45 บทที่ 5 คณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ __________________________________________________________________
46 แผนการเรยี นรูป้ ระจาํ บท บทท่ี 5 คุณธรรมในการประกอบอาชพี สาระสําคญั ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคตทิ ี่ดี ดา้ นคุณธรรมในการประกอบอาชีพ ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั 1. อธิบายเกีย่ วกบั จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และการฝกึ ตนในการประกอบอาชพี 2. ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมในการประกอบอาชพี 3. ผ้เู รยี นเป็นตวั อยา่ งของชุมชนดา้ นการปฏิบัติตนทถี่ ูกต้อง ขอบขา่ ยเนื้อหา 1. จรยิ ธรรม 2. คณุ ธรรม 3. การฝึกตน กจิ กรรมการเรยี น 1. ศึกษาเอกสารการสอนบทที่ 5 2. ปฏบิ ัติกิจกรรมตามที่ไดร้ บั มอบหมายในเอกสารการสอน 3. ทําแบบฝึกหดั ท้ายบท สอื่ การสอน 1. เอกสารการสอนบทท5ี่ 2. แบบฝึกหดั ท้ายบท 3. ส่ือ CD 4. สือ่ บุคคล 5. พันธข์ุ า้ วชนิดต่าง ๆ ประเมินผล 1. ประเมนิ ผลตนเองจากการทาํ แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 2. ประเมินผลจากการทาํ รายงาน 3. ประเมนิ ผลจากการฝึกปฏบิ ตั ิ 4. ประเมนิ ผลจากการสอบปลายภาคเรียน
47 บทท่ี 5 คุณธรรม จริยธรรม ในการประกอบอาชพี จริยธรรม คือ กฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเกิดข้ึนจากธรรมชาติของมนุษย์เอง ความเป็นผู้มี ปรชี าญาณ (ปญั ญา และ เหตผุ ล) ทําใหม้ นุษย์มมี โนธรรม รู้จักแยกแยะความดี ถกู ผิด ควร ไมค่ วร จรยิ ธรรมมลี ักษณะ 4 ประการ คือ 1. การตัดสินทางจริยธรรม (moral judgment) บุคคลจะมีหลักการของตนเองเพ่ือตัดสินการกระทํา ของผูอ้ ื่น 2. หลักการของจริยธรรมและการตัดสินตกลงใจเป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล ก่อนท่ีจะ ปฏิบัตกิ ารตา่ ง ๆ ลงไป 3. หลกั การทางจรยิ ธรรมเป็นหลกั การสากลท่ีบุคคลใชต้ ดั สินใจในการการะทาํ สง่ิ ตา่ ง ๆ 4. ทศั นะเกีย่ วกับจรยิ ธรรมได้มาจากความคิดของบุคคลหรอื อุดมคตขิ องสงั คมจนเกิดเปน็ ทศั นะในการ ดํารงชวี ติ ของตน และของสงั คมที่ตนอาศัยอยู่ คณุ ธรรม คอื หลกั ความจรงิ หลักการปฏิบตั ิ 1. จริยธรรมมี 2 ความหมาย คอื 1.1. ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขแก่ตนและสังคม ซึ่งมีพ้ืนฐานมาจากหลักศีลธรรมทาง ศาสนา ค่านยิ มทางวฒั นธรรม ประเพณี หลักกฎหมาย จรรยาบรรณวชิ าชพี 1.2. การรู้จักไตร่ตรองวา่ อะไรควร ไม่ควรทํา 2. จรรยา (etiquette) หมายถึงความประพฤติกิริยาที่ควรประพฤติซึ่งสังคมแต่ละสังคม กําหนดขึ้น สอดคล้องกับวัฒนธรรม ในแต่ละวิชาชีพก็อาจกําหนดบุคลิกภาพ กิริยา วาจาที่บุคคลในวิชาชีพพึงประพฤติ ปฏิบัติ เช่น ครู แพทย์ พยาบาล ย่อมเปน็ ผ้ทู ี่พึงสํารวมในกริ ยิ า วาจา ท่าทางทแ่ี สดงออก 3. จรรยาบรรณวิชาชีพ (professional code of ethics) หมายถึง ประมวลความประพฤติท่ีผู้ ประกอบอาชีพ การงาน แต่ละอย่างกําหนดข้ึน เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก ทําใหไ้ ดร้ บั ความเชื่อถอื จากสังคม อาจเขยี นเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรหรือไมก่ ็ได้ทเช่น จรรยาบรรณของแพทย์ก็คือ ประมวลความ ประพฤตทิ ่วี งการแพทยก์ ําหนดขน้ึ เพอื่ เป็นแนวทางสาํ หรับผูเ้ ป็นแพทย์ยึดถือปฏบิ ัติ 4. ศีลธรรม (moral) คําว่า ศีลธรรม ถ้าพิจารณาจากรากศัพท์ภาษาละติน Moralis หมายถึงหลัก ความประพฤติท่ีดีสําหรับบุคคลพึงปฏิบัติ ภาษาไทย ศีลธรรมเป็นศัพท์พระพุทธศาสนา หมายถึงความ ประพฤติที่ดที ีช่ อบหรือธรรมในระดับศีล 5. คุณธรรม (virtue) หมายถึง สภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ เช่น ความเป็นผู้ไม่ กล่าวเท็จโดยหวังประโยชน์ส่วนตน เป็นคุณธรรมประการหน่ึง อาจกล่าวได้ว่าคุณธรรมคือจริยธรรมแต่ละข้อที่ นํามาปฏบิ ตั ิจนเปน็ นสิ ัย เช่น เปน็ คนซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน มคี วามรบั ผิดชอบ ฯลฯ 6. มโนธรรม (conscience) หมายถึงความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ความรู้สึกว่าอะไรควรทําไม่ควรทํา นักจริยศาสตร์ เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีมโนธรรม เน่ืองจากบางขณะเราจะเกิดความรู้สึกขัดแย้งในใจระหว่าง ความรู้สึกต้องการสิ่งหนึ่ง และรู้ว่าควรทําอีกส่ิงหนึ่ง เช่น ต้องหนึ่งการไปดูภาพยนตร์กับเพ่ือน แต่ก็รู้ว่าควรอยู่ เป็นเพอื่ นคุณแม่ ซึง่ ไม่คอ่ ยสบาย 7. มารยาท มรรยาท กิริยาวาจา ท่ีสังคมกําหนดและยอมรับว่าเรียบร้อย เช่น สังคมไทยให้เกียรติ เคารพผู้ใหญ่ผู้น้อยย่อมสํารวมกิริยาเม่ืออยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่ การระมัดระวังคําพูดโดยใช้ให้เหมาะกับบุคคลตาม กาลเทศะ
48 ทฤษฎตี ้นไมจ้ รยิ ธรรมสาํ หรับคนไทย เป็นทฤษฎที างจติ วทิ ยาทฤษฎแี รกของนกั ศึกษาไทยท่ีสร้างข้ึน บคุ คลผรู้ วบรวมเขยี นเปน็ ทฤษฎี คือ ศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดอื น พันธมุ นาวนิ กรอบแนวคิดที่เป็นจดุ เดน่ ของทฤษฎีนี้มีความว่า ลักษณะพ้ืนฐานและ องค์ประกอบทางจิตใจซึ่งจะนําไปสู่พฤติกรรมท่ีพึงปรารถนา เพ่ือส่งเสริมให้บุคคลเป็นคนดีและ คนเก่ง ซึ่งไดท้ าํ การศกึ ษาวิจัยถึงสาเหตุพฤติกรรมของคนดีและคนเก่ง โดยได้ทําการประมวลผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษา สาเหตุของพฤติกรรมต่าง ๆ คนไทยทั้งเด็กและผู้ใหญ่ อายุตั้งแต่ 6-60 ปี ว่าพฤติกรรมเหล่าน้ันมี สาเหตุทางจิตใจอะไรบ้าง และได้นํามาประยุกต์เป็นทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสําหรับคนไทย โดยแบ่งต้นไม้ จรยิ ธรรม ออกเปน็ 3 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่หนึ่ง ได้แก่ ดอกและผลไม้บนต้น ท่ีแสดงถึงพฤติกรรมการทําดีละเว้นชั่วและพฤตทํางานอย่าง ขยนั ขันแขง็ เพ่ือส่วนรวม ซ่ึงลว้ นแตเ่ ปน็ พฤตกิ รรมของพลเมอื งดี พฤตกิ รรมทเ่ี อือ้ เฟอ้ื ตอ่ การพัฒนา ประเทศ ส่วนทสี่ อง ได้แก่ สวนลําต้นของตน้ ไม้ แสดงถึงพฤติกรรมการทํางานอาชพี อย่างขยันขนั แข็ง ซง่ึ ประกอบด้วยจติ ลกั ษณะ 5 ด้าน คอื 2.1 เหตผุ ลเชิงจรยิ ธรรม 2.2 มงุ่ อนาคตและการควบคุมตนเอง 2.3 ความเชือ่ อํานาจในตน 2.4 แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธ์ิ 2.5 ทศั นคติ คณุ ธรรมและค่านิยม ส่วนท่ีสาม ได้แก่ รากของต้นไม้ ที่แสดงถึงพฤติกรรมการทํางานอาชีพอย่างขยันขันแข็งซึ่ง ประกอบดว้ ยจิตลกั ษณะ 3 ดา้ น คือ 3.1 สติปัญญา 3.2 ประสบการณท์ างสงั คม 3.3 สขุ ภาพจติ จิตลักษณะทั้งสามน้ีอาจใช้เป็นสาเหตุของการพัฒนาจิตลักษณะ 5 ประการที่ลําต้นของต้นไม้ก็ได้ กล่าวคอื บคุ คลจะตอ้ งมลี กั ษณะพืน้ ฐานทางจิตใจ 3 ด้านในปริมาณที่สูงพอเหมาะกับอายุ จึงจะเป็นผู้ที่มีความ พร้อมที่จะพัฒนาจิตลักษณะ 5 ประการที่ลําต้นของต้นไม้ โดยที่จิตลักษณะทั้ง 5 นี้จะพัฒนาไปเอง โดย อตั โนมตั ถิ า้ บคุ คลทม่ี ีความพร้อมทางจติ ใจ 3 ด้านดงั กล่าวและอยู่ในสภาพแวดล้อมทางบ้าน ทางโรงเรียนและ สังคมท่ีเหมาะสม นอกจากน้ันบุคคลยังมีความพร้อมที่จะรับการพัฒนาจิตลักษณะบางประการ 5 ด้านนี้ โดย วิธีการอื่น ๆ ด้วยฉะนั้นจิตลักษณะพื้นฐาน 3 ประการ จึงเป็นสาเหตุของพฤติกรรมของคนดีและของคนเก่ง นั่นเอง นอกจากนจี้ ติ ลักษณะพื้นฐาน 3 ประการท่ีรากนี้อาจเป็นสาเหตุรว่ มกบั จิตลกั ษณะ 5 ประการทล่ี าํ ตน้ ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมน้ี เกิดจากผลการวิจัยพฤติกรรมและจิตลักษณะของคนไทย โดยเม่ือสร้างขึ้น แล้วทฤษฎีน้ีก็ได้ช้ีแนวทางการตั้งสมมติฐานการวิจัยเพื่อหาหลักฐานใหม่ๆมาเพื่อเติมในทฤษฎีน้ีอีกเช่นการ วิจัยท่ีเกี่ยวกับจิตลักษณะพ้ืนฐาน 3 ประการที่สามารถจําแนกคนเป็น 4 ประเภท เหมือนบัวส่ีเหล่า กับ ความสามารถในการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมของบุคคล โดยพบว่าคนที่เป็นบัวเหนือนํ้าเท่านั้น (มีจิตลักษณะ พื้นฐาน 3 ด้านนี้ในปริมาณสูงเหมาะสมกับอายุ) เป็นผู้ท่ีจะสามารถรับการพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมได้อย่าง เหมาะสมกบั อายุตามทฤษฎขี อง Kohlberg การสอน “คุณธรรม/จริยธรรม” เป็นความต้องการท่ีคนรุ่นหนึ่งจะช้ีนําคนอีกรุ่นหน่ึง โดยผู้สอนมี ความเชื่อว่าประสบการณ์ของตนอาจสร้างความเข้าใจเรื่อง คุณธรรม/จริยธรรม (หรือความดี ความถูกต้อง ความเหมาะสม) อย่างถ่องแท้ในระดับหน่ึง และต้องการให้ เยาวชนเชื่อ ดีและเหมาะสมกับเยาวชนการยึด หลักคุณธรรม/จริยธรรม ทําให้มนุษย์มีความสุข ความสวย และความงาม โดยที่ความสุขน้ันควรเป็นความสุข แบบเรยี บง่ายและย่ังยนื
49 คณุ สมบัติอันเปน็ ความพรอ้ มทจี่ ะพัฒนาจรยิ ธรรมของบคุ คล ประกอบดว้ ย 1. ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของชีวิตและหลักจริยธรรม ทุกคนได้มีโอกาสเรียนรู้มาตั้งแต่วัยต้นของ ชีวิตจากการเล้ียงดู การศกึ ษาอบรม และจากประสบการณใ์ นการปฏิบัติงาน โดยอาจเปน็ ในวถิ ีทางทต่ี ่างกัน ซึ่ง เปน็ ผลให้บุคคลมีพฒั นาการทางจริยธรรมตา่ งกัน จากกฎเกณฑ์การตัดสนิ ท่ีตา่ งกนั 2. ความใฝ่ธรรม มนุษย์มีธรรมชาติของการแสวงหาความถูกต้องเป็นธรรมหรือความดีงามต้ังแต่วัย ทารก คุณสมบัตนิ ีท้ าํ ให้บุคคลนยิ มคนดี ชอบสังคมท่มี คี ณุ ธรรมจริยธรรม ตอ้ งการทีจ่ ะพฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ คนดี อย่างไรก็ตามประสบการณ์ในชีวิตจากการเลี้ยงดูและเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมคุณธรรม เป็น ปัจจัยสําคัญให้บคุ คลพรอ้ มทจี่ ะพัฒนาตนเองให้มีจริยธรรมสงู กวา่ 3. ความรู้จกั ตนเองของบคุ คลนน้ั ความร้จู กั ตนเองของบุคคล คือ สร้างความสามารถในการพิจารณาให้รู้อทิ ธพิ ลของความดแี ละ ความไม่ดีของตนให้ชัดเจน ซ่ึงจะช่วยให้บุคคลสามารถเสริมสร้างความดีของตนให้มีพลังเข็มแข็ง ในลักษณะที่ ตนเองและสังคมยอมรับได้ ความรู้จักตนเองน้ีจะทําให้บุคคลมีความม่ันใจ มีพลังและพร้อมที่จะขจัดความไม่ดี ของตนและพฒั นาตนเองอยา่ งถูกตอ้ งดีข้ึน วถิ ีทางพฒั นาจรยิ ธรรม 1. การศึกษาเรียนรู้ กระทําไดห้ ลายวิธี ดังน้ี 1.1 การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการหาความรู้ จากการอ่านหนังสือเก่ียวกับปรัชญาศาสนา วรรณคดีท่มี คี ณุ ค่า หนังสอื เกย่ี วกบั จริยธรรมทว่ั ไปและ จริยธรรมวิชาชีพ 1.2 การเข้ารว่ มประชมุ สมั มนา เพื่อแลกเปลี่ยนความร้คู วามคดิ เห็นและประสบการณ์เกย่ี วกับ คณุ ธรรมจริยธรรม และการคบหาบณั ฑิตผูใ้ สใ่ จด้าน จริยธรรม 1.3 การเรยี นรู้จากประสบการณช์ ีวิตและจากประสบการณ์ในสถานทีป่ ฏิบัตงิ าน ประสบการณจ์ ริงเป็นโอกาสอนั ประเสริฐในการเรียนรู้จริยธรรมแห่งชีวิต ที่ช่วยให้ผู้เรียนรู้ได้อย่างลึกซึ้งทั้งด้าน เจตคตแิ ละทกั ษะการแกป้ ญั หาเชงิ จรยิ ธรรม อย่างไรกต็ ามขึ้นอยู่กบั ความพร้อมของบุคคล ผมู้ คี วามพร้อมนอ้ ยอาจจะไม่ได้ประโยชนจ์ ากการเรยี นร้อู นั มีคา่ นี้เลย 2. การวิเคราะห์ตนเองบุคคลผู้มีความพร้อมจะพัฒนามีความต้ังใจและเห็นความสําคัญของการ วิเคราะห์ตนเองเพื่อทําความรู้จักในตัวตนเองด้วยการพิจารณาเก่ียวกับความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมการ แสดงออกของตนเอง จะช่วยให้บุคคลตระหนักรู้คุณลักษณะของตนเอง รู้จุดดีจุดด้อยของตน รู้ว่าควรคง ลักษณะใดไว้ การวเิ คราะหต์ นเอง กระทาํ ไดด้ ้วยหลักการต่อไปนี้ 2.1 การรับฟังความคิดเห็นเชิงวิพากษ์จากคําพูดและอากัปกิริยาจากบุคคลรอบข้าง เช่น จาก ผ้บู งั คับบญั ชา จากเพือ่ นรว่ มงาน จากผูใ้ กลช้ ดิ หรอื บคุ คลในครอบครวั 2.2 วิเคราะหต์ นเองเกี่ยวกบั ความคดิ ความต้องการเจตคตกิ ารกระทาํ และผลการกระทํา ทั้งใน อดตี และปจั จุบนั 2.3 ค้นหาความรู้จากแหล่งความรู้ๆ เช่น จากตํารา บทความ รายงานการวิจัยด้านพฤติกรรม ศาสตรห์ รอื ศาสตรอ์ ่ืน ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งเพอื่ นาํ มาประยุกต์ใชใ้ นการวิเคราะหแ์ ละพัฒนาตนอย่างถ่องแท้ 2.4 เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาจิตใจ (จิตใจและพฤติกรรมมนุษย์เป็นสิ่งท่ีเปลี่ยนแปลงและพัฒนา ได้ เช่นเดียวกับสรรพส่ิงท้ังหลายในโลก)ทําให้จิตใจได้เกิดการเปลี่ยนแปลงเกิดปัญญารับรู้ตนเองอย่างลึกซึ้ง และแท้จริง 3. การฝึกตน เป็นวิธีการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมด้วยตนเองขั้นสูงสุดเพราะเป็นการพัฒนา ความสามารถของบุคคลในการ ควบคุมการประพฤติปฏิบัติของตนให้อยู่ในกรอบของพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนา ของสงั คม ทง้ั ในสภาพการณป์ กตแิ ละเมื่อเผชญิ ปัญหาหรอื ขัดแยง้
50 การฝึกตนเป็นวิธีการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมด้วยตนเองขั้นสูงสุดเพราะเป็นการพัฒนา ความสามารถของ บุคคลในการควบคุมการประพฤติปฏิบัติของตนให้อยู่ในกรอบของพฤติกรรมท้ังที่พึง ปรารถนาของสังคม ท้ังในสภาพการณ์ปกตแิ ละเม่ือเผชิญปญั หาหรือขัดแย้ง 3.1 การฝึกวินัยข้ันพืน้ ฐาน เชน่ ความขยันหม่ันเพยี รการพ่ึงตนเอง ความตรงตอ่ เวลา ความรับ ผิดชอบ การรูจ้ กั ประหยัดและออม ความซือ่ สัตย์ ความมี สมั มาคารวะ ความรักชาติฯ 3.2 การรักษาศีลตามความเชื่อในศาสนาของตน ศีลเป็นตัวกําหนดที่จะทําให้งดเว้นในการท่ีจะ กระทาํ ชวั่ รา้ ยใด ๆ อยู่ในจิตใจ สง่ ผลใหบ้ ุคคลมพี ลังจิตที่เขม้ แข็งรเู้ ท่าทนั ความคิดสามารถควบคุมตนได้ 3.3 การทําสมาธิ เป็นการฝึกให้เกิดการตั้งมั่นของจิตใจทําให้เกิดภาวะมีอารมณ์หน่ึงเดียวของจิต กศุ ลเป็นจิตใจที่สงบผ่องใสบริสทุ ธเิ์ ป็นจิตท่ีเข้มแขง็ ม่ันคงแนว่ แน่ทําใหเ้ กดิ ปัญญาสามารถพิจารณาเห็นทุกอย่าง ตรงตามสภาพความเปน็ จรงิ 3.4 ฝึกการเป็นผู้ให้ เช่น การรู้จักให้อภัย รู้จักแบ่งปันความรู้ ความดีความชอบ บริจาคเพ่ือ สาธารณะประโยชน์ อทุ ศิ แรงกายแรงใจช่วยงานสาธารณะประโยชน์โดยไมห่ วงั ผลตอบแทนใด ๆ สรุปได้ว่า การพัฒนาจริยธรรมด้วยวิธีพัฒนาตนเองตามขั้นตอนดังกล่าว เป็นธรรมภาระทบี่ ุคคล สามารถปฏิบัติได้ควบคู่กับการดําเนินชีวิตประจําวันแต่มิใช่เป็นการกระทําในลักษณะเสร็จส้ินต้องกระทําอย่าง ต่อเน่ืองจน เป็นนิสัย เพราะจิตใจของมนุษย์เปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลา เฉกเช่น กระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา
51 กจิ กรรมทา้ ยบท บทท่ี 5 คณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชพี 1. จรยิ ธรรม 4 ประการ มลี กั ษณะอยา่ งไรบา้ ง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. จริยธรรม มี 2 ความหมาย ให้อธบิ าย 1. ความประพฤติดี ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. การรจู้ ักไตรต่ รอง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. จรรยา หมายถงึ อะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
52 4. จรรยาบรรณวิชาชพี หมายถึงอะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. ศลี ธรรม หมายถึงอะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 6. คุณธรรม หมายถึงอะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 7. มโนธรรม หมายถงึ อะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 8. มารยาท กริยาวาจา หมายถงึ อะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 9. ท่านคดิ วา่ ทา่ นเป็นคนดหี รอื ไม่ อย่างไร อธบิ าย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
53 บทที่ 6 ปญั หา อุปสรรค ในการประกอบอาชีพ __________________________________________________
54 แผนการเรยี นร้ปู ระจําบท บทท่ี 6 ปัญหา อุปสรรค ในการประกอบอาชพี สาระสําคญั ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ถึงปญั หาและอปุ สรรคในการประกอบอาชีพการทาํ นา ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวัง 1. อธิบายถงึ ปัญหา อุปสรรคในการประกอบอาชีพทาํ นาข้าวไดถ้ ูกตอ้ ง 2. วิเคราะห์ถงึ สภาพปญั หาและอปุ สรรคในการประกอบอาชีพทํานาข้าวได้ 3. ผเู้ รียนมีแนวทางการแก้ปัญหา ในการประกอบอาชพี ของตนเองได้ ขอบขา่ ยเน้ือหา 1. ปญั หาดา้ นกระบวนการผลติ 2. ปัญหาดา้ นการตลาด กิจกรรมการเรยี น 1. ศึกษาเอกสารการสอนบทท่ี 6 2. ปฏิบัติกจิ กรรมตามที่ได้รับมอบหมายในเอกสารการสอน 3. ทาํ แบบฝกึ หัดทา้ ยบท สื่อการสอน 1. เอกสารการสอนบทท6ี่ 2. แบบฝึกหดั ท้ายบท 3. สอ่ื CD ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองจากการทําแบบฝึกหัดท้ายบท 2. ประเมินผลจากการทาํ รายงาน 3. ประเมนิ ผลจากการฝึกปฏิบตั ิ 4. ประเมนิ ผลจากการสอบปลายภาคเรียน
55 บทท่ี 6 ปัญหาและอุปสรรคในการประกอบอาชีพทํานา 1. การผลติ 1) ผลผลิตข้าวมีคุณภาพตํ่า เนื่องจากเกษตรกรนําพันธ์ุข้าวอายุสั้น(75วัน)มาปลูกเมื่อสีแปรสภาพข้าว แลว้ ไมไ่ ด้มาตรฐานขา้ ว 5 % รวมท้ังผลผลติ บางส่วนได้รบั ความเสยี หายจากภยั หนาวเป็นระยะเวลานาน 2) เกษตรกรประสบปญั หาการขาดแคลนเมลด็ พนั ธ์ขุ ้าวและแรงงานในการทํานา ต้นทุนในการผลิตสูง เนอื่ งจากมีการใชป้ ุย๋ ยา่ ฆ่าแมลง และเครื่องจกั รในการผลติ รวมท้ังมศี ัตรูพชื และโรคพืชรบกวน 3) พ้ืนท่ีปลูกข้าวในบางส่วนได้เปล่ียนไปปลูกพืชพลังงานทดแทน เช่น เนื่องจากมีราคาสูงและภาครัฐ ใหก้ ารสง่ เสรมิ 2. การตลาด 1) การส่งออกข้าวหอมมะลิของไทยมีแนวโน้มลดลงเน่ืองจากประเทศจีนและเวียดนามได้พัฒนาพันธุ์ ข้าวหอม ซึ่งคุณสมบัติใกล้เคียงกับข้าวหอมมะลิไทยประกอบกับช่วงเก็บเกี่ยวมีมรสุมทําให้คุณภาพลดลง และ ราคารับจํานาํ สูงไมเ่ ปน็ ไปตามกลไกลของตลาด 2) การลดภาษี 0% ในปี พ.ศ. 2553 อาจทําให้มีข้าวเปลือกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาในประเทศ (ข้าว ไทยมรี าคาสงู ) และส่งผลใหร้ าคาขา้ วตกต่ํา 3) การปลอมปนขา้ วสารจะสง่ ผลต่อเน่ืองทง้ั ระบบการผลิต - การตลาด 3. ผลการดาํ เนนิ การตามโครงการรบั จาํ นาํ ข้าว มดี ังนี้ 1) ข้อมูลการเพาะปลกู และผลผลิตไม่ตรงตามความเป็นจริงเป็นเหตุให้การนําข้อมูลดังกล่าวไปใช้เกิด ความคลาดเคล่ือน และเกษตรกรนิยมปลูกข้าวพันธ์ุที่สามารถจํานําได้แทนปลูกข้าวตลอดจนการข้าวพันธ์ุ พื้นเมือง ตลอดจนการกาํ หนดราคารับจํานาํ สงู ทาํ ให้ผสู้ ่งออกขา้ วไม่สามารถส่งออกได้ 2) การกําหนดราคารับจํานําข้าวเปลือกปทุมธานีตามจํานวนต้นข้าวในทางปฏิบัติทําได้ยาก เนื่องจาก ข้าวปทุมธานีเป็นข้าวท่ีมีความชื้นสูง(ประมาณร้อยละ28ขึ้นไป)จึงต้องนําข้าวเปลือกของเกษตรกรท่ีนํามาจํานํา ทุกรายไปตากเพื่อลดความช้ืนแล้วจึงนํามาสี เพ่ือตรวจสอบจํานวนต้นข้าวโดยต้องใช้เวลานานมากราย 2 - 3 ชัว่ โมง 3) การเปดิ จดุ รบั จาํ นําในภาคอสี าน อาจทําให้เกดิ การปลอมปนระหว่างขา้ วหอมมะลขิ องภาคอีสาน กับข้าวหอมจงั หวดั และ/หรอื ขา้ วหอมปทุมธานีได้ 4) เจา้ หน้าที่ประจาํ จดุ รับจํานํา ซงึ่ เป็นตวั แทนภาคราชการมกั ไม่ค่อยอยู่ เนอื่ งจากมีภารกจิ มาก 5) กรณีโรงสีเลือกจัดทาํ หนังสอื คาํ้ ประกันธนาคารให้ไว้กับ อคส./อ.ต.ก.ร้อยละ20 ของมูลค่าข้าวที่รับ จํานํา โรงสีอาจใช้เป็นช่องทางในการนําข้าวเปลือกของโครงการฯ ไปหมุนเวียนเป็นข้าวเปลือกตามการค้า ปกติของโรงสีได้
56 ข้อเสนอแนะ 1. การผลติ 1) กระทรวงเกษตรกรและสหกรณ์ควรประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรได้ทราบ (1) ผลเสียของการนํา พันธ์ุ ข้าวอายุสั้นมาปลูก (2) ควรลดพ้ืนที่ปลูกข้าว (หากดินไม่เหมาะกับการเพาะปลูก) โดยหันไปปลูกพ้ืนอื่นที อายุสั้น ทดแทนเพื่อจะได้มีเงินทุนหมุนเวียน (3) รณรงค์ให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพให้มากข้ึน ต้นทุนการผลิต และ (4) ควรตากข้าวเปลือกให้แห้งเพื่อนําไปจํานํายุ้งฉาง กับ ธ.ก.ส.เน่ืองจากได้ราคาสูงกว่า กว่าการจาํ นาํ ใบประทวน (ประมาณตันละ 1,000 - 1,600 บาท) 2) จังหวัดที่เปน็ แหลง่ ปลูกข้าวหอมมะลิ ควรมีการต้ังศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวให้ครบทุกอําเภอ (ป้องกัน การ ปลอมปน) และงบช่วยเหลือเกษตรกรในการไถกลบตอซังข้าวเพ่ือรักษาสภาพดินให้มีค่าอินทรียวัตถุอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน 3) ควรกําหนดราคาช่วงต่างระหว่างขา้ วเปลือกหอมมะลิ กับข้าวเปลือกหอมจังหวัดให้สอดคล้อง กบั การซือ้ ขายจริงในตลาด เพ่ือแกไ้ ขปัญหาและสง่ เสรมิ ความเปน็ ธรรมทางดา้ นราคา 2. การตลาด 1) รัฐบาลควรเร่งระบายข้าวออกจากสต๊อกของ อคส. ในรูปรัฐต่อรัฐหรือ (G to G) แลว้ กระจาย โควตาใหก้ ับผู้สง่ ออกให้ท่ัวถงึ และเป็นธรรม 2) กําหนดกลยุทธศาสตร์ข้าวของภาคใต้เพื่อพัฒนาไปสู่การส่งออกต้องมีการจัดแบบครบวงจรท้ัง ใน ดา้ นการผลิต การแปรรปู และการจําหน่าย ดงั น้ี (1) ด้านการผลติ ภาครัฐควรสนับสนุนเมลด็ พันธุท์ มี่ คี ุณภาพ และสายพันธุท์ ี่ตรงกบั ความต้องการของตลาดพรอ้ มทัง้ จดั ระบบชลประทานใหเ้ หมาะสม (2) การแปรรปู ควรมกี ารพัฒนาโรงสใี นพืน้ ท่ใี ห้เปน็ โรงสีท่ีครบวงจรมีเครื่องจักรที่ทันสมัย มี การพฒั นาบรรจุภัณฑใ์ หม้ ีรูปแบบท่ีทนั สมยั 3) ควรส่งเสริมและพัฒนาความรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ จัดหาเครื่องจักรท่ีใช้ในการผลิต เช่น รถไถ รถเก่ียวข้าวให้กลุ่มเกษตรกรหรือสถาบันการเกษตร โดยให้ช่วยกันดูแลรักษาถือเป็นทรัพย์สินของส่วนรวมเพ่ือ ตน้ ทนุ การผลิต 3. โครงการรับจํานาํ ข้าว 1) หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรดําเนินการดังน้ี (1) ประชาสัมพันธ์และประชุมชี้แจงเพ่ือสร้างความ เข้าใจกับเกษตรกรในการนําข้าวเปลือกไปจํานํา เพ่ือไม่ให้มีการชุมนุมเรียกร้อง (2) ควรมีการทบทวน แบบฟอร์มให้ละเอยี ดและครอบคลมุ ในสว่ นทีเ่ ป็นสาระสาํ คัญ 2) ตวั แทนข้าราชการประจาํ จุดควรพิจารณาหนว่ ยงานทมี่ ใิ ชเ้ จา้ หนา้ ทีส่ ํานักงานเกษตรอาํ เภอ เนอ่ื งจาก มภี ารกิจมาก 3) การกําหนดราคารับจํานําไม่ควรกําหนดให้ราคาสูง และเปิดรับจํานําในช่วงท่ีมีการผลผลิต ปริมาณมาก และราคาตกต่ําเทา่ นน้ั 4) เมล็ดพันธุ์ข้าวท่ีผลิตโดยศูนย์ผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวมีไม่เพียงพอในการจําหน่ายให้กับเกษตรกร ส่งผลให้เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองในขณะท่ีบางส่วนไม่มีความรู้ในการเก็บรักษาพันธุ์ข้าวให้มีคุณภาพ ส่งผลให้ได้ผลผลิตต่อไร่ตํ่า ตลอดจนเกษตรกรไม่มีการปรับปรุงดินที่เสื่อมสภาพจากการที่ใช้สารเคมีมาเป็น เวลานาน 5) การใช้รถเกี่ยวข้าวส่งผลให้มีส่ิงเจือปนอื่น เช่น ฟางและต้นหญ้าติดมากับผลผลิต ที่ทําให้ข้าวไม่ มีคณุ ภาพและมคี วามช้นื สูง เม่อื นําไปขายจะถกู โรงสหี กั นํา้ หนัก 10 กก. ตอ่ ขา้ วเปลอื ก 100 กก.
57 ข้อเสนอแนะ 1. การผลิต 1) หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวจากแหล่งที่เช่ือถือได้ หรือเก็บรักษาพันธ์ุข้าวของตนเองให้ดี เพื่อไดผ้ ลผลิตต่อไร่สูงและมีคุณภาพ ตลอดจนควรแนะนําการใช้ปุ๋ย อินทรยี ์ เพือ่ ลดตน้ ทุนการผลิต ซง่ึ จะเป็นผลดีตอ่ สภาพดนิ ในระยะยาว 2) เกษตรกรควรให้ความสนใจต่อข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับเร่ืองข้าว ข้าวโพด ถ่ัวเหลือง เพื่อ ตัดวงจรชวี ติ ของแมลงศัตรพู ชื ในนาขา้ วและช่วยปรบั ปรุงดินให้ธาตอุ าหารดีขน้ึ 3) ควรส่งเสริมให้เกษตรกรเก็บเก่ียวผลผลิตข้าวเปลือกตามกําหนดเวลา เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มี คณุ ภาพ และส่งผลใหข้ ายข้าวเปลอื กไดร้ าคาเพมิ่ ขน้ึ 4) เกษตรกรควรปลูกข้าวตามความต้องการของตลาด เช่น พันธุ์ชัยนาท1 หรือสุพรรณบุรี เน่อื งจาก ตลาดตอ้ งการขา้ วทีม่ ีเมล็ดยาว สวยและคุณภาพดี 2. การตลาด 1) ปัจจุบันผู้บริโภคหันมาใส่ใจต่อสุขภาพมากขึ้น ดังนั้นการผลิตข้าวอินทรีย์จึงเป็นอีกทางเลือก หน่ึงใหเ้ กษตรกร และยงั ช่วยลดต้นทุนการผลิตและจําหน่ายได้ราคาสูง 2) ราคาข้าวเปลือกสูงขึน้ เกษตรกรต้องระมัดระวงั การถกู เอารดั เอาเปรียบจากผปู้ ระกอบการ ด้าน การชัง่ น้ําหนักและการวดั ความชนื้ รวมถึงต้องระมดั ระวังการถกู ขโมยขา้ วในนา
58 กจิ กรรมทา้ ยบท บทท่ี 6 ปัญหาและอปุ สรรคในการประกอบอาชีพทํานา 1. การผลติ หมายถึงอะไร อธิบาย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. การตลาด หมายถึงอะไรบ้าง อธบิ าย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. การทํานา เราตอ้ งมปี จั จยั อะไรบา้ ง ถึงจะประสบผลสาํ เร็จ ใหอ้ ธบิ าย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. ในการประกอบอาชีพทํานา ปญั หาทเี่ กิดเร้ือรงั มากคอื ปัญหาอะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. ทา่ นคดิ วา่ อาชีพทาํ นา ถา้ ได้ความสนใจจากรฐั บาลจรงิ ๆ จะแกป้ ญั หาทา่ นคิดว่ามแี นวคิด อยา่ งไร ให้อธิบาย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
59 บรรณานุกรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. หลกั สตู รบูรณาการเกษตรกรเข้มแขง็ ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา. (เอกสารอัดสําเนา). 2548. การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. ข้าววถิ ชี วี ิตแห่งความพอเพยี ง. (เอกสารอดั สาํ เนา). 2555. การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. หลักสูตรปรับปรงุ พนั ธข์ุ า้ วแบบบรู ณาการและแผนการจัด กระบวนการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ. (เอกสารอัดสาํ เนา). 2555. นริ มล ศตวุฒิ. การพฒั นาหลักสตู ร. กรงุ เทพฯ:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคําแหง. 2543. ชมชวน บญุ ระหงษ.์ คู่มอื การพัฒนาการเรยี นรูโ้ ดยการทาํ นาโครงงาน. สถาบันชมุ ชนเกษตรกรรมยงั่ ยืน.
60 คณะผู้จัดทํา ท่ปี รึกษา อรณุ สิทธิ์ ผู้อํานวยการ กศน.อาํ เภอสันทราย ดวงคํา ครูชํานาญการ นายจารเุ ศรษฐ์ คาํ ปนั ครูชาํ นาญการ นางยุพดี นายมนตรี ทิพนี ครอู าสาสมคั รฯ ธาตอุ ินจนั ทร์ ครูอาสาสมคั รฯ คณะทาํ งาน มณจี ักร ครู กศน.ตําบลป่าไผ่ กาญจนวงศ์ ครู กศน.ตาํ บลสันนาเมง็ นางสาวอารีย์ ศลิ ปะเสรฐิ ครู กศน.ตําบลหนองแหย่ง นางอนงค์เพ็ญ สุวรรณ ครู กศน.ตาํ บลสนั ทรายน้อย นางสุธิษา ไพยารมณ์ ครู กศน.ตําบลสันพระเนตร นางอัญชลี มลิ ินทจินดา ครู กศน.ตําบลเมอื งเลน็ นางพัชรศ์ วิ า มูลรนิ ทร์ เจ้าหนา้ ที่นโยบายและแผน นางรจนา ทาคาํ เจ้าหนา้ ทบ่ี ริการสอื่ นางสาวปยิ ะพร นางสาวมณจนั ทร์ อินหนองฉาง ครูอาสาสมคั รฯ นางสาวพชั รนิ ทร์ อําพนั ธ์สี ครู กศน.ตาํ บลหนองจ๊อม นางนิตยา มูลแดง ครู กศน.ตําบลแมแ่ ฝกใหม่ ธงภักดี ครู กศน.ตาํ บลหนองหาร คณะผู้จดั ทาํ หงษท์ อง ครู กศน.ตําบลสันทรายหลวง คณุ ยศยงิ่ ครู กศน.ตาํ บลสนั ป่าเปา นางสาวสวุ ิชา คงอนิ ทร์ ครู กศน.ตําบลแม่แฝก นางสาวพชั วรรณ นางศิรนิ ธร อนิ หนองฉาง ครอู าสาสมคั รฯ นางสาวศริ ินภา หงษ์ทอง ครู กศน.ตําบลสนั ทรายหลวง นางสาวกาญจนาวดี คุณยศย่งิ ครู กศน.ตําบลสนั ป่าเปา นายภทั รดร นายกิตติกร หงษ์ทอง ครู กศน.ตําบลสันทรายหลวง บรรณาธิการ นางสาวสุวิชา นางสาวกาญจนาวดี นายภัทรดร ผูอ้ อกแบบปก นางสาวกาญจนาวดี
61 ที่ปรึกษา คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรุงแก้ไข นายศุภกร ศรีศกั ดา ผอู้ ํานวยการสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่ นางมีนา กิติชานนท์ รองผูอ้ ํานวยการสํานักงาน กศน.จงั หวดั เชยี งใหม่ คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรงุ แก้ไข นางสาวมนทกิ า ปูอนิ ต๊ะ ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอแม่อาย ประธานกรรมการ นางนชุ ลี นางยพุ ดี สทุ ธานนท์กลุ ครูชํานาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอสันป่าตอง กรรมการ นางพรวไิ ล นายสมัย ดวงคาํ ครูชาํ นาญการ กศน.อําเภอสันทราย กรรมการ นายทวชิ นายสมชาย สาระจนั ทร์ ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอเมืองเชียงใหม่ กรรมการ นางธเนตรศรี นางประกายมาศ รกั ร่วม ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอแม่ออน กรรมการ นายทนง นายจักรกฤษณ์ กนั ธะคาํ ครู คศ.1 กศน.อําเภอแมอ่ าย กรรมการ นางสาวดาริกา นายศภุ ฤกษ์ วงศ์เขียว ครอู าสาสมัครฯ กศน.อําเภอดอยสะเกด็ กรรมการ นายธนภูมิ นายดนุพงษ์ บุญหมนื่ ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอสารภี กรรมการ นางศาธิมา เขมกิ าอัมพร ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอสารภี กรรมการ อินทรัตน์ ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอสันกาํ แพง กรรมการ ปีกา่ํ ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอแม่แตง กรรมการ ชยั แก่น ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอสันปา่ ตอง กรรมการ ศิริธนาสรรค์ ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอสันปา่ ตอง กรรมการ ชมภรู ัตน์ ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอสันปา่ ตอง กรรมการ บรู ณะพิมพ์ ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอหางดง กรรมการ ศรีนา นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน สํานกั งาน กศน.จงั หวัดเชียงใหม่ กรรมการและเลขานกุ าร
Search