัตถปุ ระสงค์ 4 หลักสูตรวิชาพเิ ศษ นกั อตุ ุนยิ มวิทยา 5 เนื้อหาวชิ า 6 - อุตนุ ิยมวทิ ยา 15 - ความหมายของอตุ ุนิยมวทิ ยา 16 - องคป์ ระกอบทางอุตุนยิ มวทิ ยา 18 - การวดั อุณหภมู ิของอากาศ ค - การวัดความชน้ื ในบรรยากาศ 38 - แผนที่อากาศและรหสั ขา่ วอากาศ ง ตัวอยา่ งแบบทดสอบ 40 บรรณานกุ รม จ ภาคผนวก 57 - ขั้นตอนการด�ำเนนิ การสอบวชิ าพิเศษ การขออนุมตั ิ และการประดบั เครือ่ งหมาย ตัวอย่างเอกสาร - คำ� ส่งั สำ� นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี 141/2561 ลงวันที่ 19 มกราคม 2561 ข4 ค่มู ือการสอบวชิ าพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามัญรุน่ ใหญ่

การสอบวิชาพิเศษลูกเสอื เนตรนารี สามญั รุ่นใหญ่ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - 1. ลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ ตอ้ งสอบไดร้ บั เครอื่ งหมายลกู เสอื โลก และ ผ่านพิธีเข้าประจ�ำกองแล้ว จึงประดับเครื่องหมายลูกเสือโลกท่ีก่ึงกลางกระเป๋าเส้ือ ขา้ งซา้ ยได้ 2. ลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ เมื่อสอบได้เครื่องหมายลูกเสือโลกแล้ว จึงมีสิทธิ์เลือกสอบวิชาพิเศษตามท่ีตนมีความถนัดและมีความสนใจ โดยสถานศึกษา เป็นผู้แต่งตั้งกรรมการสอบวิชาพิเศษ และเมื่อด�ำเนินการสอบทั้งภาคปฏิบัติและ ภาคทฤษฎีเรียบร้อยแล้ว ให้สถานศึกษาท�ำเร่ืองขออนุมัติผลการสอบไปยังผู้มีอ�ำนาจ อนมุ ัติต่อไป วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ เปน็ การสง่ เสริมกิจกรรมการสอบวิชาพเิ ศษตามแนวทางการฝึกอบรม ตามหลกั สตู รขอ้ บงั คบั คณะลกู เสอื แหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการปกครองหลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษ ลูกเสอื สามัญรุน่ ใหญ่ 2. เพ่ือเปิดโอกาสให้มีการสอบวิชาพิเศษตามความถนัด ความสนใจและ ความต้องการของลูกเสือเนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่ 3. เพอื่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั และการประกอบ อาชีพในอนาคต สำ� นกั การลูกเสอื ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น 1

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - หลกั สูตรวิชาพเิ ศษ วิชานักอุตุนิยมวทิ ยา หลักสตู ร 1. ท�ำบันทึกประจ�ำวันเก่ียวกับเร่ืองลมฟ้าอากาศ จากการสังเกตด้วยตนเองเป็นเวลา อย่างนอ้ ย 1 เดือน ในบนั ทกึ นัน้ อยา่ งนอ้ ยให้กล่าวถงึ เร่อื งตอ่ ไปน้ี - กำ� ลงั และทิศทางลม - ชนิดและปริมาณของเมฆ - ลมฟ้าอากาศ - อุณหภูมิ - ความกดอากาศ - ปรมิ าณนำ�้ ฝน 2. เข้าใจประโยชน์ และหลักในการท�ำงานของเครื่องมือต่อไปนี้กับให้สร้างเคร่ืองมือ แบบง่าย ๆ ขึ้นอย่างหนึ่งอย่างใด - เทอร์โมมิเตอร์ (thermometer) - บาโรมเิ ตอร์ (barometer) - เครื่องบันทึกแสงแดด (Sunshine Recorder) - แอนิโมมเิ ตอร์ (Anemometer) 2 คู่มือการสอบวิชาพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่

3. เขา้ ใจวธิ ที ำ� และสามารถอ่านแผนที่อากาศ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - 4. เขา้ ใจคำ� ตอ่ ไปน้ี และใหแ้ สดงแผนผังประกอบค�ำอธิบายด้วย - ความชนื้ สัมพัทธ์ (relative humidity) - จดุ นำ้� คา้ ง (dew point) - ไอโซบาร์ (isobar) - มลิ ลบิ าร์ (millibar) - ไอโซเทอม (isotherm) - แนวปะทะของอากาศเย็น (cold front) - แนวปะทะของอากาศอนุ่ (warm front) สำ� นกั การลกู เสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น 3

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - เนือ้ หาวิชา อุตนุ ิยมวิทยา อากาศทห่ี อ่ ห้มุ โลกของเราเปน็ ส่งิ จำ� เป็นอย่างย่ิงสำ� หรับการดำ� รงชวี ิต เพราะ มนุษยจ์ �ำเป็นตอ้ งใชอ้ ากาศสำ� หรบั หายใจจึงจะมชี วี ติ อยไู่ ด้ นอกจากน้ีธุรกจิ ประจำ� วนั เกอื บทกุ อยา่ งของมนษุ ยย์ อ่ มขนึ้ อยกู่ บั สภาวะของอากาศมากบา้ งนอ้ ยบา้ งตามลกั ษณะ ธุรกิจนั้น ๆ บางครั้งอากาศอาจท�ำให้เกิดภัยอันตรายและความเสียหายได้มาก หรือ อาจทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกช่ วี ติ ฉะนน้ั ไมว่ า่ เราจะประกอบอาชพี อะไร อากาศยอ่ มมสี ว่ น เกี่ยวข้องกับอาชีพน้ันเสมอ เช่น ถ้าเราเป็นเกษตรกร เราย่อมทราบว่าดินฟ้าอากาศ บริเวณน้ันเปน็ อย่างไร มีฝนมากน้อยเพียงใด การกระจายของฝนตกเป็นอยา่ งใดและ พืชทเ่ี ราจะทำ� การเพาะปลกู นน้ั เหมาะสมกบั สภาวะอากาศบรเิ วณนั้นหรือไม่ เกษตรกรก�ำลงั ทำ� สวน ถ้าเราท�ำงานเก่ียวกับการบิน เราย่อมต้องทราบสภาวะอากาศในขณะ ท่ีจะท�ำการบินเพราะความปลอดภัยในการเดินทางขึ้นอยู่กับสภาวะของอากาศด้วย บริการอุตุนิยมวิทยาส�ำหรับการบินจึงมีใช้เพื่อเพิ่มความปลอดภัยแก่ผู้โดยสาร และ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบิน ข่าวอุตุนิยมวิทยามีประโยชน์ต่อการบินหลายอย่าง นบั ตงั้ แตก่ ารวางแผนการบนิ สำ� หรบั ระยะทางไกลจนถงึ การใหค้ ำ� แนะนำ� ลกั ษณะอากาศ แกน่ ักบนิ ทุกครัง้ ท่ที ำ� การบนิ เช่น อณุ หภูมิ ทิศ ความเรว็ ลม ทัศนวสิ ยั ความสงู ของ ฐานเมฆ ความปน่ั ปว่ นของอากาศ สง่ิ เหลา่ นม้ี ผี ลกระทบตอ่ ประสทิ ธภิ าพของเครอื่ งบนิ บางครง้ั อาจท�ำใหเ้ กิดอนั ตรายถึงชีวิตหรือท�ำให้ทรัพย์สนิ เสียหายไดอ้ ยา่ งมาก 4 ค่มู ือการสอบวิชาพเิ ศษลูกเสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่

การดำ� เนนิ กจิ การของโครงการอวกาศกเ็ ชน่ กนั ตอ้ งอาศยั การพยากรณอ์ ากาศ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - อย่างแม่นย�ำ เพราะจรวดที่จะส่งขึ้นอวกาศต้องอาศัยลักษณะอากาศที่ดีไม่มีพายุแรง หรือฝน และการท่ีนักบินอวกาศจะลงมายังพ้ืนดินได้ เจ้าหน้าที่ของศูนย์อวกาศ บนพื้นดินต้องเตรียมหาบริเวณพ้ืนดิน ที่มีอากาศดีไม่มีฝน ไม่มีพายุรุนแรง มิฉะน้ัน อาจเกดิ อนั ตรายแก่นกั บินอวกาศได้ ลักษณะอากาศทเ่ี ลวรา้ ยไดน้ ำ� ผลเสียหายมาสู่ประเทศต่างๆ เสมอ เช่น พายุ ใตฝ้ นุ่ เมอ่ื ผา่ นบรเิ วณใดอาจ ทำ� ใหป้ ระชาชนเสยี ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ เสยี หายเปน็ จำ� นวนมาก ดงั นน้ั เราจ�ำเปน็ ตอ้ งศึกษาเร่ืองของอุตุนิยมวทิ ยา การปลอ่ ยยานอวกาศส่ทู ้องฟา้ ความหมายของอตุ นุ ยิ มวทิ ยา (Meteorology) อุตุ = ฤดู นยิ ม = การกำ� หนด วทิ ยา = วชิ าความรู้ อุตนุ ิยมวทิ ยา แปลว่า วิชากำ� หนดส่วนของปหี รือก�ำหนดฤดกู าล อุตุนิยมวิทยา คือ วิทยาศาสตร์ของบรรยากาศและปรากฏการณ์ต่างๆ ของอากาศ เชน่ ฝน พายุ ฟ้ารอ้ ง ฟา้ แลบ เปน็ ต้น อุตนุ ิยมวิทยาเปน็ วชิ าสาขาหนึง่ ของ วิชาภูมศิ าสตร์ฟสิ ิกส์ การศกึ ษาอตุ นุ ิยมวิทยา ตอ้ งอาศัยวชิ าค�ำนวณฟิสกิ สแ์ ละขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการตรวจอากาศตามระดับตา่ ง ๆ บนพนื้ ดินและตามบริเวณต่าง ๆ ของโลก สำ� นกั การลูกเสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรยี น 5

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ประโยชนข์ องอตุ นุ ิยมวทิ ยา ประโยชนข์ องอตุ ุนยิ มวทิ ยาจะมาเก่ยี วขอ้ งกบั กิจการต่างๆ ของคนเรา คอื 1. ด้านการบิน นักบินต้องรู้เร่ืองการบินจากจุดหน่ึงไปอีกจุดหนึ่ง ข่าวทาง อากาศท�ำให้นักบินไม่เดินทางไปลงในขณะที่อากาศไม่ดี การบินโดยที่ไม่รู้ลักษณะ อากาศน้ัน เม่ือเกิดอากาศแปรปรวนก็จะท�ำให้นักบินต้องบินไปลงอีกจุดหน่ึงเป็นการ ทำ� ให้เสียเวลาและค่าโสหุ้ย 2. ดา้ นการเกษตร ตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู ทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา เพอ่ื เพม่ิ ผลผลติ ทางดา้ น การเกษตร เช่น ดูว่าเมอ่ื ไรจะเริ่มมีฝนและมีปรมิ าณพอเพยี งหรือไม่ 3. ดา้ นการประมง การประกาศของกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาเกยี่ วกบั พายเุ ปน็ ประโยชน์ ส�ำหรบั ชาวประมงทีจ่ ะไมน่ ำ� เรือออกจากฝ่ัง 4. การพัฒนาหาแหล่งน�้ำส�ำหรับน้�ำด่ืมน�้ำใช้ เช่น การพิจารณาว่าควรจะ สร้างอ่างเก็บน้�ำท่ีไหน เดือนไหน มีน�้ำมากหรือน้อย ก็อาศัยประโยชน์จากข้อมูลของ กรมอุตนุ ยิ มวิทยา 5. ด้านอุตสาหกรรม เช่น การถ่ายท�ำภาพยนตร์ สถานท่ีจะสร้างโรงงาน ทไ่ี ม่เป็นอุปสรรคจากดินฟ้าอากาศ เป็นตน้ องค์ประกอบทางอตุ ุนิยมวิทยา (Meteorological elements) ตวั แปรคา่ ทมี่ ีคุณสมบัติทางฟสิ กิ สซ์ ึง่ รวมกันเขา้ ทำ� ใหเ้ กิดกาลอากาศน้นั ประกอบดว้ ย 1. อณุ หภูมิของอากาศ (the temperature of the air) 2. ความกดของอากาศ (the pressure) 3. ความชื้น (the humidity) 4. ทศิ ทางและความเรว็ ลม (the direction and speed of the air motion) 5. ชนดิ ของเมฆและจำ� นวนเมฆ (the amount and type of cloudiness) 6. หยาดน้ำ� ฟา้ (the precipitation) หมายถึง ฝน ลกู เหบ็ หมิ ะ ทต่ี กจากฟ้า นอกจากองคป์ ระกอบทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 6 อยา่ งทก่ี ลา่ วแลว้ ยงั มอี งคป์ ระกอบ ท่ีมคี วามสำ� คัญอันดบั รองลงมาอกี หลายอยา่ ง เชน่ ทศั นวิสยั (Visibility) หรือหมอก 6 ค่มู ือการสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามัญรนุ่ ใหญ่

แสงแดด (Sunshine) การระเหย (Evaporation) การแผ่รังสี (Radiation) ซ่ึงองคป์ ระกอบเหล่านี้จะไดก้ ลา่ วในบทตอ่ ไป “ลม” - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ลม คือ การเคลื่อนไหวของอากาศ ถ้าลมแรงก็หมายถึงมวลของอากาศ เคลอ่ื นตัวไปมากและเร็ว ความเรว็ และทศิ ทางของลม เปน็ องคป์ ระกอบทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยาทม่ี คี วามสำ� คญั ยง่ิ เพราะความเรว็ ของลมจะเปน็ เครอื่ งแสดงถงึ ความรนุ แรงของอากาศสวนทศิ ทางของ ลมหมายถึงแหล่งท่ีมาของอากาศ ในการบอกทิศทางของลมน้ีได้มีการตกลงกันว่า ลมเหนือ หมายถึงลมทีพ่ ดั จากทิศเหนอื ไปส่ทู ิศใต้ หรือลมตะวนั ออกเฉยี งใต้ หมายถึง ลมทพ่ี ัดจากทศิ ตะวันออกเฉียงใตไ้ ปสทู่ ิศตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ส่วนทิศอื่นๆ ก็มีวธิ ีเรียก ในทำ� นองเดยี วกนั หนว่ ยวดั ความเรว็ ของลมนน้ั คอื เปน็ กโิ ลเมตรหรอื ไมลต์ อ่ ชวั่ โมง เชน่ ค�ำว่าลมเหนือความเร็ว 10 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง หมายความว่าลมพัดจากทิศเหนือ ด้วยความเรว็ 10 กโิ ลเมตรตอ่ ชวั่ โมง เครอื่ งมอื สำ� หรบั วดั ลมมลี กั ษณะเปน็ ลกู ศรชแ้ี ละถว้ ยหมนุ มหี นา้ ปดั ชคี้ วามเรว็ ของลม คล้ายๆ กบั เข็มชีบ้ อกความเรว็ ของรถยนต์ ถ้าถว้ ยหมุนเร็วเขม็ ท่ชี ี้บนหน้าปดั ก็จะช้ีสูงข้ึน ส่วนลูกศรลมจะช้ีไปตามทิศท่ีลมพัดมาจากทิศน้ันเครื่องวัดความเร็ว ของลมนเี้ ราเรยี กวา่ “อะนีมอมเิ ตอร”์ การจัดแบ่งประเภทของลม 1. ลมท่ีเกิดจากมวลอากาศแห่งแผ่นดินและน้�ำ ลมมรสุม เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างแผ่นดินและน่านน้�ำ ในฤดูหนาวแผ่นดินเย็นกว่าน่านน�้ำ ดังนั้นกระแสลมจึงพัดจากแผ่นดินไปสู่น่านน้�ำ สว่ นฤดรู ้อนแผ่นดินรอ้ นกว่านา่ นน้ำ� กระแสลมจะพัดจากนา่ นนำ�้ เข้าไปในแผน่ ดิน ลมบกลมทะเล ลักษณะการเกิดเหมือนกบั ลมมรสุม แต่เกิดเป็นบริเวณยอ่ ยๆ วันใดท่ีมีอากาศแจ่มใส ตามชายฝั่งทะเลในเวลากลางวันแผ่นดินจะร้อนและเย็นลงใน เวลากลางคืนอุณหภูมิของน่านน้�ำไม่เปล่ียนแปลง (เปลี่ยนแปลงน้อยมาก) ดังน้ัน ในเวลากลางคืนเมือ่ แผน่ ดนิ เย็นกว่านา่ นน�ำ้ กระแสลมจะพัดจากแผน่ ดนิ ไปสนู่ ่านน้ำ� สำ� นักการลกู เสอื ยุวกาชาดและกจิ การนักเรียน 7

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ลมนี้เรียกว่า ลมบก ในเวลากลางวันแผ่นดินร้อนกว่าน่านน้�ำ กระแสลมจึงพัดจาก นา่ นน้ำ� เขา้ ไปในแผ่นดนิ เรียกวา่ ลมทะเล 2. ลมที่เกิดจากภเู ขาและหุบเขา ลมหบุ เขา ในเวลากลางวันอากาศตามภเู ขาและลาดเขารอ้ นและเบา จะไหล ขึ้นเบ้ืองบนท�ำให้อากาศที่อยู่บริเวณใกล้เคียงซ่ึงเย็นกว่าจะเคล่ือนเข้ามาแทนท่ี แล้วไหลไปตามลาดเขาเลยขนึ้ เบ้ืองบน ลมนเ้ี รียกวา่ ลมหุบเขา บางครง้ั มกี �ำลงั แรง ลมภูเขา ในเวลากลางคืนอากาศตามลาดเขาเย็นลงและหนักจึงไหลลง ลมน้ี เรียกวา่ ลมภูเขา ลมเฟนิ เปน็ ลมทเี่ กดิ ขนึ้ เนอื่ งจากความกดอากาศแตกตา่ งกนั เมอื่ อากาศเคลอื่ น จากยอดเขาสูงลงมาตามลาดเขา อุณหภูมิจะสูงข้ึนตามอัตราอะเดียเบติค ในขณะ เดยี วกันความช้ืนสมั พทั ธจ์ ะลดน้อยลง ลมชนิดนี้ อาจทำ� ให้อุณหภูมเิ ปล่ยี นแปลงไปได้ ลมตกเขา เป็นลมทเี่ กิดขึน้ ใกล้ ๆ บริเวณทร่ี าบสูงซึ่งเยน็ จดั อากาศที่หนาวจัด นี้จะพัดลงไปตามลาดเขาด้วยอิทธิพลของความถ่วง ลมนี้เกิดขึ้นในระดับค่อนข้างต่�ำ แตม่ ีความเร็วสงู มาก ลมผวน เป็นลมที่เกิดขึ้นทางด้านปลายของภูเขา เนื่องจากมีกระแสอากาศ ไหลลง ลมชนดิ นี้มีความสำ� คัญมากสำ� หรับเครอื่ งบิน อาจท�ำใหเ้ คร่ืองบนิ ตกได้ ลมเหนือภูเขา เป็นลมที่เกิดขึ้นเมื่ออากาศซึ่งไม่มีความทรงตัวพัดเหนือภูเขา ความเรว็ ของมันจะทวขี น้ึ เป็น 2 เท่าของความเร็วเดิม และพัดสูงถงึ ระดบั 4,000 ฟตุ เหนอื ยอดเขา ลมบา้ หมู ลกั ษณะลมคลา้ ยกบั ควนั ทข่ี นึ้ จากปลอ่ งไฟหมนุ เวยี นขน้ึ ไป เกดิ จาก การพาความรอ้ นเฉพาะแหง่ อยา่ งรนุ แรง ถ้าเกิดบนแผน่ ดนิ มนั จะพาฝ่นุ ขน้ึ ไปเปน็ ล�ำ หากเกดิ บนนา่ นน้�ำจะพาเอานำ้� ขึ้นไปเปน็ ล�ำ ลมผวิ พ้นื ณ ความสูง 10 เมตร เหนอื พน้ื ราบ 1. ลมสงบ (Calm Wind) หมายถึง ลมที่มีความเร็ว 1 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง จะเห็นควันลอยตง้ั ตรง 2. ลมเบา (Light Air) หมายถึง ลมท่ีมีความเร็วตั้งแต่ 1 ถึง 5 กิโลเมตร ตอ่ ช่วั โมง จะเห็นควนั ลอยเอนไปตามลม พอจะนำ� เรือออกชายฝงั่ ได้ 8 คู่มอื การสอบวิชาพเิ ศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่

3. ลมอ่อน (Light Breeze) หมายถึง ลมที่มคี วามเรว็ ตั้งแต่ 6 ถงึ 11 กโิ ลเมตร - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ต่อช่ัวโมง จะรู้สึกลมปะทะหน้า ใบไม้ไหว ศรลมหันไปตามลม เรือประมงจะชักใบ ข้ึนยอดเสาแล่นไปดว้ ยความเรว็ ประมาณ 1 ถงึ 3 กิโลเมตรต่อชวั่ โมง 4. ลมเฉื่อย (Gentle Breeze) หมายถึง ลมท่ีมีความเร็วตั้งแต่ 12 ถึง 19 กิโลเมตรต่อช่วั โมง จะเห็นใบไม้ และกา้ นเล็กๆ ไหวตลอดเวลา ธงจะเคลือ่ นตามลม 5. ลมปานกลาง (Moderate Breeze) หมายถงึ ลมท่ีมีความเร็วตัง้ แต่ 20 ถึง 34 กโิ ลเมตรต่อชั่วโมง จะเหน็ ฝ่นุ ฟุ้งกระดาษปลิวกง่ิ ไม้ขนาดย่อมแกว่ง 6. ลมแรง (Fresh Breeze) หมายถงึ ลมทมี่ คี วามเรว็ ตงั้ แต่ 20 ถงึ 34 กโิ ลเมตร ต่อชว่ั โมง ตน้ ไมเ้ ลก็ ๆ ท่ีมใี บเริ่มโยก น�ำ้ ในแมน่ ้ำ� ลำ� คลองบึงเป็นระลอก 7. ลมจดั (Strong Breeze) หมายถงึ ลมทม่ี คี วามเรว็ ตง้ั แต่ 39 ถงึ 49 กโิ ลเมตร ตอ่ ชัว่ โมง กิง่ ไมใ้ หญจ่ ะโยก เสาโทรเลขดังหวือๆ การใชร้ ่ม ไมส่ ะดวก 8. พายุออ่ น (Near Gale) หมายถงึ ลมทมี่ ีความเร็วตัง้ แต่ 50 ถึง 61 กิโลเมตร ตอ่ ช่วั โมง ต้นไมท้ ้ังตน้ จะโยก เดินทวนลมไม่สะดวก 9. พายุ (Gale) หมายถงึ ลมที่มีความเร็วต้ังแต่ 62 ถึง 74 กโิ ลเมตรตอ่ ช่ัวโมง กง่ิ ไม้จะหัก เคลอ่ื นที่ไปข้างหนา้ ล�ำบากมาก 10. พายจุ ดั (Strong Gale) หมายถงึ ลมทมี่ คี วามเรว็ ตง้ั แต่ 75 ถงึ 88 กโิ ลเมตร ต่อชั่วโมง สิ่งที่ก่อสร้างจะหักพังเสยี หายเลก็ นอ้ ย 11. พายุใหญ่ (Strom) หมายถึง ลมที่มีความเรว็ ต้งั แต่ 89 ถงึ 102 กิโลเมตร ตอ่ ชว่ั โมง ต้นไม้จะถอนราก สงิ่ ก่อสร้างมีการเสียหายมากขน้ึ ไม่ค่อยจะเกิดขึ้นบนบก มที ศั นวสิ ัยเลว 12 พายรุ นุ แรง (Violent Storm) หมายถงึ ลมทม่ี คี วามเรว็ ตง้ั แต่ 103 ถงึ 117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สิ่งก่อสร้างจะหักพังเป็นบริเวณกว้าง ซึ่งเกิดข้ึนน้อยคร้ังมาก มที ศั นวิสยั เลวลง 13. พายุใต้ฝุ่นหรือเฮอริเคน (Typhoon Or Hurricane) หมายถึง ลมที่มี ความเรว็ ตง้ั แต่ 118 ถึง 133 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง สงิ่ กอ่ สรา้ งจะหักพงั ส�ำนักการลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนักเรยี น 9

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - “เมฆ” เมฆ เกิดจากการกลั่นตัวของไอน�้ำในขณะท่ีลอยตัวขึ้นและเย็นลงกลาย เปน็ ละอองน�้ำท่ีรวมตวั กนั เป็นกอ้ น ลักษณะของเมฆแต่ละชนิดจะช่วยให้เราสามารถบอกลักษณะของอากาศ ในขณะน้ันได้ และช่วยให้ทราบถึงแนวโน้มของลักษณะอากาศล่วงหน้าได้ด้วย เช่น ถ้าท้องฟ้ามีเมฆก่อตัวทางแนวต้ังแสดงว่าอากาศก�ำลังลอยตัวขึ้นเป็นเคร่ืองหมาย ก่อนการเกิดพายุ ถ้าเมฆในท้องฟ้าเป็นช้ัน ๆ หรือแผ่แนวนอน แสดงว่าอากาศ มกี ระแสลมทางแนวตงั้ เพยี งเล็กน้อยและอากาศมกั จะสงบ ถ้าเห็นเมฆก่อตัวแนวต้ังสูงใหญ่ควรระวังให้ดี เพราะมีลักษณะของเมฆพายุ ฟา้ คะนอง ฝนจะตกหนักและมีฟ้าแลบฟ้ารอ้ งด้วย ขณะฟา้ แลบฟา้ รอ้ งอาจมฟี า้ ฝา่ เกดิ ขนึ้ อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ ชวี ติ เราไดถ้ า้ กำ� ลงั อาบน้�ำอยู่ในบอ่ คลองหรอื แมน่ ้ำ� ควรรีบขนึ้ เสยี หากอยู่กลางแจ้งอยา่ หลบเข้าใต้ต้นไม้ เป็นอันขาดเพราะตน้ ไม้เป็นสอื่ ล่อฟา้ ฟา้ แลบ ชนดิ ของเมฆแบง่ ออกได้ 3 ประเภท มีดงั นี้ 1. เมฆชน้ั สงู มี 4 ชนดิ คือ เซอรัส เซอโรส เซอโรสเตรตัส เซอโรคิวมลู ัส ระยะ สูงเฉล่ียของฐานเมฆชนิดน้ีอยู่ในราว 20,000 ฟุต เหนือพื้นโลก เน่ืองด้วยอุณหภูมิ ของอากาศชน้ั สูงจะลดลงประมาณ 4 ฟาเรนไฮซ์ ตอ่ 300 ฟุต อุณหภูมิของเมฆจำ� พวก นจี้ ึงต่�ำกว่าจดุ นำ�้ เขง็ และจะประกอบดว้ ยผลึกน�้ำแข็ง 2. เมฆช้ันกลางมี 2 ชนดิ คือ อลั โตสเตรตัส อลั โตควิ มูลัส ฐานของเมฆชนดิ นี้ 10 ค่มู ือการสอบวชิ าพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามญั รุ่นใหญ่

จะอยู่ระหว่าง 6,520 ฟุต ถึง 20,000 ฟุต เหนือพ้ืนโลกค�ำว่า อัลโตแปลว่าสูง - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - แต่มนั จะไม่สงู เทา่ พวกเซอรัส 3. เมฆช้ันต�่ำมี 3 ชนิด คือ สตราโตคิวมูลัส สตราตัส และนิมโบสเตรตัส เมฆประเภทนี้อาจต่�ำลงมาจนเร่ียดินได้ แต่จะสูงแค่ 6,500 ฟุต เมฆท่ีกล่าวมาแล้ว ท้ัง 3 ชนิดนั้นเป็นเมฆท่ีก่อตัวทางนอนของพ้ืนราบ ส�ำหรับเมฆท่ีก่อตัวทางตั้ง มกั มฐี านต�ำ่ เฉพาะฐานอย่างเดียวอาจจะอย่ใู น 3 พวกทกี่ ลา่ วมาแล้วได้ แตเ่ นอ่ื งจาก มนั มียอดพุ่งขน้ึ ไปความสงู ต่างๆ กัน เมฆชนิดนจ้ี งึ แยกไปเปน็ อกี แบบหนงึ่ เมฆชนิดนมี้ ี 2 ชนิด คือ คิวมูลัส และคิวมูโลนิมบัส มีฐานตั้งแต่ 1,600 ฟุต ถึง 6,000 ฟุต เหนือพื้นโลก ยอดอาจสูงถึง 20,000 ฟุต หรือกว่านั้น เมฆ 2 ชนิดน้ีเกิดขึ้นเพราะ บรรยากาศมีอาการแปรปรวนไมท่ รงตัว ลักษณะของเมฆ โดยทวั่ ไปเมฆแบ่งออกได้ 3 รูป คือ รปู ฝอย Cirrus รูปแผ่น Stratus และรูปก้อน Cumulus เมฆเซอรัส (Cirrus) เป็นเมฆชนั้ สูงมลี ักษณะเปน็ ฝอย บางสนี วลขาว ลักษณะคลา้ ยกล่มุ ผม บางคราวเหมือนกล่มุ หางมา้ ดก ๆ เมฆสเตรตัส (Stratus) เป็นแผ่นกว้างหรือเป็นช้ัน ซ่ึงมีลักษณะ เป็นก้อนแบน ๆ บางคราวปกคลุมทั่วท้องฟ้า เมฆ 10 ชนิด เป็นพวกเมฆ Stratus เสีย 4 ชนิด เมฆคิวมูลัส (Cumulus) เป็นเมฆก้อน ลักษณะเป็นกลุ่มแบ่งเป็น Cirro Cumulus เป็นเกล็ดปลาขาวๆ แผ่นเล็กละเอียดคลุมไปท่ัวท้องฟ้า Alto Cumulus อยู่ต่�ำกว่าใหญ่กว่า Cirro Cumulus บางคราวเรียง เป็นแถว เป็นลอนลูกฟูก Cumulus ก้อนใหญ่กว่า Alto Cumulus มียอดพุ่งสูงเมฆ Strato Cumulus เปน็ กงิ่ Stratus Cumulus เป็นพวกเมฆ Cumulus แบน ๆ จัดตวั เรยี งกนั การตรวจเมฆ เมฆในท้องฟ้าเป็นเคร่ืองแสดงที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้เราทราบถึง ลักษณะอากาศปัจจุบันและลักษณะอากาศล่วงหน้า เราอาจดูได้ด้วยตาเปล่าหรือ ดว้ ยเคร่อื งมอื ส่งิ ท่เี ราต้องการทราบกค็ อื จำ� นวนของเมฆในท้องฟ้ามีอยเู่ ปน็ อตั ราสว่ น เท่าใดของทอ้ งฟา้ ท้ังหมดเพ่อื น�ำไปใช้ในการพยากรณ์อากาศตอ่ ไป ส�ำนกั การลูกเสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนกั เรยี น 11

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ภาพแสดงการก่อตัวของพายใุ นมหาสมทุ รแปซิฟกิ “ฝน” ฝน คือ ไอน�้ำในบรรยากาศซึ่งกลั่นตัวเป็นหยดน้�ำตกลงมา สาเหตุท่ีท�ำให้ ฝนตกลงมากเ็ นอ่ื งจากมกี ระแสอากาศไหลขนึ้ เบอื้ งบน อากาศนน้ั จะเยน็ ลงแลว้ กลน่ั ตวั เปน็ เมด็ ละอองนำ้� กระแสอากาศทไ่ี หลขนึ้ จะชว่ ยใหเ้ มด็ นำ�้ รวมเขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งรวดเรว็ และมีขนาดใหญ่ เมื่อเม็ดฝนหลุดจากก้อนเมฆตกลงมาจะปะทะกับกระแสอากาศ ท่ีไหลขึ้น ซ่ึงสวนทางกันเม็ดฝนจะแตกกระจายและระเหยไปในอากาศบ้าง ขนาดจึง เลก็ ลงทุกที ฝนละออง (Drizzle) เปน็ เม็ดฝนขนาดเลก็ มาก มเี ส้นฝนขนาดเล็กมาก มเี ส้น ผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 1/5 นิ้ว หรือ 0.5 มิลลิเมตร เม็ดฝนชนิดน้ีเป็นละอองปลิว อยูใ่ นอากาศโดยทัว่ ไป ฝนละอองเกดิ จากเมฆแผน่ จะไม่เกดิ จากเมฆกอ้ น ฝนธรรมดา (Rain) เปน็ ฝนทม่ี ขี นาดใหญก่ วา่ ฝนละออง ฝนธรรมดาทต่ี กลงมา จะมคี วามเร็วมากกวา่ 10 ฟุต ตอ่ วินาที การกระจายของฝน ฝนเฉพาะแห่ง (Local shower) หมายถึง ฝนตกในบริเวณเล็กๆ และตก ช่วั ขณะปริมาณไมม่ ากนกั ฝนเป็นแห่ง ๆ (Isolated Rain) หมายถงึ ฝนตกเปน็ บรเิ วณเล็กๆ แต่มากกวา่ ในเฉพาะแหง่ มฝี นตกไมเ่ กิน 1 ใน 3 ของพืน้ ท่ี ฝนกระจาย (Scattered Rain) หมายถงึ ฝนตกเปน็ หยอ่ มๆ กระจายเปน็ บรเิ วณ เลก็ ๆ ทวั่ ไปปริมาณมากกวา่ 1 ใน 3 แตน่ อ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของพ้ืนที่ 12 คมู่ ือการสอบวิชาพเิ ศษลูกเสอื เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่

ฝนเป็นบริเวณกว้างหรือฝนท่ัวไป (Widespread Rain) หมายถึง ฝนตก เปน็ บริเวณกวา้ ง ปกคลุมพื้นท่สี ว่ นใหญม่ บี ริเวณเกนิ กวา่ 1 ใน 3 ของพื้นที่ ปริมาณน�้ำฝน ฝนมคี วามส�ำคญั ต่อการเกษตรเป็นอย่างยิ่ง น้ำ� ฝนเม่ือตกแลว้ จะไหลลงสู่ที่ต่�ำและแม่น้�ำล�ำธาร เราต้องอาศัยน�้ำฝนในการบริโภคฉะน้ันน้�ำฝนจึงมี - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ความส�ำคญั ต่อความเป็นอยู่ของชวี ิตมนุษย์ ในการวดั ปรมิ าณนำ้� ฝน เราใชภ้ าชนะคลา้ ยถงั รปู ทรงกระบอกมเี สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง ประมาณ 20 เซนติเมตร มีไมบ้ รรทดั สำ� หรับวดั ความสูงของนำ้� การรายงานนำ้� ฝนใชร้ ายงานเปน็ จำ� นวนมลิ ลเิ มตร (มม.) ตอ่ 24 ชว่ั โมง สำ� หรบั ประเทศไทยมหี ลักเกณฑ์ในการวัดน�้ำฝน ดงั น้ี ปรมิ าณนำ้� ฝนเปน็ มิลลิเมตรต่อ 24 ชวั่ โมง คำ� กลา่ วรายงาน 0.1 ถงึ 10.0 มม. ฝนตกเลก็ น้อย 10.1 ถงึ 35.0 มม. ฝนตกปานกลาง 35.1 ถึง 90.0 มม. 90.1 มม. ข้ึนไป ฝนตกหนัก ฝนตกหนกั มาก ถ้าฝนนอ้ ยกวา่ 0.1 มม. เรากลา่ วว่า “มฝี นตกเล็กน้อยวัดปรมิ าณไม่ได”้ เครื่องวดั ปรมิ าณน�้ำฝน มีหลายชนิด เช่น 1. เครื่องวัดน้�ำฝนแบบธรรมดาหรอื แบบแก้วตวง 2. เครอ่ื งวดั นำ�้ ฝนแบบบนั ทึก เป็นชนดิ ทม่ี ปี ากกาเขียนดว้ ยหมกึ สำ� หรบั บันทกึ ปรมิ าณ นำ้� ฝนเปน็ เวลา 24 ชว่ั โมง ซึ่งมที ัง้ แบบช่งั และแบบกาลักนำ้� เครอื่ งวดั น้�ำฝนแบบบันทึก เครื่องวดั แบบแกว้ ตวง ส�ำนักการลกู เสือ ยุวกาชาดและกจิ การนกั เรยี น 13

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - “อณุ หภมู ”ิ อณุ หภมู ิ คอื ระดบั ของความรอ้ นในวตั ถุ เราสามารถวดั ระดบั ความรอ้ นวา่ มาก หรือน้อยได้อย่างง่าย ๆ โดยใช้การสัมผัส แต่จากการสัมผัสของคนเราไม่อาจเชื่อถือ ได้แน่นอนเสมอไปและยังมีขอบเขตจ�ำกัดจ�ำเป็นต้องอาศัยเคร่ืองมือมาช่วยเพื่อให้ได้ ขอ้ มูลที่ถูกตอ้ ง มคี วามเชอื่ ถือได้เครอ่ื งมอื ท่ีใชว้ ัดอุณหภูมนิ ้ี เรียกว่า เทอรโ์ มมเิ ตอร์ เทอร์โมมิเตอร์ เป็นเคร่ืองมือวัดอุณหภูมิท่ีมีหน่วยหรือมาตราส่วนเป็นองศา ซงึ่ มีอยู่หลายชนดิ คอื 1. หนว่ ยเปน็ องศาเซลเซยี ส (C°) 2. หนว่ ยเปน็ องศาฟาเรนไฮต์ (F°) 3. หนว่ ยเป็นองศาโรเมอร์ (R°) 4. หน่วยเป็นองศาเคลวลิ (K°) เทอร์โมมิเตอร์ ที่ใช้กันอยู่อาศัยหลักการขยายตัวและหดตัวของของแข็ง ของเหลวและก๊าซซึ่งมีขอ้ แตกตา่ งกันคอื 1. เทอรโ์ มมเิ ตอรท์ ที่ �ำดว้ ยของแขง็ ใชว้ ดั อณุ หภมู ิสูง ๆ 2. เทอรโ์ มมเิ ตอร์ทีท่ ำ� ด้วยของเหลว ใชว้ ดั อุณหภูมิปานกลาง 3. เทอรโ์ มมเิ ตอรท์ ท่ี ำ� ดว้ ยกา๊ ซ ใชว้ ดั อณุ หภมู ติ ำ่� ๆ หรอื อณุ หภมู ทิ เ่ี ปลยี่ นแปลง ไมม่ ากนกั หลกั การทำ� งานของเทอรโ์ มมเิ ตอร์ คอื เมอ่ื กระเปาะของเทอรโ์ มมเิ ตอรไ์ ปสมั ผสั กบั วตั ถใุ ด ๆ ความรอ้ นจากวตั ถนุ น้ั จะทำ� ใหข้ องเหลวทอ่ี ยภู่ ายในกระเปาะรอ้ นขน้ึ แลว้ ขยายตัวขน้ึ ไปตามรขู องหลอดแก้ว ซึง่ จะมากหรือนอ้ ยอยทู่ ร่ี ะดับความร้อนของวตั ถุ การสรา้ งเทอรโ์ มมเิ ตอรอ์ ยา่ งงา่ ย โดยใชแ้ ทง่ แกว้ ใสทมี่ รี เู ลก็ ๆ ตรงกลางหลอด ปลายล่างท�ำเป็นกระเปราะบรรจุของเหลวท่ีขยายตัวและหดตัวได้ดีเมื่อรับความร้อน และมองเห็นง่ายไม่ติดข้างหลอดแก้วด้านใน ปิดปลายด้านบน แล้วน�ำไปจัดแบ่งขีด เปน็ องศา ตามแต่ความเหมาะสมของการใชง้ าน เทอรโ์ มมเิ ตอร์มีหลายแบบ ตามความจ�ำเปน็ ของการใชง้ าน เช่น - เทอร์โมมิเตอรธ์ รรมดา - เทอรโ์ มมเิ ตอรแ์ บบวัดคนไข้ 14 คมู่ อื การสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่

- เทอร์โมมเิ ตอร์ตมุ้ แหง้ ต้มุ เปียก - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - - เทอรโ์ มมเิ ตอร์สูงสุด ตำ่� สุด - เทอร์โมมิเตอร์ต�่ำสดุ ยอดหญา้ การวัดอณุ หภมู ขิ องอากาศ อุณหภูมิเป็นส่วนประกอบที่ส�ำคัญในวิชาอุตุนิยมวิทยา นักอุตุนิยมวิทยา ตอ้ งทราบอณุ หภมู ขิ องอากาศระดบั ตา่ ง ๆ ของผวิ โลกขน้ึ ไปยงั ระดบั สงู ถงึ 20 กโิ ลเมตร หรอื สงู กวา่ นนั้ การวดั กระทำ� ไดห้ ลายวธิ แี ตท่ ป่ี ฏบิ ตั กิ นั มากทสี่ ดุ คอื การใชเ้ ทอรโ์ มมเิ ตอร์ ซึง่ มขี องเหลว เชน่ ปรอทบรรจภุ ายในหลอดแกว้ คล้ายกบั การวัดอุณหภูมอิ ย่างอ่นื ๆ บางคร้ังเม่ือต้องการทราบผลการบันทึกอุณหภูมิตลอด 24 ช่ัวโมงหรือ นานกวา่ นนั้ เรากต็ อ้ งใชเ้ ครอ่ื งบนั ทกึ อณุ หภมู ไิ ดโ้ ดยอตั โนมตั ซิ ง่ึ เรยี กวา่ เทอรม์ อกราฟ เทอร์โมมิเตอร์วดั อุณหภูมิของอากาศ “ความกดอากาศ” ความกดอากาศ หมายถงึ นำ้� หนักของบรรยากาศ อากาศท่ีพื้นดินจะหนักประมาณหนึ่งในพันของน�้ำหนักของน้�ำท่ีปริมาตร เท่ากนั ในหอ้ งเรียนท่มี ขี นาดยาว 10 เมตร กว้าง 8 เมตรและสูง 3 เมตร จะมีน�ำ้ หนัก ของอากาศประมาณ 240 กโิ ลกรัม นำ�้ หนกั ของอากาศมีมากแตเ่ ราไมค่ อ่ ยรู้สกึ เพราะมีน้ำ� หนกั ของอากาศกดดัน รอบๆ ตวั เรารวมทั้งความเคยชินของตัวเราดว้ ย การวดั ความกดของอากาศนกั อตุ นุ ยิ มวทิ ยาใชเ้ ครอ่ื งมอื ทเี่ รยี กวา่ “บารอมเิ ตอร”์ โดยใช้ความสูงของปรอทเป็นเคร่ืองวัด ถ้าความกดของอากาศมีมากระดับปรอท ในบารอมิเตอร์จะสูงขึ้นถ้าความกดของอากาศมีน้อยระดับปรอทในบารอมิเตอร์ ส�ำนักการลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนักเรยี น 15

จะต่�ำลง ตามปกติความกดอากาศท่พี ื้นดิน จะมคี า่ เท่ากบั ความสงู ของปรอทประมาณ 76 เซนตเิ มตร - วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - “ไอน้�ำในอากาศ” ไอน้�ำ เป็นส่วนประกอบของบรรยากาศที่มีความส�ำคัญมาก ไอน้�ำในอากาศ เกิดจากการระเหยของน�้ำจากแหล่งน�้ำบนพื้นโลก ซ่ึงไอน�้ำจะมีผลท�ำให้อุณหภูมิ ของบรรยากาศลดลง แต่ถ้าอากาศใดมคี วามชื้นสูงสดุ ณ อณุ หภูมหิ นึง่ จนไมส่ ามารถ รบั ไอน้�ำทร่ี ะเหยข้ึนมาไดอ้ กี แลว้ เรียกวา่ อากาศอิ่มตัวดว้ ยไอนำ้� การวัดความช้ืนในบรรยากาศ การวัดความช้ืนหรือวัดปริมาณไอน�้ำในบรรยากาศมีความส�ำคัญอย่างหนึ่ง เพราะปริมาณไอน้�ำเป็นสิ่งที่ช่วยบอกความเป็นไปของอากาศในปัจจุบันและล่วงหน้า ได้ด้วย การวดั ความชื้นในบรรยากาศวัดไดห้ ลายวธิ ี ดงั น้ี 1. การวัดความช้ืนสัมพัทธ์ คือการวัดอัตราส่วน (เป็นร้อยละ) ของจ�ำนวน ไอน�้ำท่ีมีอยู่ในอากาศในขณะน้ันต่อจ�ำนวนไอน้�ำที่อาจจะมีอยู่ได้เมื่ออากาศน้ันอ่ิมตัว ด้วยไอน�ำ้ ท่ีอุณหภูมิเดยี วกัน มวลของไอน้�ำที่มอี ยจู่ ริง ๆ ในอากาศ ความชนื้ สัมพทั ธ์ = x 100 มวลของไอน�้ำอม่ิ ตวั ทอี่ ณุ หภูมิและปริมาณเดยี วกัน ความช้ืนในอากาศพอเหมาะ ควรจะมีค่าความช้ืนสัมพัทธ์ 60 % จึงจะรู้สึก พอเหมาะและรูส้ ึกสบาย 2. การวัดความชื้นสมบูรณ์ คือ การวัดปริมาณของไอน�้ำในอากาศเป็นกรัม ตอ่ อากาศช้ืนหนัก 1 กโิ ลกรมั 3. การวัดอัตราส่วนผสม คือ การวัดปริมาณของไอน้�ำในอากาศเป็นกรัม ตอ่ อากาศ ดงั นน้ั จะเหน็ วา่ ความชน้ื สมบรู ณ์ และอตั ราสว่ นผสมเปน็ ตวั เลขใกลเ้ คยี งกนั และบางครง้ั อาจใช้แทนกันได้ 16 คู่มอื การสอบวชิ าพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่

4. การวดั จดุ น้ำ� คา้ ง คือการวดั อุณหภมู ิของอากาศเมอ่ื อากาศนน้ั เย็นลงจนถึง - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - จุดอิม่ ตวั โดยความกดอากาศและปรมิ าณไอน�้ำไมเ่ ปลี่ยนแปลง น้�ำค้าง คือ ไอน้�ำซ่ึงกล่ันตัวบนต้นไม้ หญ้าหรือวัตถุที่อยู่ตามพื้นดิน และ จะเกดิ ขนึ้ เมอ่ื อากาศมอี ณุ หภมู เิ ยน็ ลงกวา่ จดุ นำ้� คา้ ง อณุ หภมู ขิ องจดุ นำ�้ คา้ งมปี ระโยชน์ สำ� หรบั การแสดงลกั ษณะอากาศวา่ ชน้ื หรอื แหง้ มากนอ้ ย เทา่ ใด ถา้ อณุ หภมู ขิ องอากาศ ใกลเ้ คยี งกบั อณุ หภมู ขิ องจดุ นำ�้ คา้ งกแ็ สดงวา่ ไอนำ�้ ในอากาศพรอ้ มทจี่ ะกลนั่ ตวั เปน็ เมฆ หรอื หมอกได้ ตารางแสดงปริมาณไอนำ้� ในอากาศอิม่ ตัวซ่งึ ข้ึนอยู่กบั อุณหภูมิ อุณหภมู ิ ความชืน้ สัมพทั ธ์ (รอ้ ยละ) 30 16 24 31 45 57 100 (อิม่ ตัว) 20 28 42 54 79 100 (อ่ิมตัว) 16.1 36 53 69 100 (อม่ิ ตัว) 10 52 77 100 (อิม่ ตัว) 6.1 67 100 (อ่ิมตัว) 0 100 (อิม่ ตวั ) 4.85 7.27 9.41 13.65 17.31 30.40 จ�ำนวนไอนำ�้ เป็นกรมั ต่ออากาศ 1 ลกู บาศกเ์ มตร เมอื่ ความชื้นสมั พทั ธร์ ้อยละ 100 ส�ำนักการลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน 17

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ลมฟา้ อากาศ บรรยากาศหรืออากาศเป็นส่วนผสมของแก๊สที่ห่อหุ้มโลกของเรา มีปฏิกิริยา ตอ่ พน้ื โลกมากมาย ทำ� ใหเ้ กดิ ลกั ษณะอากาศประจำ� ทอ้ งถน่ิ อากาศทหี่ อ่ หมุ้ โลกนจ้ี ะแผ่ กวา้ งออกไปไกลถงึ 600 ไมล์ ในอวกาศ และเมอื่ โลกหมนุ รอบตวั เองพรอ้ มทง้ั หมนุ รอบ ดวงอาทติ ย์ด้วย อากาศจะท�ำใหเ้ กดิ สภาพปรากฏการณ์ตามธรรมชาตหิ ลายรูปแบบ อากาศท่ีห่อหุ้มโลกไว้มปี ระโยชนต์ อ่ ส่ิงมชี ีวิตบนโลก 4 ประการคือ 1. มีก๊าซออกซเิ จน ซ่ึงมคี วามส�ำคัญต่อส่งิ มีชีวิต 2. ปอ้ งกันโลกจากความรอ้ นจัดและหนาวจัด 3. สามารถเกบ็ ความชืน้ เอาไวไ้ ดแ้ ละพัดพาไปในระยะทางไกล ๆ 4. ปอ้ งกนั อนั ตรายจากรังสอี ลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ อากาศทห่ี อ่ หมุ้ โลกมกี ารหมนุ เวยี นตลอดเวลา ตามทไ่ี ดเ้ กดิ สภาพลมฟา้ อากาศ ท่ีแตกตา่ งกันไปในแตล่ ะท้องถ่ิน เช่น 1) เกดิ กระแสลมและพายุ ที่พดั ผ่านไปรอบผิวโลก 2) พาเอาความร้อนจากเขตร้อนไปสู่เขตหนาวทางตอนเหนือและตอนใต้ ของข้วั โลกทำ� ให้เกิดลมมรสุมหรือลมประจ�ำถนิ่ 3) กระแสลมได้หอบเอาไอน�้ำไปแลว้ รวมตัวตกลงมาเปน็ ฝน 4) ความช้ืนในอากาศรวมตวั กนั เป็นหมอก น้�ำคา้ ง เมฆ และหมิ ะ 5) แสงแดดในบรรยากาศช่วยท�ำให้เกิดความร้อน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อสิ่ง ที่มีชวี ติ บนโลก 6) อุณหภูมิความร้อนจะท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงแตกต่างกัน ของความกดอากาศทเี่ รยี กวา่ บริเวณความกดอากาศตำ่� ซ่ึงมผี ลตอ่ กระแสลม แผนที่อากาศและรหัสข่าวอากาศ 1.แผนทอี่ ากาศ หมายถงึ แผนทแ่ี สดงลกั ษณะลมฟา้ อากาศตา่ งๆ เปน็ เครอ่ื งหมาย แผนท่ีท่ีจะใช้ผลิตแผนที่อากาศนั้น ใช้แผนท่ีสังเขปส่วนใดส่วนหนึ่งของโลกแล้วแต่ ความต้องการ จัดพมิ พเ์ ป็นสีต่างๆ สว่ นมากใช้ สีฟ้าและสนี ้�ำตาลแสดงเขตของพ้นื น�้ำ พื้นดนิ และภูเขา พร้อมกบั แสดงที่ตง้ั ของสถานตี รวจอวกาศไวค้ รบถว้ น สำ� หรับสแี ละ 18 คู่มอื การสอบวิชาพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่

มาตราส่วนของแผนท่ี องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกเป็นผู้จัดวางมาตรฐานไว้ให้ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - เพอื่ จะได้เปน็ แบบเดียวกัน 2. ชนดิ ของแผนท่อี ากาศ แผนท่ีอากาศท่ีใช้เป็นข้อมูลในการพยากรณ์อากาศมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่พอจะจำ� แนกได้ 5 ชนดิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ หลกั ดังน้ี 2.1 แผนที่หลัก (Main Synoptic Chart) เป็นแผนท่ีแผ่นใหญ่มีอาณาเขต กว้างขวางพอสมควร 2.2 แผนทยี่ อ่ ย (Supplementary Chart) เปน็ แผนทข่ี นาดเลก็ กวา่ แผนทหี่ ลกั แต่จะขยายส่วนหนึ่งส่วนใดหรือประเทศหน่ึงประเทศใด และบริเวณใกล้เคียงออกไป โดยเฉพาะใชล้ งผลการตรวจอากาศเวลายอ่ ย คอื 0100 0400 0700 1000 1300 1600 1900 และ 2200 ส�ำหรับการลงผลการตรวจอากาศก็กระท�ำเช่นเดียวกับแผนที่หลัก แผนทย่ี ่อยใชพ้ จิ ารณาประกอบกับแผนทห่ี ลกั เพอ่ื ช่วยในการพยากรณ์อากาศไดด้ ีข้นึ 2.3 แผนที่ประกอบ (Aukiliary Chart) เปน็ แผนท่ขี นาดเดียวกบั แผนท่ยี อ่ ย น�ำมาลงส่วนประกอบปลีกย่อยจากผลการตรวจเพื่อน�ำมาใช้ประกอบในการวิเคราะห์ แผนทอ่ี ากาศ เชน่ แผนทอี่ ณุ หภมู แิ ละจดุ นำ้� คา้ ง สำ� หรบั แผนทปี่ ระกอบนจ้ี ะมมี ากหรอื น้อยแลว้ แตค่ วามต้องการของนกั พยากรณอ์ ากาศ 2.4 แผนที่อากาศชั้นบน (Upper Air Chart) เป็นแผนที่แสดงทิศทางและ ความเร็วลมในระดับสูงต่างๆ กัน ซึ่งแสดงอาการไหลของมวลอากาศในระดับต่างๆ ตลอดจนคุณสมบัติและความหนาของมวลอากาศน้ันๆ แผนที่ท่ีใช้มีขนาดต่างๆ กัน แล้วแต่ความตอ้ งการ 2.5 แผนท่ีประกาศ เป็นแผนท่ีที่ย่อมาจากแผนท่ีหลักซึ่งได้วิเคราะห์แล้ว พรอ้ มดว้ ยรายงานผลการตรวจอากาศของสถานตี า่ ง ๆ ภายในประเทศและคำ� พยากรณ์ อากาศ น�ำมารวมพิมพ์เพ่ือแจกจ่ายให้แก่สถานีท่ีราชการ องค์การ บริษัทห้างร้าน ตลอดจนเอกชนท่ตี ้องการเอาไปใช้ประโยชนใ์ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ 3. ชนดิ ของขา่ วอากาศ ขา่ วอากาศโดยทว่ั ๆ ไป ทางองคก์ ารอตุ นุ ยิ มวทิ ยาโลกไดก้ ำ� หนดไว้ 6 ชนดิ ดงั นี้ สำ� นกั การลกู เสอื ยุวกาชาดและกิจการนกั เรยี น 19

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - 3.1 ข่าวอากาศผิวพื้น 3.2 ขา่ วอากาศชัน้ บน 3.3 ข่าวผลการวิเคราะห์ และคาดหมายลักษณะแผนทีอ่ ากาศ 3.4 ขา่ วพยากรณอ์ ากาศสำ� หรับการเดินเรือ 3.5 ขา่ วพยากรณ์อากาศส�ำหรับการบนิ 3.6 ข่าวท่ีเปน็ ความรใู้ นกจิ การอุตนุ ยิ มวทิ ยา 4. การทำ� แผนทอี่ ากาศ การทำ� แผนทอี่ ากาศ ใชข้ ่าวอากาศ 2 ชนดิ เทา่ น้นั คอื ก. ข่าวอากาศผิวพ้ืน หมายถึงผลการตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยา ทีผ่ วิ พ้นื โลกหรือใกล้เคียงกบั ผวิ พน้ื โลกเป็นส่วนใหญ่ ข. ขา่ วอากาศชน้ั บน หมายถงึ ผลการตรวจสารประกอบอตุ นุ ยิ มวทิ ยาในระดบั สงู เหนอื ผวิ พน้ื โลก เป็นผลการหยั่งอากาศด้วยบลั ลนู น�ำ เรดโิ อซอนด์ เรดโิ อวนิ ดแ์ ละ จากเครอ่ื งบนิ และจากเครอื่ งบิน 5. ไอโซบาร์ หมายถึงเส้นท่ีลากติดต่อกันตามจุดต่างๆ ที่มีความกดอากาศ เท่ากันบนแผนที่อากาศ ซ่ึงจะเป็นเส้นโค้งไปมาหรือเป็นวงกลมท่ีไม่ค่อยจะกลมนัก รอบจุดๆ หน่ึง จากรปู และลกั ษณะการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาของเสน้ ไอโบบาร์ จะช่วยให้เราสามารถทราบการเปล่ียนแปลงของอากาศได้ และมีตัวเลขแสดงค่า ความกดอากาศ เช่น 1014 หมายความว่าบริเวณที่เส้นเหล่านี้ลากผ่านจะมี ความกดอากาศเทา่ กัน คอื 1014 มลิ ลิบาร์ 20 คู่มอื การสอบวชิ าพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่

6. แนวปะทะของอากาศเยน็ คอื บรเิ วณทอี่ ณุ หภมู ปิ กตแิ ละอณุ หภมู จิ ดุ นำ้� คา้ ง - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - แตกต่างกันมากที่สุด ซึ่งแนวปะทะของอากาศเย็นน้ีจะมีฝนตกหรือฝนฟ้าคะนอง ดา้ นหลงั ของแนวปะทะและมฐี านเมฆต่ำ� มาก Cold Front สัญลักษณท์ ใี่ ชใ้ นแผนทีอ่ ากาศ ภาพแนวปะทะของอากาศเยน็ 7. แนวปะทะของอากาศอนุ่ คอื บรเิ วณทอี่ ณุ หภมู ปิ กตแิ ละอณุ หภมู จิ ดุ นำ้� คา้ ง แตกต่างกันมากที่สุดซึ่งแนวปะทะของอากาศอุ่นน้ีมักจะมีหมอกหรือมีเมฆมาก จะมี ฝนตกด้านหน้าแนวออกไปเปน็ บริเวณกว้าง แต่ด้านหลงั แนวปะทะอากาศค่อนข้างดี Warm Front 21 สญั ลักษณท์ ใ่ี ชใ้ นแผนที่อากาศ ส�ำนกั การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ภาพแนวปะทะของอากาศอ่นุ สัญลกั ษณ์ลมฟา้ อากาศ 22 คู่มอื การสอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามญั ร่นุ ใหญ่

- วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - สญั ลักษณ์แสดงความเรว็ ลม (หนว่ ย Knot) สำ� นกั การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน 23

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - สัญลักษณแ์ สดงปรมิ าณเมฆ 24 คู่มอื การสอบวิชาพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่

- วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ตวั อยา่ งแบบทดสอบ สำ� นกั การลกู เสอื ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น 2ค5

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - แบบทดสอบภาคปฏบิ ัติ 1. เขียนบนั ทกึ ประจ�ำวนั เกี่ยวกบั เรื่อง ลม ฟ้า อากาศ จากการสังเกต ด้วยตนเองเปน็ เวลาอย่างน้อย 1 เดือน 2. สรา้ งเครื่องมอื แบบง่าย ๆ ขึน้ อยา่ งใดอย่างหนึง่ - เทอรโ์ มมเิ ตอร ์ - บาโรมเิ ตอร์ - เครือ่ งบันทึกแสงแดด - เคร่ืองวัดปริมาณนำ้� ฝน - แอนโิ มมิเตอร์ 3. สามารถอ่านแผนทอ่ี ากาศ 4. แสดงแผนผงั ประกอบคำ� อธิบายในเร่ือง - ความชน้ื สัมพัทธ์ (relative humidity) - จดุ น�้ำคา้ ง (dew point) - ไอโซบาร์ (isobar) - มิลลิบาร์ (millibar) - ไอโซเทอม (isotherm) - แนวปะทะของอากาศเยน็ (cold front) - แนวปะทะของอากาศอุ่น (warm front) 26 คมู่ ือการสอบวชิ าพเิ ศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่

ตัวอย่างตารางบันทึกประจ�ำวนั เกยี่ วกบั เร่ืองลมฟา้ อากาศ ประจ�ำเดือน....................................... พ.ศ. ................... ลกั ษณะอากาศ สำ� นักการลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนกั เรียน วันท่ี ลม เมฆ หมอก ฝน ความช้นื อากาศ อณุ หภมู ิ หมายเหตุ ทศิ กำ� ลัง (ม.ม.) (%) แหง้ เปยี ก (C°) 27 - วิชา นักอตุ ุนิยมวทิ ยา -

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - แบบทดสอบภาคทฤษฎี จงวงกลมล้อมรอบหัวขอ้ คำ� ตอบทถ่ี ูกตอ้ งเพยี งขอ้ เดยี ว 1. รปู เครอื่ งหมายวิชาพิเศษนกั อตุ นุ ยิ มวิทยา ก. มอื ถือคบเพลงิ ข. เมฆฝน ค. เคร่อื งหมายทางลบ ง. ลูกศร 2. อตุ ุนิยมวิทยา หมายถงึ ก. เป็นวทิ ยาศาสตร์แขนงหน่ึง ซ่งึ ว่าดว้ ยการผันแปร พฤตกิ รรมของบรรยากาศ ซง่ึ เป็นปรากฏการณบ์ นทอ้ งฟ้า ข. เปน็ เรื่องทวี่ า่ ดว้ ยเมฆ ฝน และบรรยากาศ ค. เป็นวทิ ยาศาสตรแ์ ขนงหนึง่ ซงึ่ วา่ ด้วยเมฆ ฝน และบรรยากาศ ง. เป็นเรือ่ งท่วี ่าดว้ ยชนิดของเมฆชนิดตา่ ง ๆ ลม และฝน 3. อุตนุ ิยมวทิ ยาเปน็ วิชาท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ก. การเดินทางในอวกาศ ข. ลมฟา้ อากาศ ค. ดินและน้�ำ ง. จักรวาล 4. ประโยชนข์ องวชิ าอตุ ุนิยมวิทยา ก. ตอ่ สงั คมมนษุ ย์ ข. ตอ่ การกสกิ รรมและการอตุ สาหกรรม ค. ต่อการสุขาภิบาลและการคมนาคม ง. ถูกทกุ ขอ้ 28 ค่มู อื การสอบวชิ าพเิ ศษลกู เสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่

5. เวลามาตรฐานทใ่ี ช้ในการตรวจอากาศเปน็ สากล - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ก. เมอื งนิวยอรก์ ข. กรุงลอนดอน 29 ค. เมืองกรนี ิช ง. กรงุ เจนวี า 6. ทิศทางลม หมายถงึ ก. ทิศท่ีลมพัดออกไปจากตวั เรา ข. ทิศทลี่ มพดั ไปตามแนวเหนอื ใต้ ออก ตก ค. ทิศท่ลี มพดั ไปตามกระแสน�้ำ ง. ทศิ ทีล่ มพัดเข้าหาตัวเราเปน็ เกณฑ์ 7. “ลม” ในทางอตุ ุนยิ มวทิ ยา หมายถึง ก. ส่งิ ท่เี คลอื่ นไหวไปมาได้ ข. การเคลือ่ นไหวของอากาศและในทางนอน ค. อากาศทลี่ ้อมเราอยู่ ไม่มีสีไม่มีกลนิ่ แตส่ ามารถเคล่อื นไหวได้ ง. ไมม่ ีข้อใดถกู 8. ความเร็วลม มีหน่วยเป็น ก. นอต (ไมล์ทะเลตอ่ ชั่วโมง ไมล์ต่อชว่ั โมง) ข. กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง เมตรต่อวินาที ค. ฟุตตอ่ วินาที ง. ถกู ทกุ ข้อ 9. เครอื่ งวดั ทิศทางลมมีชือ่ เรียกวา่ ก. ไฮโดรกราฟ ข. ไฮโดรมิเตอร์ ค. บารอมิเตอร์ ง. อะนีมอมิเตอร์ สำ� นักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนกั เรยี น

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - 10. ลมตะวนั ออกเฉียงใต้หมายถึง ก. ลมทพี่ ัดไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งใต้ ข. การก่อตัวของลมบรเิ วณทศิ ตะวัตออก-เฉียงใต้ ค. ลมที่พดั จากทิศตะวันออกเฉียงใต้ ง. ลมทพี่ ัดตามฤดกู าล 11. ลมทะเลหมายถงึ ก. ลมท่ีพดั อยใู่ นทะเล ข. ลมทพ่ี ัดจากทะเลไปส่บู ก ค. ลมทีพ่ ัดสู่ทะเล ง. ลมทพี่ ัดบรเิ วณชายหาด 12. เมฆ(Cloud) หมายถงึ อะไร ก. ไอน�้ำท่ีลอยตวั และรวมกันเป็นกอ้ น ข. ไอน้�ำท่ลี อยตัวแลว้ ตกมาเป็นฝน ค. การกล่ันตวั ของไอน้ำ� ง. การรวมตวั ภายใตค้ วามกดอากาศ 13. ขณะฟ้าแลบ ฟา้ ร้อง อาจมี ก. พายุ ข. ฟ้าคะนอง ค. ฟ้าฝา่ ง. นำ้� ท่วม 14. ผลการตรวจเมฆในท้องฟา้ ท�ำใหส้ ามารถ ก. ทราบถึงปรมิ าณเมฆในทอ้ งฟา้ ข. พยากรณ์อากาศในขณะนัน้ ค. พยากรณอ์ ากาศในเวลาต่อไป ง. ถูกทุกขอ้ 30 คมู่ อื การสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่

15. เมฆควิ มูลสั (Cumulus) มีลกั ษณะ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ก. เปน็ กอ้ น มยี อดพุ่งสุดคล้ายโดม ข. เป็นกอ้ นใหญ่อย่างดอกกะหล�ำ่ ปลี บางทีก็มยี อดแผ่ออกเปน็ รปู ทงั่ ค. เปน็ กอ้ นกลมเรยี งติด ๆ กัน ง. เป็นแผน่ หนาสมำ�่ เสมอ เกดิ จากหมอกยกตัวสูงข้นึ ในตอนสาย 16. ฝนหมายถึงอะไร ก. ไอน�้ำท่กี ลน่ั ตัวตกมาเปน็ หยดน้ำ� ข. ละอองนำ�้ ทีร่ วมตวั ตกมาเปน็ หยดน�ำ้ ค. ไอนำ้� ทร่ี วมตวั ตำ� มาเป็นหยดนำ้� ง. เมฆที่รวมตวั ตกมาเปน็ หยดน้�ำ 17. ปริมาณของนำ้� ฝน 10.1 – 3.5.0 มม. ค�ำกลา่ วรายงานคอื ก. ฝนตกเล็กนอ้ ย ข. ฝนตกปานกลาง ค. ฝนตกหนกั ง. ฝนตกหนกั มาก 18. เคร่ืองวัดฝน ก. แบบไม้บรรทัดหย่ัง ข. แบบแก้วตวง ค. แบบจดรายงานดว้ ยตนเอง ง. ถกู ทุกข้อ 19. หมอก (Fog) หมายถึง ก. อากาศท่ีผวิ พน้ื เย็นลง และไอนำ�้ กล่ันตวั เปน็ หยดน�้ำ ข. ละอองนำ�้ ซ่ึงรวมกันจบั เป็นกอ้ น ค. กอ้ นน้�ำแขง็ ทต่ี กลงมากบั ฝน ง.เมฆท่เี กิดใกล้พื้นดนิ สำ� นักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรียน 31

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - 20. น้�ำคา้ ง (Dew) หมายถงึ ก. อากาศท่ีผวิ พ้นื เย็นลง และไอน้�ำกลนั่ ตวั เปน็ หยดน�ำ้ ข. ละอองน�้ำซ่งึ รวมกันจับเปน็ ก้อน ค. กอ้ นน�ำ้ แขง็ ทีต่ กลงมากบั ฝน ง. เมฆทเ่ี กิดใกล้พนื้ ดนิ 21. ลกู เหบ็ (Hail) หมายถงึ ก. อากาศท่ีผวิ พ้นื เย็นลง และไอน้ำ� กลั่นตวั เป็นหยดนำ้� ข. ละอองน�้ำซึง่ รวมกันจับเป็นกอ้ น ค. กอ้ นนำ้� แข็งท่ตี กลงมากบั ฝน ง. เมฆที่เกดิ ใกลพ้ นื้ ดิน 22. ส่งิ ทจ่ี ะตอ้ งบนั ทึกเกยี่ วกับลมฟ้าอากาศคือ ก. ลม เมฆ หมอก ฝน อากาศ ข. ลม เมฆ หมอก ความชน้ื ฝน ค. ลม เมฆ หมอก ความช้ืน ฝน อากาศ ง. ลม เมฆ หมอก ความชนื้ ฝน อากาศ อณุ หภูมิ 23. ความกดอากาศคือ ก. น้ำ� หนักของอากาศ ข. หน่วยวดั อากาศ ค. ภาชนะทีใ่ ช้วดั อากาศ ง. ภาชนะทใ่ี ชบ้ รรจุอากาศ 24. ลมฟา้ อากาศมผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงบนพ้ืนผวิ โลกอย่างไร ก. เกิดกระแสลมและพายุ ข. เปลยี่ นแปลงทางอณุ หภมู ิของพ้ืนโลก ค. ความเจรญิ เตบิ โตของพืชและสัตว์ ง. ถูกทุกขอ้ 32 ค่มู อื การสอบวิชาพเิ ศษลกู เสือ เนตรนารี สามัญรนุ่ ใหญ่

25. แผนที่อากาศหมายถึง - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ก. แผนที่แสดงลักษณะของลมฟ้าอากาศ ข. แผนทแี่ สดงการเดนิ ทางโดยเคร่อื งบิน 33 ค. แผนที่แสดงทิศทางลม ง. แผนทแี่ สดงแนวการเกดิ พายุ 26. ขา่ วอากาศหมายถึง ก. ขา่ วเก่ยี วกับการเกษตร ข. ข่าวการเดินทางโดยเคร่อื งบิน ค. ชว่ ยทเี่ กี่ยวกบั ลมฟา้ อากาศ ง. ข่าวเกยี่ วกับการเดินทางของดาวเทยี ม 27. สภาพอากาศที่ปลอดโปรง่ หมายถึง ก. มลี มแรง เมฆหนาทึบ ข. ทอ้ งฟ้าไม่มีเมฆ ค. ฝนตกปานกลาง ง. ท้องฟา้ ไม่มีเมฆ ลมแรง 28. ลมบกหมายถงึ ก. ลมท่พี ัดอยบู่ นบก ข. ลมท่ีพกั จากทะเลสูบ่ ก ค. ลมทพ่ี ดั จากบกสทู่ ะเล ง. ลมท่พี ัดตามฤดกู าล 29. ลักษณะของเมฆท่เี ราสังเกตได้คอื ก. เมฆชัน้ สงู ข. เมฆแผ่นกว้าง ค. เมฆก้อนใหญ่ ง. ถูกทุกข้อ ส�ำนกั การลกู เสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - 30. ฝนละอองเกิดจาก ก. เมฆกอ้ น ข. เมฆฝน ค. ละอองน�้ำในอากาศ ง. เมด็ ฝนขนาดใหญท่ แี่ ตกกระจาก 31. หนว่ ยวดั อณุ ภมู ิทีน่ ยิ มใช้โดยท่ัวไปคือ ก. องศาเซลเซยี สและฟาเรนไฮด์ ข. องศาเซลเซยี สและโรเตอร์ ค. องศาฟาเรนไฮดแ์ ละเคลวลิ ง. องศาโรเตอรแ์ ละเคลวิล 32. เหตุทีเ่ ราไมท่ ราบวา่ รอบตัวเรามีอากาศกดดันอยเู่ นือ่ งจาก ก. เรามองไม่เห็น ข. เกิดความเคยชนิ ค. เราไม่เคยใช้เครือ่ งวดั ง. อากาศเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ 33. ปฏิกิรยิ าของอากาศทมี่ ีตอ่ พืน้ ผิวโลกท�ำใหเ้ กดิ ก. ลักษณะอากาศประจำ� ถ่ิน ข. สภาพอากาศแปรปรวน ค. การเปลี่ยนแปลงของพน้ื ผิวโลก ง. การเปล่ียนแปลงของสง่ิ มชี วี ิต 34. การเปล่ียนแปลงของอุณภูมิบนพ้ืนผวิ โลกท�ำให้มีผลต่อ ก. ปรมิ าณฝน ข. กระแสลม ค. ความแหง้ แลง้ ง. สิ่งมชี วี ิต 34 คู่มือการสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่

35. ความจ�ำเปน็ ในการเดินทางทะเลตอ้ งอาศัย - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ก. ชว่ ยพยากรณ์อากาศ ข. แผนท่อี ากาศช้ันบน 35 ค. แผนทป่ี ระกอบ ง. ขา่ วท้องถ่นิ 36. การเดนิ ทางของเคร่อื งบนิ จำ� เป็นต้องอาศยั แผนที่ ก. แผนท่ีหลกั และแผนท่ยี อ่ ย ข. แผนทป่ี ระกอบและแผนทอ่ี ากาศช้นั บน ค. แผนท่ีประเทศ ง. แผนท่ีอากาศและขา่ วอากาศ 37. การก่อตัวของเมฆอยา่ งหนาทบึ แสดงว่า ก. จะเกดิ พายุ ข. จะเกดิ ลมแรง ค. จะมีฝนตกเบาบางแต่ลมแรง ง. มลี มแรงฟ้าคะนอง 38. การวัดอุณหภูมิดว้ ยการสมั ผัสของคน ก. เช่ือถอื ได้ ข. เชื่อถอื ไม่ได้ ค. เช่ือถอื ไดเ้ ปน็ บางครัง้ ง. ขน้ึ อยูก่ ับสง่ิ ที่ไปสมั ผสั 39. เคร่ืองวดั อุณหภูมเิ รียกวา่ ก. บารอกราฟ ข. บารอมเิ ตอร์ ค. ไซโครมเิ ตอร์ ง. เทอร์โมมิเตอร์ ส�ำนักการลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรยี น

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - 40. อณุ หภูมิ หมายถงึ ก. ระดับความร้อนในวตั ถุ ข. ระดับความร้อนในบรรยากาศ ค. ระดับความร้อนของเครื่องวดั ง. ระดับความรอ้ นของวัตถทุ ่ตี ้องการ 36 คมู่ ือการสอบวชิ าพเิ ศษลกู เสือ เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่

เฉลยข้อสอบภาคความรู้วิชา นักอตุ นุ ยิ มวทิ ยา - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ขอ้ ท่ี ค�ำตอบ ข้อท่ี ค�ำตอบ ข้อท่ี คำ� ตอบ ข้อท่ี ค�ำตอบ 1. ค 11. ข 21. ค 31. ก 2. ก 12. ก 22. ง 32. ข 3. ข 13. ค 23. ก 33. ก 4. ง 14. ง 24. ง 34. ก 5. ค 15. ก 25. ก 35. ก 6. ง 16. ก 26. ค 36. ง 7. ข 17. ข 27. ข 37. ก 8. ง 18. ง 28. ค 38. ค 9. ง 19. ง 29. ง 39. ง 10. ค 20. ก 30. ข 40. ก สำ� นกั การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรียน 37

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - บรรณานกุ รม คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง่ ชาติ, สำ� นักงาน. ขอ้ บังคับคณะลกู เสือ แห่งชาตวิ า่ ด้วยการปกครอง หลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษลูกเสือสามัญ รุ่นใหญ่ (ฉบบั ท่ี 14) พ.ศ. 2528. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ ุรุสภา, 2531. คณะกรรมการบริหารลกู เสอื แห่งชาติ, สำ� นักงาน. แนวการสอบวชิ าพเิ ศษ ลกู เสือสามัญรุน่ ใหญ่. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ครุ ุสภา, 2542. บำ� รุง สรัคคานนท.์ อุตนุ ิยมวิทยาท่ัวไป. กรุงเทพมหานคร : วบิ ูลย์กิจ, 2520. สมพงษ์ มะนะสุทธิ์. อุตนุ ยิ มวทิ ยา. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัย รามคำ� แหง, 2521. 38 คมู่ ือการสอบวิชาพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามัญรนุ่ ใหญ่

- วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - ภาคผนวก สำ� นกั การลกู เสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรียน 39ง

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ขน้ั ตอนการด�ำเนนิ การสอบวชิ าพิเศษ การขออนมุ ตั ิ และการประดบั เครอ่ื งหมาย 1. ลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ เมื่อสอบเครื่องหมายลูกเสือโลกได้แล้ว และไดเ้ ขา้ พธิ ปี ระจำ� กอง จงึ มสี ทิ ธปิ์ ระดบั เครอื่ งหมายลกู เสอื โลกจากนน้ั จงึ มสี ทิ ธเิ์ ลอื ก สอบวิชาพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรนุ่ ใหญ่ 2. เม่ือลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่แสดงความประสงค์ท่ีจะสอบเพื่อรับ เครื่องหมายวิชาพิเศษ คณะกรรมการด�ำเนินงานของกองลูกเสือจะต้องพิจารณา เห็นชอบให้มกี ารสอบวิชาพิเศษลูกเสอื เนตรนารี ตามที่เสนอ 3. ผู้ก�ำกับกองลูกเสือ เนตรนารี เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติต่อ ผอู้ ำ� นวยการลกู เสือโรงเรยี น 4. เมอื่ ได้รับการอนุมตั ิแลว้ จึงจดั ทำ� คำ� สง่ั แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบวิชาพเิ ศษ ลูกเสือ เนตรนารี โดยประธานคณะกรรมการสอบต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ประเภทสามญั รนุ่ ใหญ่ สว่ นกรรมการตอ้ งผา่ นการฝกึ อบรม ขน้ั ความรเู้ บอ้ื งตน้ ประเภท สามัญรนุ่ ใหญ่เป็นอย่างนอ้ ย 5. ดำ� เนนิ การสอบวชิ าพเิ ศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญท่ งั้ ภาคปฏบิ ตั แิ ละ ภาคทฤษฎี 6. เม่ือสอบเสร็จแล้ว สถานศึกษาท�ำหนังสือขออนุมัติผลการสอบวิชาพิเศษ ลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ และการประดับเครื่องหมายไปยัง ผู้มีอ�ำนาจอนุมัติ พร้อมแนบหลกั ฐาน ดงั น้ี 6.1 โครงการสอบวิชาพเิ ศษ 6.2 ค�ำส่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบ 6.3 ขอ้ สอบภาคปฏบิ ัติ 6.4 ขอ้ สอบภาคทฤษฎี 6.5 รายชอ่ื ลูกเสอื เนตรนารี ทส่ี อบผ่าน/ไมผ่ า่ น 40 คู่มือการสอบวชิ าพิเศษลูกเสอื เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่

7. สว่ นกลางหรอื สว่ นภมู ภิ าคอนมุ ตั ผิ ลการสอบและอนมุ ตั กิ ารประดบั เครอ่ื งหมาย - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - 8. เมอ่ื สถานศกึ ษาไดร้ บั หนงั สอื อนมุ ตั ผิ ลการสอบและการประดบั เครอื่ งหมาย แล้ว จะตอ้ งดำ� เนินการดงั นี้ 8.1 สถานศกึ ษาออกหนังสอื รบั รองใหล้ กู เสอื เนตรนารี ท่สี อบผ่าน 8.2 สถานศึกษาลงทะเบียนไว้เป็นหลักฐานในสมุดทะเบียนกอง ลูกเสือ เนตรนารี (ลส. 8/นน. 8) 8.3 สถานศึกษาบันทึกหลักฐานในสมุดประจ�ำตัวลูกเสือ เนตรนารี (ลส. 17/นน. 17) 9. ประดับเครื่องหมายวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สำ� นักการลกู เสอื ยุวกาชาดและกจิ การนกั เรยี น 41

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ตัวอยา่ งเอกสาร 4จ2 ค่มู อื การสอบวิชาพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามญั ร่นุ ใหญ่

ตวั อยา่ ง สถานศึกษาขออนุมัตผิ ลการสอบวิชาพิเศษ และขออนุมัติการประดบั เคร่อื งหมาย หนงั สอื ขออนมุ ัติผลการสอบวิชาพเิ ศษ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - วชิ า......................... และขออนมุ ตั กิ ารประดับเคร่อื งหมาย ท.่ี ......./.............. สถานศกึ ษา............................... วันท.ี่ .........เดือน.....................พ.ศ.......... เรอ่ื ง ขออนุมัตผิ ลการสอบวชิ าพเิ ศษ วิชา....... และขออนุมตั ิการประดบั เคร่ืองหมาย เรียน เลขาธิการส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาต/ิ ผู้อำ� นวยการลูกเสอื จงั หวดั (แลว้ แตก่ รณ)ี สิ่งท่สี ง่ มาด้วย 1. โครงการสอบวชิ าพเิ ศษลกู เสือ เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ วชิ า....... 2. ค�ำส่ังแตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบวชิ าพิเศษวิชา............. 3. ขอ้ สอบภาคปฏบิ ตั ิ 6 ฐาน 4. ข้อสอบภาคทฤษฎี 40 ขอ้ 5. รายชอ่ื ลกู เสอื เนตรนารี สามญั รุ่นใหญ่ทีส่ อบผ่าน – ไม่ผ่าน หลักสูตรเครือ่ งหมายวิชาพเิ ศษ วชิ า.............................. ด้วยสถานศึกษาได้จัดท�ำโครงการฯและแต่งต้ังคณะกรรมการสอบวิชาพิเศษ ลูกเสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ ตามส่งิ ทีส่ ่งมาดว้ ย บดั นี้ สถานศกึ ษาไดด้ �ำเนนิ การ สอบทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั เิ ปน็ ท่เี รียบรอ้ ยแล้ว ผลปรากฏวา่ มลี ูกเสอื เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่ จ�ำนวน.........คน สอบผา่ น (รายชอ่ื ดงั แนบ) จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณาอนมุ ตั ผิ ลการสอบวชิ าพเิ ศษและอนมุ ตั กิ ารประดบั เครอื่ งหมาย ขอแสดงความนบั ถือ (……………………………………………) ผู้อำ� นวยการลกู เสอื โรงเรียน....................... ส�ำนกั การลูกเสอื ยวุ กาชาดและกิจการนักเรยี น 43

- วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - ตวั อยา่ ง โครงการสอบวิชาพเิ ศษลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ วิชา........................... ประจ�ำปี….....……… 1. ชื่อโครงการ “การสอบวชิ าพเิ ศษลูกเสอื เนตรนารี สามัญรนุ่ ใหญ่ วชิ า ................ประจ�ำปี พ.ศ..............” 2.หลกั การและเหตุผล ด้วยท่ปี ระชมุ คณะกรรมการด�ำเนนิ งานของกองลกู เสอื เนตรนารี สามญั รุ่นใหญ่ ครงั้ ที่....../........... เมอ่ื วันที่....เดือน.........พ.ศ........... ณ ห้องประชมุ ลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ ไดม้ มี ตสิ อบวชิ าพเิ ศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ วชิ า....................... ให้แก่ลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ ที่สอบได้เคร่ืองหมายลูกเสือโลก และผ่าน พิธีเข้าประจ�ำกองแล้ว จ�ำนวน.......คน โดยมีลูกเสือ เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ จ�ำนวน....คน สมัครสอบเพื่อรับเครื่องหมายวิชาพิเศษวิชา..........โดยได้น�ำเสนอไปยัง ผอู้ ำ� นวยการลูกเสอื โรงเรยี นตามล�ำดบั และไดร้ ับความเหน็ ชอบแลว้ 3. วตั ถุประสงค์ 3.1 เพ่ือใหน้ ักเรยี นในระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ เหน็ คุณค่าของกจิ กรรม ลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ 3.2 เพอ่ื สร้างแรงจูงใจให้แก่ลกู เสือ เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ สมคั รสอบ เพ่อื รบั เคร่ืองหมายวิชาพเิ ศษ วิชา..................... 4. เปา้ หมาย รบั สมัครลกู เสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ จ�ำนวน............คน 5. วิธดี �ำเนนิ การ 5.1 เปดิ รบั สมัครลกู เสอื เนตรนารี สามญั ร่นุ ใหญ่ ท่ตี อ้ งการสอบเพ่ือรับ เครือ่ งหมายวิชาพเิ ศษ วชิ า............. 5.2 จัดท�ำค�ำสง่ั แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบวิชาพเิ ศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รุ่นใหญ่ วิชา................... 5.3 เร่มิ ด�ำเนนิ การสอบตง้ั แต่บัดนี้เป็นต้นไป 44 คมู่ ือการสอบวิชาพิเศษลูกเสอื เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่

6.งบประมาณ - วิชา นัก ุอตุ ินยมวิทยา - เกบ็ จากลกู เสอื เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ คนละ 50 บาท 7.วนั และสถานท่ี ระหวา่ งเดอื น...........ถงึ เดอื น........... 25..... ณ........................... 8. ผลทีจ่ ะไดร้ ับ ลูกเสอื เนตรนารี สามญั ร่นุ ใหญ่ จำ� นวน............คน จะได้รบั เครอื่ งหมายวิชาพเิ ศษ วชิ า............. อย่างนอ้ ย.......คน 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ รองผู้อำ� นวยการลูกเสอื โรงเรยี น.................... 10. ชนิดของโครงการ เปน็ โครงการต่อเน่อื งทกุ ปี ส�ำนักการลกู เสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรยี น 45

ตวั อย่าง ค�ำสั่งโรงเรยี น.......................... ท่.ี ......./............. เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบวชิ าพิเศษ ลกู เสอื เนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ - วชิ า นกั อตุ ุนยิ มวิทยา - วิชา…………………………. เพอ่ื ให้การสอบเครอื่ งหมายวชิ าพเิ ศษ วชิ า.........................ใหแ้ ก่ลกู เสือ เนตรนารี สามญั ร่นุ ใหญ่ ระหวา่ งวนั ที่........ถงึ วันที่.......เดือน..................พ.ศ.......... ณ ............... จังหวดั ..................เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยและมีประสทิ ธิภาพ จึงแต่งต้งั บุคลากรทางการลกู เสอื ตอ่ ไปน้ี ดำ� เนินการสอบตามกำ� หนดวันและ สถานทดี่ ังกลา่ วขา้ งตน้ ดงั น้ี 1. รองผู้อำ� นวยการลกู เสอื โรงเรียน A.L.T./SS.W.B. ประธาน 2. ผกู้ ำ� กบั กลุ่มลูกเสือโรงเรียน A.L.T./SS.W.B. รองประธาน 3. รองผกู้ ำ� กบั ลูกเสอื โรงเรียน SS.W.B. กรรมการ 4. ผกู้ �ำกับกองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ กองที่ 1 กลมุ่ ที่ 1 SS.W. B. กรรมการ 5. ผูก้ �ำกับกองเนตรนารสี ามญั ร่นุ ใหญ่กองท่ี 1 กลุ่มที่ 1 SS.W.B. กรรมการ 6. กรรมการ 7. ฯลฯ กรรมการ 8. กรรมการ 9. กรรมการ 10. รองฯกองลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ กองท่ี 1 กลุม่ ที่ 1 SS.B.T.C. กรรมการ 11. รองฯกองเนตรนารสี ามัญรุ่นใหญ่กองที่ 1 กลุ่มท่ี 1 SS.B.T.C กรรมการ ฯลฯ (................................................) ผู้อำ� นวยการลูกเสือโรงเรยี น.................. 46 คู่มอื การสอบวชิ าพิเศษลูกเสือ เนตรนารี สามญั รุ่นใหญ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook