DANCING ART นาฏศิลป์
สมาชิก นายยศพนธ์ ช่างสาน เลขที่5 นายภูริภัทร์ ดาหลาย เลขที่10 นางสาวปิ ยธีรา สายวารี เลขที่22 นางสาวศิรดา ส่งแสง เลขที่23 นางสาวอคิราห์ ชัย วิเศษ เลขที่34 นางสาวธนัญชนก ศิริพันธ์ เลขที่37
คุณค่าและประโยชน์ของนาฏศิลป์ คุณค่าของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ สะท้อนให้เห็นสภาพบ้านเมืองที่มี ความสวยงามประณี ตเพียบพร้อมไปด้วย ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนวัฒนธรรมที่ ยึดถือปฏิบัติกันมาแต่ละยุคสมัย นาฏศิลป์ ไทยมีคุณค่ามากในฐานะที่เป็ นที่รวม ของศิลปะหลายแขนงปลูกฝังจริยธรรมและเป็ น เอกลักษณ์ ของชาติที่แสดงถึงความเป็ น อารยประเทศ อาทิ ศิลปะแขนงวิจิตรศิลป์ หรือ ประณี ตศิลป์
1. ประติมากรรมหมายถึงผลงานศิลปะที่ แสดงออกโดยกรรมวิธีการปั้ นการแกะสลักการ หล่อต่าง ๆ ศิลปะแขนงนี้ปรากฏในงาน นาฏศิลป์ ในรูปแบบของการสร้างอุปกรณ์ ในการ แสดงฉากอุปกรณ์ ประกอบฉาก การสร้างเครื่อง แต่ง กาย 2. วรรณกรรมปรากฏในงานนาฏศิลป์ ได้แก่ บท ประพันธ์ทั้งที่เป็ นร้อยแก้วและร้อยกรองที่เป็ น ละครบทเพลง
3. สถาปัตยกรรมเป็ นศิลปะในการออกแบบสร้าง ฉากต่าง ๆ เช่นบ้านเรือนที่อยู่ในปราสาทราชวัง อาคารสถานที่ต่าง ๆ 4. จิตรกรรมการเขียนภาพในการแสดง นาฏศิลป์ ต้องมีฉากการแต่งหน้าการเครื่องแต่ง กายเป็ นองค์ประกอบสำคัญ ศิลปะสาขาจิตรกรรมจึงมีความใกล้ชิ ดกับผล งานการแสดงทางนาฏศิลป์
5. ดุริยางคศิลป์ ศิลปะทางด้านดนตรีขับร้อง นับว่าเป็ นหัวใจสำคัญสำหรับนาฏศิลป์ ไทย เพราะการแสดงลีลาท่ารำต้องมีดนตรีประกอบ การแสดง
ประโยชน์ ของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ เป็ นส่วนสำคัญในการประกอบ พิธีกรรมทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์นอกเหนือไป จากการให้ความบันเทิง
กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์ เป็ นวิชาทักษะที่ผู้ศึกษาจะต้องมีความอดทน ฝึกฝนเป็ นระยะยาวนาน เพื่อสืบสานปัญญาทาง ด้านนาฏศิลป์ และดนตรีไว้เป็ นมรดกทาง วัฒนธรรมให้คงอยู่ตลอดไป 1) กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์ สมัยโบราณ เป็ นการถ่ายทอดจากครูแบบตัวต่อตัว โดยวิธี จำไม่มีการจด 2) กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์ ในสมัย ปัจจุบัน ปัจจุบันวิชานาฏศิลป์ เปิ ดสอนอยู่ในสถาบัน การศึกษา กระบวนการเรียนการสอนที่เป็ น แบบแผน โดยจัดทำสื่อและใช้ระบบการเรียน สอนที่มีผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
3) การจัดกิจกรรมเพื่อสืบวัฒนธรรมทางด้าน นาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ มีขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ยึดถือ ปฏิบัติสืบต่อมายาวนาน ผู้ศึกษาวิชานาฏศิลป์ ต้อง มีความเคารพในบูรพาจารย์ กิจกรรมทางด้าน นาฏศิลป์ ที่ควรศึกษาได้แก่
3.1พิธีไหว้ครู ครอบบครูและรับมอบ นาฏศิลป์ ไทยมีแบบแผนขนบธรรมเนียมที่ สืบทอดกันมาความศรัทธา เชื่อถือ จึงมีการจัดวิธี ไหว้ครู ครอบครู และรับมอบ เพื่อให้ศิษย์ได้รู้จัก พระนามครู มหาเทพ ฤาษี มนุษย์ ยักษ์ ทั้งที่มี ชีวิตอยู่และไม่มีชีวิตอยู่ เพื่อมอบตัวเป็ นศิษย์ และความเป็ นสิริมงคล 3.2 คติความเชื่อเกี่ยวกับนาฏศิลป์ ติดความเชื่อของนาฏศิลป์ มีหลายเรื่อง แต่ที่รู้จัก กันดีในเรื่องความเชื่อคือเรื่อง ผิดครู เเรงครู ครู เข้า เป็ นคติความเชื่อที่มีวัตถุประสงค์เพื่อขจัด ภัยพิบัติ เพื่อให้สิทธิ์นาฏศิลป์ ทุกคนปฏิบัติ ตาม\"ผิดครู\"หมายถึง ผู้ปฏิบัติผิดข้อห้ามจะได้รับ การลงโทษ \"เเรงครูหรือครูเข้า\"หมายถึง จะมีอัน เป็ นไปต่างๆ การบั่นทอนชีวิต
4 แนวทางการอนุรักษ์นาฏศิลป์ 4.1 การค้นคว้าวิจัย ศึกษาและเก็บรวมข้อมูล ภูมิปัญญาหนังไทยในด้านต่างๆ ทุกภูมิภาคทุก จังหวัด มุ่งให้ศึกษาความเป็ นมาในอดีตใน สภาพการณ์ ในปัจจุบัน 4.2 การอนุรักษ์โดยการปลุกจิตสำนึกคนในท้อง ถิ่นตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญา ส่งเสริมการ จัดประเพณี และวัฒนธรรมต่างๆที่ควรอนุรักษ์ ภูมิปัญญาที่เป็ นเอกลักษณ์ ของท้องถิ่น
4.3 การฟื้นฟูโดยการเลือกสรรภูมิปัญญา ที่ กำลังจะสูญหายหรือสูญหายไปแล้ว ทำให้มี คุณค่าและความสำคัญในการดำเนินชีวิต ภายในท้องถิ่น 4.4 การพัฒนาและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ ปรับปรุ งภูมิปัญญา ให้เหมาะสมกับยุคสมัยและ เกิดประโยชน์ ในการดำเนินชีวิต โดยการใช้ ภูมิปัญญาพื้นฐานพัฒนาอาชีพช่วยในการต่อย อดเพื่อการผลิต การตลาด และการบริหาร ตลอด จนการป้ องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
4. 5 การถ่ายทอด โดยการนำภูมิปัญญาที่มา เลือกสรรกลั่นกรองด้วยเหตุและผล รอบคอบและ รอบด้าน เกิดความเข้าใจตระหนักในคุณค่าและ คุณประโยชน์ ในทางที่เหมาะสม 4.6 ส่งเสริมกิจกรรม โดยการส่งเสริมและ สนับสนุนเครือข่ายการสืบสานและพัฒนา ภูมิปัญญาของชุ มชนต่างๆเพื่อจัดกิจกรรมทาง วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง
4.7 เพื่อการเผยแพร่และแลกเปลี่ยน โดยการส่ง เสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ และแลก เปลี่ยนภูมิปัญญา โดยให้มีการเผยแพร่ ภูมิปัญญาด้วยสื่อและวิธีการต่างๆอย่างกว้างขวาง รวมกับประเทศอื่นทั่วโลก 4.8 การเสริมสร้างปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น รายการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของชาวบ้าน
การแสดงนาฏศิลป์ ในโอกาสต่างๆ นาฏศิลป์ เป็ นศิลปะคู่บ้านคู่เมืองที่นำมาแสดง ได้ทุกโอกาสเป็ นงานในหน้าที่ของกรมศิลปากร ที่ต้องจัดการแสดง ในโอกาสสำคัญๆ เช่น 1. งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 2. งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระบรมราชิ นีนาถ 3. การแสดงนาฏศิลป์ และการละครไทยใน งานมงคลทั่วไป 4. การแสดงนาฏศิลป์ และการละคร ในงาน อวมงคล 5. การแสดงนาฏศิลป์ ในงานเทศกาลต่างๆ
หลักในการเลือกชุ ดการแสดงให้เหมาะสม เลือกชุ ดแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดงถ้า เป็ นงานเฉลิมฉลองความสำเร็จ ก็ต้องเลือกชุด การแสดงที่เป็ น การอวยพรมอบความเป็ นสิริ มงคลให้มั่งมีศรีสุข การเลือกชุดตามที่ผู้จัดการต้องการ เช่นรูปแบบ ของการแสดง เครื่องแต่งกาย เพื่อให้เหมาะสม กับงานนั้นๆ เป็ นต้น
การเลือกรูปแบบของการแสดงต้องเป็ นระบบ มี กฎเกณฑ์ถูกต้องตามแบบแผนโดยปฏิบัติ ดังนี้ 1. การแต่งบทร้องให้ได้ใจความเหมาะสม 2. ตีท่าราให้ตรงตามความหมายของบทร้อง 3. ใส่ทานองเพลงให้ถูกต้องและเหมาะสมกับ เน้ือเพลง 4. ปี่พาทย์ทาเพลงรัว ผู้แสดงใช้ลีลาท่ารำและตี บทได้ถูกต้อง 5. ช่วงจบปี่พาทย์ทำเพลงรำ 6. คัดเลือกผู้แสดงที่มีความสามารถมีฝีมือในการ รำ
แนวคิดในการจัดชุ ดการแสดงในวันสำคัญของ โรงเรียน 1. กำหนดการแสดงให้เหมาะสมกับวันสำคัญของ โรงเรียน 2. การนำเสนอรูปแบบของการอนุรักษ์ 3. เวลาในการแสดงแต่ละชุด 4.การกำหนดองค์ ประกอบร่วมของการแสดงให้ ชัดเจน แนวในการจัดชุ ดการแสดงประจำ 1.แนวคิดเกี่ยวกับสัญลักษณ์ ประจำโรงเรียน 2. แนวความคิดเกี่ยงกับชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ 3. แนวคิดเก่ียวกับอาชีพวิถีชีวิตในชุมชนที่ โรงเรียนตั้งอยู่ 4. แนวคิดเกี่ยวกับส่ิงท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นท่ี โรงเรียนตั้งอยู่ 5. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างแรงบันดาลใจ
ระบำ รำ ฟ้อน และการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองของไทย ระบำ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ระบำดังเดิมหรือระบำมาตรฐาน และระบำปรับปรุ งหรือระบำเบ็ดเตล็ด รำ มี3ประเภท คือ รำเดี่ยว รำคู่ รำหมู่ รำเดี่ยว คือใช้ผู้แสดงคนเดียว แสดงถึงความ สามารถของ ผู้รํา เครื่องแต่งกายที่งดงาม รําเดี่ยว มักนิยมใช้เป็ นชุด เบิกโรง ใช้แสดงสลับฉาก หรือใช้แสดงในโอกาสต่างๆ
รำคู่ คือพระรามตามกวาง เป็ นการแสดง ประเภทรำคู่ที่เป็ นชุ ดเป็ นตอน ซึ่ งอยู่ในเรื่อง รามเกียรติตอน ลักสีดา บทพระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 6 รำหมู่ คือการแสดงที่ใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คนขึ้น ไป มุ่งความงามของท่ารำและความพร้อมเพรียง ของผู้แสดง เช่น รำโคม รำพัด รำซัดชาตรี เป็ นต้น ในกรณี ที่นำการแสดงที่ตัดตอนมาจาก การแสดงละคร และการรำนั้นเป็ นการรำของตัว ละครตัวเดียวมาก่อน เมื่อนำมารำเป็ นหมู่ก็ยังคง เรียกว่ารำตามเดิม
ฟ้ อน คือ การแสดงกิริยาเดียวกับระบำหรือการรำ เพียงแต่เรียกให้แตกต่างกันไปตามท้องถิ่น จัด เป็ นการแสดงพื้นเมืองของภาคนั้นๆ แต่ในรูป ของการแสดงแล้วก็คือ ลักษณะการร่ายรำนั่นเอง ที่ผู้แสดงต้องแสดงให้ประณี ตงดงาม โดยสืบทอด มาจากศิลปะของชนชาติต่างๆ ได้แบ่งการฟ้ อน ออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี้ ฟ้ อนที่สืบเนื่องมาจา การนับถือผี ฟ้ อนแบบเมือง ฟ้ อนแบบม่าน ฟ้ อน แบบเงี้ยวหรือแบบไทยใหญ่ ฟ้ อนที่ปรากฏใน บทละคร
1.ฟ้ อนที่สืบเนื่องมาจาการนับถือผี เกี่ยวเนื่องกับ ความเชื่อและพิธีกรรม เป็ น การฟ้ อนเก่าแก่ที่มี มาช้านาน 2.ฟ้ อนแบบเมืองหมายถึง ศิลปะการฟ้ อนที่มี ลีลาแสดงลักษณะเป็ นแบบฉบับของ \"คนเมือง\" หรือ \"ชาวไทยยวน\"
3.ฟ้ อนแบบม่าน เป็ นการผสมผสานกันระหว่าง ศิลปะการฟ้ อนของพม่า กับของไทยลานนา 4.ฟ้ อนแบบเงี้ยวหรือแบบไทยใหญ่ หมายถึง การฟ้ อนตลอดจนการแสดงที่รับอิทธิพล หรือมี ต้นเค้ามาจากศิลปะการแสดงของชาวไทยใหญ่ 5.ฟ้ อนที่ปรากฏในบทละครเป็ นการฟ้ อนที่มีผู้ คิดสร้างสรรค์ขึ้นในการแสดง ละครพันทางซึ่ ง นิยมในสมัยรัชกาลที่5
การแสดงนาฏศิลป์ ไทยพื้นเมือง มี 4 ประเภท คือ การแสดงนาฏศิลป์ ไทยพื้นเมืองภาคเหนือ, การแสดงนาฏศิลป์ ไทยพื้นเมืองภาคกลาง, การแสดงนาฏศิลป์ ไทยพื้นเมืองภาคใต้, การแสดงนาฏศิลป์ ไทยพื้นเมืองภาคอีสาน
การแสดงนาฏศิลป์ ไทยพื้นเมือง เพลงเถิดเทิง กลองยาว ประวัติความเป็ นมา การเล่นเถิดเทิง มีผู้สันนิษฐานว่าเป็ นของพม่า นิยมเล่นกันมาก่อน เมื่อครั้งพม่ามาทำสงคราม กับไทย ในสมัยกรุ งธนบุรีเรียกกันมาแต่เดิมว่า เพลงพม่ากลองยาว ต่อมาได้มีผู้ปรับเป็ นเพลง ระบำ กำหนดให้ผู้รำแต่งตัวใส่เสื้อนุ่งโสร่งตา ศีรษะโพกผ้าสีชมพูมือถือขวานออกมาร่ายรำเข้า กับจังหวะเพลงที่กล่าวนี้ จึงเรียกเพลงนี้กันอีก ชื่อหนึ่งว่า เพลงพม่ารำขวานการเล่นเทิงบ้อง กลองยาวนี้ เพิ่งมีเข้ามาในเมืองไทยเมื่อสมัย รัชกาลที่ 4 เมื่อชาวไทยเราเห็นเป็ นการละเล่นที่ สนุกสนานและเล่นได้ง่าย ก็เลยนิยมเล่นกัน แพร่หลายไปแทบทุกหัวบ้านหัวเมืองสืบมาจน ตราบทุกวันนี้ ทางภาคอีสานเรียกกลองยาวชนิดนี้ว่า กลองหาง กลองยาวของพม่าเรียกว่า โอสิ มีลักษณะ คล้ายคลึงกับของชาวไทย วิธีการเล่นเป็ นแบบเดียวกัน อาจเลียนแบบการ เล่นไปจากกันก็ได้
เมื่อรัฐบาลไทยมอบให้ คณะนาฏศิลป์ ของกรมศิลปากรไป แสดงเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรี ณ นครย่างกุ้งและมัณฑเลย์พม่าได้จัดทีมนำชม โบราณสถานเรื่องกลองยาวได้กล่าวว่าพม่าได้ กลองยาวจากไทยใหญ่อีกต่อหนึ่ง
การแต่งกาย 1 ชายนุ่งกางเกงขายาวครึ่งแข้ง สวมเสื้อคอกลม มีผ้าคาดเอว 2 หญิงนุ่งผ้าซิ่ นมีเชิงยาวค่อมเท้า สวมเสื้อทรง กระบอกคอปิ ด
โอกาสและวิธีการเล่น นิยมเล่นในงานมงคลซึ่ งต้องเดินขบวน ผ้าถึง ลานกว้างก็หยุดตั้งวงเล่นกันก่อนพักหนึ่งแล้ว เคลื่อนต่อ มีแบบแผนลีลาศท่ารำโดยกำหนดให้ มีกรองลำกลอนยืนด้วย
การเล่นเถิดเทิงแบบนี้มีมาตรการตายตัวผู้เล่น ทั้งหมดต้องได้รับการฝึกฝนมาก่อนคนดูจะได้ เห็นความงามและสนุกสนานแม้จะไม่ได้เล่น ด้วย คนตีกลองยืน คนตีกลองรำและผู้หญิงที่รำล่อ พวกตี ประกอบจังหวะจะร้องประกอบเร่งเร้าอารมณ์ ให้ สนุกสนานในขณะที่ตีด้วย การเล่นประเภทนี้ว่าเถิดเทิงคงเรียกกันตามเสียง กลองยาวที่ได้ยินว่าเถิดเทิงหรือเทิงบ้องกลองยาว ตามกันไปเพื่อให้ต่างกับการเล่น
บุ คคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ไทย ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี นามเดิม แผ้ว สุทธิ บูรณ์ เกิดเมื่อ 25 ธันวาคม 2446 - ผลงานเกี่ยวกับการแสดงศิลปะนาฏกรรม เช่น การแสดงโขน และระบำฟ้ อนต่างๆ - เป็ นผู้คัดเลือกการแสดง จัดทำบทและเป็ นผู้ ฝึกสอน ฝึกซ้อม อำนวยการแสดง - เป็ นวิทยากรบรรยายและตอบข้อซักถามใน การอบรมวิชานาฏศิลป์ และวรรณกรรม และเป็ น ที่ปรึกษาในการสร้างนาฏกรรมต่างๆ
ครูรงภักดี (เจียร จารุ จรณ) เกิดเมื่อ 14 สิงหาคม 2442 - เป็ นผู้มีความสามารถในการรำเพลงหน้าพาทย์ องค์พระพิราพ ซึ่ งเป็ นนาฏศิลป์ สูงสุดได้ - พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระ กรุ ณาโปรดเกล้าฯให้นายรงภักดีประกอบพิธี ครอบองค์ พระ - กรมศิลปากรที่ได้รับการคัดเลือกว่าเป็ นผู้ที่มี ฝีมือเยี่ยม นับว่าครูรงภักดีได้เป็ นผู้สืบทอดเพลงหน้าพาทย์ สูงสุดของวิชานาฏศิลป์ ไว้เป็ นมรดกของแผ่นดิน
ครูอาคม สายาคม เกิดเมื่อ 26 ตุลาคม 2406 - ผลงานด้านการแสดง ครูอาคมแสดงเป็ นตัวเอก เช่น พระราม อิเหนา - ผลงานด้านประดิษฐ์ท่ารำ ได้แก่ เพลงหน้า พาทย์ตระนาฏราช - ผลงานด้านวิทยุกระจายเสียง ตั้งคณะสายเมธี แสดงนิยายและบรรเลงในแบบดนตรีสากลและ ดนตรีไทย - ผลงานด้านภาพยนตร์ แสดงเป็ นพระเอก ภาพยนตร์เรื่อง อมตาเทวี เรื่องไซอิ๋ว แสดงเป็ น พระถังซำจั๋งและเป็ นผู้กำกับการแสดง - ผลงานด้านกำกับเวที กำกับการแสดงและการ สอนโขนและละครเรื่องต่างๆ
ครูลมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อ 2 มิถุนายน 2448 - ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็ นตัวเอก เกือบทุกเรื่อง เพราะมีฝีมือเป็ นเยี่ยม บทบาทที่ ท่านเคยแสดง เช่น พระสังข์ - ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ ที่ประดิษฐ์ให้ กรมศิลปากรในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เช่น รำแม่บท ใหญ่ นอกจากนี้ ท่านยังเป็ นผู้ร่างหลักสูตรให้แก่ วิทยาลัยนาฏศิลป ซึ่ งนับว่าท่านเป็ นครูนาฏศิลป์ คนแรกในการวางหลักสูตรการเรียนการสอน นาฏศิลป์ ไทย
ครูเฉลย ศุขะวณิ ช เกิดเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2447 เป็ นผู้เชี่ยวชาญการสอนและออกแบบนาฏศิลป์ ไทย แห่งวิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร ซึ่ งมี ความรู้ความสามารถสูงในกระบวนท่ารำทุก ประเภท ทางราชการได้มอบหมายให้เป็ นผู้วางรากฐานจัด สร้างหลักสูตรการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ ตั้งแต่ระดับต้นจนถึงขั้นปริญญา - ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำและระบำ ระบำ กินนร ระบำโบราณคดี 4 ชุด คือ ระบำทวารวดี ระบำศรีวิชัย ระบำลพบุรี และเชียงแสน
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: