Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง

รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง

Published by macnattanon32, 2021-07-21 07:22:28

Description: รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง

Search

Read the Text Version

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 43 แนวทางการพฒั นา ๑) พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ ที่โรงเรียนกำหนดในแตร่ ะดับชน้ั ๒) พัฒนาใหน้ กั เรยี นมีความมัน่ ใจในการสื่อสารแลกเปล่ยี นเรียนรู้ สร้างองคค์ วามรู้ สู่กระบวนการ แก้ปัญหา และนำมาใชใ้ นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ๓) พฒั นาผเู้ รยี นมกี ารใช้ทกั ษะในการคดิ การตัดสินใจ การสง่ เสริมปญั ญาภายใน 4) ส่งเสรมิ การพฒั นาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ ๔) พัฒนาใหน้ กั เรียนมคี วามก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ ๕) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมแนะแนวเพ่ือการศึกษาต่อและการประกอบอาชพี อย่างเข้มแขง็ ต่อเนื่อง และเปน็ รูปธรรม ๖) มกี ารพฒั นาระบบการบริหารงานแบบมสี ว่ นรว่ มและหลักการกระจายอำนาจ เปน็ ตวั ขับเคลอื่ น ในการบริหารงานวิชาการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม รวมถงึ การบรหิ ารจัดการ งบประมาณ ๗) กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รท่ีเนน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้าน 8) กิจกรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 9) มกี ารใช้กระบวนการวจิ ยั เปน็ ฐานในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 10) จัดทำแผนการพฒั นาครูใหเ้ ปน็ ครมู อื อาชีพ ความต้องการและการชว่ ยเหลือ 1) การพฒั นาครูผูส้ อนในการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู ่สี อดคลอ้ งกับทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 2) การสรา้ งเคร่ืองมอื วัดผลทส่ี อดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามแนวทางของการประเมินระดบั ชาติ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 44 สว่ นที่ ๔ ภาคผนวก 1. ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานการศกึ ษา 2. คำรับรองของคณะกรรมการสถานศึกษา 3. ผลการประเมินภายนอกรอบ 3 4. ผลการทดสอบระดบั ชาติ 5. คำส่งั ผูร้ บั ผดิ ชอบงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 6. เกียรติบตั ร/รางวัลตา่ งๆ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 45 ประกาศโรงเรยี นบ้านบึงทับช้าง เร่ือง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ------------------------------------------------- โดยที่มีประกาศใชก้ ฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและ การศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมนิ และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประกาศคณะกรรมการ การประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐาน การศึกษาขนั้ พน้ื ฐานเพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง ฉบับลงวันท่ี ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ และปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากการมีส่วนร่วม ของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ชุมชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนำไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรบั การประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการประชุมครั้งที่ ๑ /๒๕๖3 เมื่อวันที่ /๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖3 เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน บ้านบึงทับช้าง มีคุณภาพและมาตรฐานจึงกำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖3 ( นายสุขุม พมิ พาชาติ ) .... ( นางกนกธร ภูวศิ วิชามยั ) ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรยี น

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 46 การกำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 เร่อื ง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย .................................................................................................. มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ๑.๑ มกี ารพัฒนาดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ทีด่ ี และดูแลความปลอดภัยของ ดีเลศิ ดเี ลิศ ตนเองได้ ๑.๒ มีการพัฒนาด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ ดเี ลิศ ๑.๓ มกี ารพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยแหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทีด่ ขี องสงั คม ดเี ลศิ ๑.๔ มพี ฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ส่ือสารได้ มีทกั ษะการคิดพนื้ ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ ดีเลศิ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ดเี ลิศ ๒.๑ มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้ัง ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบริบทขอองทอ้ งถิ่น ดเี ลิศ ๒.๒ จัดครุให้เพียงพอกบั ช้นั เรยี น ดีเลิศ ๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ครูมีความเช่ยี วชาญด้านกากรรจัดประสบการณ์ ดเี ลิศ ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่อื เพือ่ การเรยี นรู้ อย่างปลอดภัย และเพยี งพอ ดีเลิศ ๒.๕ ใหบ้ รกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสอ่ื การเรยี นรเู้ พื่อสนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ ดเี ลิศ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผู้เก่ยี วข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วม ดีเลศิ มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสำคัญ ดีเลิศ ๓.๑ จัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มกี ารพฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ ดเี ลศิ ๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั อิ ย่างมคี วามสขุ ดีเลศิ ๓.๓ จัดบรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นร้ใู ช้สื่อเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วยั ดเี ลิศ ๓.๔ ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ แลละนำผลประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรุง ดเี ลิศ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ ดีเลิศ สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 47 การกำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 เรื่อง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน .................................................................................................. มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ้ รยี น ดเี ลศิ ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ้ รยี น ดีเลศิ ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสารและการคิดคำนวณ ดเี ลศิ ๒) มีความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ น ดีเลิศ ความคดิ เห็น และแก้ปัญหา ๓) มีความสามารในการสรา้ งนวตั กรรม ดเี ลิศ ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร ดีเลิศ ๕) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ดีเลศิ ๖) มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชีพ ดีเลิศ ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผเู้ รียน ดเี ลศิ ๑) การมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ดีเลศิ ๒) ความภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย ดีเลิศ ๓) การยอมรับท่ีจะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดีเลิศ ๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสังคม ดเี ลิศ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจดั การ ดีเลิศ ๒.๑ การมีเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน ดเี ลิศ ๒.๒ มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ดีเลศิ ๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศกึ ษาและ ดีเลศิ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ พฒั นาครูและบคุ ลกรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ดเี ลิศ ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ูณภาพ ดเี ลศิ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโบยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ดีเลศิ ๓.๑ จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ น ดีเลิศ ชวี ิตได้ ๓.๒ ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนร้ทู เี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ ดเี ลิศ ๓.๓ มีการบริหารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก ดีเลิศ ๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น ดีเลศิ ๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การ ดเี ลิศ เรียนรู้ สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ดีเลิศ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 48 การกำหนดค่าเปา้ หมาย ๑. ศึกษาขอ้ มูลเดมิ ผลการประเมินต่าง ๆ ทีผ่ ่านมา เพ่อื เปน็ ขอ้ มลู ฐานในการกำหนดคา่ เป้าหมาย ๒. การกำหนดคา่ เป้าหมาย แตล่ ะมาตรฐาน ควรกำหนดเปน็ ระดบั คุณภาพ ๕ ระดับ เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับการประเมิน ดงั น้ี ๕ ระดบั ยอดเยีย่ ม ๔ ระดบั ดเี ลิศ ๓ ระดบั ดี ๒ ระดับ ปานกลาง ๑ ระดบั กำลงั พัฒนา ๓. การกำหนดคา่ เป้าหมาย ในแตล่ ะประเดน็ พิจารณา จะกำหนดเป็น ระดับคุณภาพ หรือ เปน็ รอ้ ยละ ตามความเหมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 49 ประกาศโรงเรียนบ้านบงึ ทบั ชา้ ง เร่อื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย เพอื่ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ************************************************************************ โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ที่ปรับปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับ ปฐมวัย เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามประกาศ ณ วนั ที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศเร่ือง นโยบาย การปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษท่ีสองท่ีกำหนดเป้าหมาย และยุทศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและ การศกึ ษาไทยในอนาคต รวมทงั้ อัตลกั ษณ์และจุดเนน้ ของ สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นบงึ ทับช้าง จึงกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวยั โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาและการมีส่วนน่วม ของผู้ เกี่ยวข้องทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน และผู้ปกครอง เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวยั ตลอดจนเพ่ือ ส่งเสริม สนบั สนุน กำกับ ดแู ล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ การจดั การศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านบงึ ทับช้างจึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับ ปฐมวัย ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ที่ ๗ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖3 ( นายสขุ ุม พมิ พาชาติ ) ( นางกนกธร ภูวิศวชิ ามัย ) ประธานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 50 มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านบงึ ทับชา้ ง ลงวนั ท่ี ๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖3 เรือ่ ง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวัย โรงเรยี นบ้านบึงทับชา้ ง. เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ………………………………………………………… มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สำคัญ แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียด ดงั นี้ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็ ๑.๑ มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ยั ท่ดี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ ๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ๑.๓ มีพัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสงั คม ๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สอ่ื สารได้ มที ักษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถ่ิน ๒.๒ จัดครูให้เพยี งพอกับชนั้ เรยี น ๒.๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพอ่ื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภัยและเพยี งพอ ๒.๕ ใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอ่ื การเรียนรูเ้ พ่อื สนับสนุนการจดั ประสบการณ์ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผ้เู กย่ี วข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคัญ ๓.๑ จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ ๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั ิอยา่ งมคี วามสุข ๓.๓ จัดบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใช้สือ่ และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วัย ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไปปรับปรุง การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 51 ประกาศโรงเรยี นบา้ นบงึ ทับช้าง เรือ่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ************************************************************************ โดยที่มีประกาศใชก้ ฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาใน ศตวรรษที่สองทีก่ ำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศกึ ษาไทยในอนาคตประกอบ กับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและ ภายนอกของทุกระดับก่ อนมีการ ประเมินคุณภาพรอบต่อไปจำเป็นทีต่ ้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ สอดคล้องกัน จึงยกเลิกประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาศนู ย์การศึกษาพิเศษ เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ลงวนั ท่ี ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๙(๓) ได้กำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่สำคัญข้อหนึ่ง คือ มีการกำหนด มาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอำนาจหน้าที่กากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐาน การศึกษาและมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดย มีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำ ไปส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาและเพ่อื รองรบั การประกันคณุ ภาพภายนอก โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง จึงประกาศใช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ตามเอกสารแนบท้าย ประกาศนเ้ี พือ่ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเพอื่ การประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกาศ ณ วนั ท่ี ๗ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖3 ( นายสขุ มุ พิมพาชาติ ) (นางกนกธร ภูวศิ วิชามัย). ประธานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 52 มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นบ้านบงึ ทับช้างลงวนั ท่ี ๗ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖3 เร่อื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านบึงทบั ชา้ ง เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ………………………………………………………… มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.๒๕๑ มจี านวน ๓ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอียดดังน้ี มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รียน ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รยี น ๑) มีความสามารถในการอา่ น เขียน การสอ่ื สาร และการคดิ คานวณ ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี น ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ๓) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการสือ่ สาร ๕) มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ๖) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ ๑.๒ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรยี น ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมทด่ี ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด ๒) ความภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย ๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สังคม มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๑. มเี ปา้ หมายวิสยั ทัศน์และพนั ธกิจท่สี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน ๒. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ๓. ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเ่ี นน้ คณุ ภาพของผู้เรียนรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุก กล่มุ เปา้ หมาย พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ๕. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ๑. จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ๒. ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ ๓. มกี ารบริหารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก ๔. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน ๕. มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 53 บันทกึ การพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบเอกสาร รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖3 ของโรงเรียนบา้ นบงึ ทับชา้ ง สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๑ .......................................... มติทป่ี ระชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานโรงเรียนบ้านบึงทบั ช้าง เมอ่ื วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖4 ได้พิจารณาให้ความเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖3 ดว้ ยมตเิ ป็นเอกฉันท์ใช้ รายงานตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกัดและสาธารณชนได้ ( นายสขุ ุม พิมพาชาติ ) ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบา้ นบึงทับช้าง (นางกนกธร ภูวศิ วชิ ามยั ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นบึงทับช้าง

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 54 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม โรงเรียนบ้านบึงทบั ชา้ ง ไดร้ ับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จาก สมศ. ระหว่างวันที่ ๒๓ – ๒๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ดังน้ี ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน:ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย นำ้ หนกั คะแนน ระดับ คะแนน ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 ว่าด้วยผลการจดั การศกึ ษา 5.00 4.00 ดี กลมุ่ ตัวบง่ ชพ้ี น้ื ฐาน 5.00 4.00 ดี 5.00 4.00 ดี ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1 เด็กมีพัฒนาการดา้ นร่างกายสมวยั 10.00 8.00 ดี 10.00 8.00 ดี ตัวบง่ ชี้ท่ี 2 เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณแ์ ละจติ ใจสมวยั 2.50 2.50 ดีมาก 2.50 2.50 ดมี าก ตวั บ่งชีท้ ี่ 3 เด็กมีพฒั นาการดา้ นสงั คมสมวยั 2.50 2.50 ดมี าก ตัวบ่งชท้ี ี่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปญั ญาสมวยั 15.00 13.00 ดี ตวั บ่งชท้ี ี่ 5 เด็กมคี วามพร้อมศึกษาต่อในข้นั ตอ่ ไป 2.50 2.50 ดีมาก กลมุ่ ตัวบง่ ช้ีอัตลักษณ์ 35.00 26.00 พอใช้ ตัวบง่ ชี้ท่ี 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ 5.00 3.75 ดี 100.0 80.75 ดี และวัตถปุ ระสงคข์ องการจดั ตง้ั สถานศกึ ษา ตวั บ่งชี้ท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่สี ่งผลสะทอ้ นเปน็ เอกลกั ษณ์ ของสถานศึกษา กลมุ่ ตวั บ่งชม้ี าตรการส่งเสริม ตวั บง่ ชี้ท่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพอื่ สง่ เสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานทว่ี ่าดว้ ยการบรหิ ารจดั การ กล่มุ ตัวบ่งชีพ้ ื้นฐาน ตัวบง่ ชท้ี ่ี 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและการพัฒนาสถานศกึ ษา กลุ่มตัวบง่ ช้ีมาตรการส่งเสรมิ ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการสง่ เสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพอื่ ยกระดบั มาตรฐานรกั ษามาตรฐาน และ พัฒนาสู่ความเปน็ เลิศทสี่ อดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานท่วี ่าด้วยการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ กลมุ่ ตวั บง่ ชพ้ี ื้นฐาน ตัวบง่ ชี้ที่ 6 ประสิทธผิ ลการจัดประสบการณ์เรียนร้ทู เ่ี นน้ เดก็ เป็นสำคญั มาตรฐานท่ี 4 มาตรฐานท่วี ่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตวั บ่งชี้พื้นฐาน ตวั บ่งชี้ที่ 8 ประสิทธผิ ลของระบบการประกนั คุณภาพภายใน ผลคะแนนทั้งหมด การรบั รองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ผลคะแนนรวมทุกตวั บ่งชี้ ตั้งแต่ 80 คะแนนข้ึนไป  ใช่  ไม่ใช่ มีตวั บง่ ชีท้ ไ่ี ด้ระดับดีข้ึนไปอย่างนอ้ ย 10 ตัวบง่ ช้ี จาก 12 ตัวบง่ ช้ี  ใช่  ไม่ใช่ ไมม่ ีตัวบ่งชีใ้ ดท่มี ีระดับคณุ ภาพตอ้ งปรบั ปรงุ หรอื ต้องปรบั ปรงุ เรง่ ดว่ น  ใช่  ไม่ใช่ ในภาพรวมสถานศึกษาการจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย  สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 55 ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน:ระดบั ประถม น้ำหนัก คะแนน ระดับ คะแนน ที่ได้ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษา 10.00 9.98 ดมี าก กล่มุ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 10.00 9.87 ดมี าก 10.00 8.76 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1 เด็กมีพัฒนาการด้านรา่ งกายสมวยั 10.00 8.56 ดี 20.00 8.33 ดี ตัวบ่งชท้ี ี่ 2 เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณแ์ ละจิตใจสมวยั 5.00 5.00 พอใช้ 5.00 5.00 ดีมาก ตวั บง่ ชที้ ่ี 3 เดก็ มีพัฒนาการด้านสงั คมสมวยั ดีมาก 5.00 5.00 ตวั บ่งช้ที ่ี 4 เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาสมวัย ดีมาก 5.00 5.00 ตัวบ่งช้ีที่ 5 เด็กมีความพร้อมศกึ ษาตอ่ ในขัน้ ตอ่ ไป 5.00 5.00 ดีมาก ดมี าก กลมุ่ ตัวบง่ ชอ้ี ัตลกั ษณ์ 10.00 6.00 พอใช้ ตวั บ่งชที้ ่ี 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณธิ าน/วิสยั ทัศน์ พันธกิจ 5.00 3.75 100.0 80.24 ดี และวัตถุประสงค์ของการจดั ตัง้ สถานศกึ ษา ดี ตวั บ่งชที้ ี่ 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจดุ เด่นท่ีสง่ ผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา กลุ่มตวั บง่ ชม้ี าตรการส่งเสรมิ ตวั บง่ ชที้ ่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่อื สง่ เสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ว่าดว้ ยการบริหารจดั การ กลมุ่ ตวั บ่งชี้พืน้ ฐาน ตัวบง่ ช้ีที่ 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพฒั นาสถานศกึ ษา กลุ่มตัวบ่งชม้ี าตรการส่งเสรมิ ตัวบ่งชท้ี ่ี 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และ พัฒนาสคู่ วามเป็นเลิศทสี่ อดคลอ้ งกับแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานท่ีว่าด้วยการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ กลมุ่ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตวั บง่ ชท้ี ี่ 6 ประสทิ ธผิ ลการจดั ประสบการณ์เรยี นรูท้ เี่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานทว่ี ่าด้วยการประกนั คุณภาพภายใน กลมุ่ ตัวบง่ ชีพ้ ืน้ ฐาน ตัวบง่ ชที้ ่ี 8 ประสิทธิผลของระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน ผลคะแนนท้ังหมด การรบั รองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั ผลคะแนนรวมทกุ ตัวบ่งชี้ ตงั้ แต่ 80 คะแนนข้ึนไป  ใช่  ไมใ่ ช่ มีตวั บ่งช้ีทไี่ ดร้ ะดับดีขึ้นไปอยา่ งนอ้ ย 10 ตวั บง่ ชี้ จาก 12 ตัวบ่งชี้  ใช่  ไมใ่ ช่ ไมม่ ตี วั บ่งชใ้ี ดทม่ี รี ะดบั คณุ ภาพตอ้ งปรบั ปรุงหรอื ต้องปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น  ใช่  ไมใ่ ช่ ในภาพรวมสถานศกึ ษาการจดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน : ระดับการศกึ ษาปฐมวัย  สมควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา  ไม่สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 56 1.10 ข้อเสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายในและภายนอก 1.10.1 ข้อเสนอแนะจากการประเมนิ ภายในโดยสถานศกึ ษา - 1.10.2 ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินภายในโดยหน่วยงานตน้ สังกดั - 1.10.3 ขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ ภายนอกรอบสาม(ถา้ มี) โดย สำนกั งานรับรองมาตรฐานและ ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี ขอ้ เสนอแนะ 1 พัฒนาเดก็ ให้มวี ินยั มีความรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงรว่ มกัน รจู้ ักประหยัดและรู้จักการออม มมี ารยาทในการพูดและการฟงั มคี วามเช่ือมน่ั ในตนเองและกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม รู้จักแก้ปัญหา และพัฒนาตนเอง 4 เด็กควรไดร้ บั การพฒั นาในด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์ คดิ ไตร่ตรองและมวี สิ ัยทศั น์ รู้จกั ทำงานรว่ มกนั รกั การทำงาน สามารถทำงานรว่ มกบั ผ้อู นื่ ได้ 9 ครคู วรจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไปตามโปรแกรมการเรียนประจำวันและควรมกี ารประเมนิ พฒั นาการ เดก็ ทุกวนั ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน : ประถมศกึ ษา มาตรฐานที่ ขอ้ เสนอแนะ 1 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความตระหนักในความซอื่ สัตย์ ร้จู กั พึ่งพาตนเองในการทำแบบฝึกหดั และทำข้อสอบ 2 สง่ เสริมผู้เรยี นใหก้ ล้าแสดงออก เช่น พูดรายงานเสยี งตามสาย การแสดงนาฏศิลปด์ นตรี กจิ กรรมการ พัฒนาการ การออกกำลังกายเพ่ือสขุ ภาพอยา่ งตอ่ เน่ือง ใหม้ ีโอกาสการแสดงออกอย่างทวั่ ถงึ เพอื่ พฒั นา จติ ใจ ร่างกายและสมอง 4 ส่งเสริมทกั ษะการคิดวิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ คิดสร้างสรรคแ์ ละจนิ ตนาการของผ้เู รยี น เช่น การประดิษฐ์ ของเล่น ของใช้ จากวสั ดุท่หี าง่าย 5 พฒั นาผเู้ รยี นท่ีมีผลการเรียนต่ำกว่าระดับดี โดยมีการวางแผนพฒั นาผูเ้ รยี นอย่างต่อเนื่อง ใช้วิธีการสอน และนวตั กรรมที่เหมาะสม การจดั กจิ กรรมสง่ เสริมทกั ษะการอา่ นหนงั สือนอกหลกั สูตร เชน่ วารสาร หนงั สือพิมพ์ รจู้ ักการต้ังคำถามจากการอา่ น ควรวางแผนปฏิบัตเิ ปน็ แนวทางเดยี วกัน โดยเชอ่ื มโยง โครงการวยั ซนรพี อร์ตเตอร์ 9 ครูควรใชแ้ ผนบรู ณาการและโทรทศั นท์ างไกลผ่านดาวเทยี มโดยมีครูกำกับการสอนอยา่ งต่อเนอ่ื ง ครคู วรศึกษาและวางแผนการจดั ประสบการณ์อย่างรอบคอบเพอ่ื เป็นการเตรยี มสอ่ื การใช้ส่ือ และ วดั ประเมินผลได้สอดคลอ้ งกนั มกี ารวิจยั ในชน้ั เรียนต่อเนื่องครบทุกรายวชิ า 10 ผู้บรหิ ารควรส่งเสริมและพัฒนาการใชส้ อ่ื ทางไกลผา่ นดาวเทยี มและการใช้สอื่ ICT อยา่ งคมุ้ ค่าและ ควรส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ครูผลิตสือ่ การสอนเพิม่ เติมและนำมาใช้ในการเรียนการสอน พัฒนาวิธีการนเิ ทศ การเรียนการสอนของครูอย่างต่อเนอ่ื งโดยเฉพาะการติดตามประเมนิ ผลการดำเนินงานจดั หาแหล่งเรยี นรู้ และภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ เพ่มิ เติม เพ่อื เป็นการเสริมประสบการณ์ให้แกผ่ ู้เรยี นทุกระดับช้นั พฒั นาบุคลากร ในด้านวธิ กี ารสอน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ นวตั กรรมใหเ้ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ รวมท้ังการวดั และประเมินผล ผเู้ รียน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 57 ๑๔. สรุปสภาพปัญหา จุดเดน่ จุดทค่ี วรพฒั นาในการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา สภาพปญั หา - จุดเดน่ นวัตกรรมหรือการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศของสถานศึกษา จุดที่ควรพัฒนา ทศิ ทางการพัฒนาสถานศกึ ษาในอนาคต สถานศึกษาควรมีทิศทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา โดยการวางแผน พัฒนาจุดเด่น ในด้าน ผู้บริหาร ครูและนักเรียนให้คงอยู่อย่างยั่งยืน พัฒนาผู้เรียนในด้านการมีระเบียบวินัย มีมารยาท มีความรับผิดชอบ มีความเชอ่ื ม่ันในตนเอง รู้จักแกป้ ญั หาและพัฒนาตนเอง มคี วามคิดสร้างสรรคแ์ ละมีจิต นาการ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม รู้จักประหยัดและรู้จักการออม พัฒนาครูในด้านวิธีการสอน ควรวัดผลและประเมินผลอย่างหลากหลายโดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อกระตุน้ ให้ผ้เู รียน รจู้ ักแสวงหาความรแู้ ละสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง พัฒนาศนู ย์ ICT และหอ้ งสมุดให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ของนักเรียนครู และชมุ ชน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 58

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 59

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 60

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 61

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 62

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 63

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 64 คำสัง่ โรงเรยี นบา้ นบึงทบั ช้าง ท่ี 025 / ๒๕๖4 เรื่อง แต่งต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖3 ************************************* ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ได้กำหนดความมงุ่ หมายและหลกั การสำคญั ในการจัดการศึกษา ให้มกี ารกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาและจดั ระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๗ กำหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบประกันคุณภาพภายนอก มาตรา ๔๘ กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและ ให้ถือว่าการประกนั คุณภาพภายในเป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการศึกษาท่ีต้องดำเนินการอย่างตอ่ เน่อื ง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๑ เรื่องการบังคับบัญชาข้าราชการและบุคลากรในสถานศึกษา แตง่ ต้ังบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรยี นปฏิบตั หิ น้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. คณะกรรมการอำนวยการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ประกอบด้วย ๑.๑ นางกนกธร ภูวศิ วชิ ามัย ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๑.๒ นางนลิ นภา บญุ หว่าน ๑.๓ นางสาววิลาวณั ย์ ชุนเกาะ ครู คศ.๓ กรรมการ ครู คศ.๒ กรรมการ ๑.๔ นายณฐั นนท์ ลีพุด ครู คศ.๑ กรรมการและเลขานกุ าร 1.5 นายเสถียร นยิ ม ครผู ู้ชว่ ย กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ มีหน้าท่ี ๑. กำหนดนโยบาย หลกั เกณฑ์ และแนวปฏิบัติต่างๆเพือ่ ส่งเสรมิ สนับสนุนพฒั นา ดำเนินงานเกีย่ วกบั การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๒. เสนอแนวทางในการวางระเบยี บ ขอ้ บังคบั และประกาศท่เี กย่ี วข้องกบั มาตรฐานในการประกันคณุ ภาพ ๓. กำกับตดิ ตาม และใหค้ วามเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินการประกันคณุ ภาพภายใน ๔. สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพ การตรวจ ติดตามคุณภาพและประเมินตนเองโดยถือว่าการประกัน คุณภาพภายในเปน็ สว่ นหน่งึ ของกระบวนการบรหิ ารซ่งึ เปน็ กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง /2. คณะกรรมการ...

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 65 -2– 2. คณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ประกอบดว้ ย ๒.๑ นางกนกธร ภวู ิศวชิ ามยั ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ ๒.๒ นางนลิ นภา บุญหว่าน ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๓ นางสาววลิ าวณั ย์ ชุนเกาะ ครู คศ.๒ กรรมการ ๒.๔ นางสาววริษฐา แก้วภักดี ครู คศ.1 กรรมการ ๒.๖ นางสาวนนั ทยิ า กลิ้งโนนสูง ครู คศ.1 กรรมการ ๒.๕ นางสาวธรรกมล เกลยี บกลาง ครูผชู้ ่วย กรรมการ ๒.๗ นางสาวณัฏฐ์กานดา บรุ าช ครูผู้ช่วย กรรมการ 2.9 นายปวเรศ แน่นอุดร ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ ๒.9 นายเนรมิต สิทธินอก ครูอัตราจา้ ง กรรมการ ๒.๑๐ จ่าสิบเอกพงษ์มติ ร มุง่ พ่งึ กลาง ครอู ัตราจ้าง กรรมการ ๒.๑๑ นายชเู กียรติ สตภิ า ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ ๒.๑๒ นายณัฐนนท์ ลีพุด ครู คศ.๑ กรรมการและเลขานุการ 2.8 นายเสถียร นยิ ม ครูผู้ช่วย กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ มหี นา้ ท่ี ๑. จดั ทำแนวทาง และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพภายในด้านการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา การตดิ ตามและการประเมินคุณภาพการศึกษา ๒. พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน เพื่อใช้กำกับ ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ การศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพและภายใตก้ รอบนโยบายและหลักการ ๓. ดำเนินการให้มีการให้มีการจัดทำมาตรฐาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพตามพันธกิจ ของโรงเรียนให้ครบถ้วนตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และการประกันคณุ ภาพภายนอกของสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) ๔. ดำเนนิ การให้มีการจดั ทำคูม่ ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ๕. พจิ ารณา ทบทวน ตรวจสอบ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพือ่ เสนอต่อ คณะกรรมการอำนวยการ ๖. ดำเนนิ การใหม้ ีการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา เสนอต่อหนว่ ยงานต้นสังกดั เปน็ ประจำทุกปี (ภายใน ๑๒๐ วัน นบั จากวนั สิน้ ปีการศกึ ษา) ๗. ดำเนินการใหม้ กี ารเผยแพรร่ ะบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาใหห้ นว่ ยงานทง้ั ภายในและภายนอก สถานศึกษา ๘. กำหนดมาตรฐาน การพฒั นาคณุ ภาพ การตรวจสอบ และการประเมนิ คณุ ภาพของสถานศกึ ษา เพ่อื นำไปสกู่ ารปฏิบัติ /3. คณะกรรมการ...

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 66 -3– 3. คณะกรรมการตดิ ตาม ทบทวนการดำเนนิ งานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ประกอบด้วย 3.๑ นางกนกธร ภวู ิศวิชามัย ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 3.๒ นางนิลนภา บุญหวา่ น ครู คศ.๓ กรรมการ กรรมการ 3.๓ นางสาววิลาวัณย์ ชนุ เกาะ ครู คศ.๒ 3.๔ นางสาววริษฐา แก้วภกั ดี ครู คศ.๑ กรรมการ 3.5 นางสาวนันทิยา กลิง้ โนนสงู ครู คศ.๑ กรรมการ 3.6 นางสาวธรรกมล เกลียบกลาง ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ 3.๗ นางสาวณัฏฐก์ านดา บุราช ครูผ้ชู ว่ ย กรรมการ กรรมการ 3.8 นายปวเรศ แนน่ อุดร ครผู ชู้ ่วย 3.๘ นายเนรมิต สิทธินอก ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ กรรมการ 3.๑๐ จา่ สบิ เอกพงษ์มติ ร มงุ่ พ่งึ กลาง ครูอัตราจา้ ง กรรมการ 3.๑๑ นายชเู กียรติ สตภิ า ครอู ตั ราจ้าง 3.๑๒ นายณัฐนนท์ ลพี ุด ครู คศ.๑ กรรมการและเลขานกุ าร 2.12 นายเสถยี ร นิยม ครผู ชู้ ่วย กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร มีหน้าท่ี ๑. กำหนดตวั บง่ ชีใ้ นการประกันคณุ ภาพการศึกษาของกลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ และงานกจิ กรรม ท่เี กย่ี วข้องให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวบ่งชขี้ องสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๒. วางแผนการดำเนนิ งานด้านการประกนั คุณภาพการศึกษาของกลมุ่ งาน และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๓. ตดิ ตามทบทวนการดำเนินงานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของกลมุ่ งานและ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๔. เตรียมเอกสารและหลกั ฐานต่างๆ รวมถงึ การเตรยี มบุคลากร เพ่ือรอรับการตดิ ตามและประเมินคณุ ภาพ ทั้งภายในและภายนอก ๕. จัดทำแนวประเมนิ ของกลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือกิจกรรมท่ดี ำเนนิ งานตามแผนพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษา สง่ เสริม ควบคมุ และประเมินคณุ ภาพการศึกษาของกลุม่ งานและกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เมอื่ สิ้นภาคเรยี นของปีการศึกษา ๖. จดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานและขอ้ เสนอแนะ วธิ ีการปรบั ปรงุ คุณภาพการศกึ ษาของกลุ่มงานและ กลุ่มสาระการเรียนรูเ้ มอื่ ส้ินภาคเรยี นของปีการศึกษา ๗. ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอี่ ่นื ๆ ที่ได้รับมอบหมายเก่ยี วกบั งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา /4. คณะกรรมการ...

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 67 -4– 4. คณะกรรมการรวบรวมสารสนเทศระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ประกอบดว้ ย 4.๑ นางกนกธร ภวู ศิ วิชามยั ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ 4.๒ นางนลิ นภา บุญหวา่ น ครู คศ.๓ กรรมการ กรรมการ 4.๓ นางสาววิลาวณั ย์ ชุนเกาะ ครู คศ.๒ 4.๔ นางสาววริษฐา แกว้ ภักดี ครู คศ.๑ กรรมการ 4.5 นางสาวนนั ทิยา กลิ้งโนนสูง ครู คศ.๑ กรรมการ 4.6 นางสาวธรรกมล เกลยี บกลาง ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ 4.๗ นางสาวณัฏฐก์ านดา บรุ าช ครูผู้ช่วย กรรมการ กรรมการ 4.8 นายเสถียร นิยม ครผู ้ชู ว่ ย 4.๘ นายเนรมติ สทิ ธนิ อก ครอู ัตราจา้ ง กรรมการ กรรมการ 4.๑๐ จา่ สิบเอกพงษม์ ิตร มุ่งพง่ึ กลาง ครูอัตราจา้ ง กรรมการ 4.๑๑ นายชเู กียรติ สติภา ครอู ตั ราจ้าง 4.๑๒ นายณัฐนนท์ ลพี ดุ ครู คศ.๑ กรรมการและเลขานุการ 4.13 นายปวเรศ แน่นอุดร ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ มีหน้าที่ ๑. ดำเนินการให้มกี ารจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศให้ครบถ้วนตามมาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในและ ภายนอกของสำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) ๒. รายงานและสรุปผลการดำเนินงานตามมาตรฐาน เพื่อจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๓. พจิ ารณา ทบทวน ตรวจสอบ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา เพอื่ ใหม้ ีข้อมูลรายงานผล ย้อนกลับในการนำไปใชเ้ พื่อการพัฒนางานตอ่ ไป ให้ผทู้ ไ่ี ด้รบั การแตง่ ตง้ั ตามคำสั่ง ปฏิบัติหนา้ ทที่ ่ีได้รับมอบหมายอยา่ งเตม็ ความสามารถและ เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ทางราชการ ทง้ั นี้ ตั้งแตบ่ ดั นี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วนั ท่ี 9 เมษายน พ.ศ. ๒๕๖4 (นางกนกธร ภูวศิ วิชามัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 68 รางวัลสถานศึกษา โรงเรียนตน้ แบบนักเรียนไทยสขุ ภาพดี รุ่นที่ 6 ระดับประเทศ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 69 คณะผูจ้ ัดทำ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 คณะทป่ี รึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบงึ ทับช้าง 1. นางกนกธร ภูวิศวิชามัย คณะทำงาน หัวหนา้ งานวิชาการ หวั หนา้ คณะทำงาน หวั หนา้ งานบริหารบคุ คล คณะทำงาน 1. นายณฐั นนท์ ลพี ดุ หวั หนา้ งานบรหิ ารทั่วไป 2. นางนิลนภา บุญหว่าน หวั หนา้ งานงบประมาณ คณะทำงาน 3. นางสาววลิ าวณั ย์ ชนุ เกาะ หัวหนา้ สายชั้นปฐมวัย คณะทำงาน 4. นางสาวธรรกมล เกลียบกลาง 5. นางสาววรษิ ฐา แก้วภกั ดี ผูช้ ว่ ยงานวิชาการ คณะทำงาน 6. นางสาวนนั ทยิ า กลิ้งโนนสูง หัวหน้างานวัดผลและประเมนิ ผล คณะทำงาน 7. นางสาวณฏั ฐก์ านดา บรุ าช คณะทำงาน 8. จา่ สิบเอกพงษม์ ติ ร มุ่งพ่ึงกลาง 9. นายเนรมติ สิทธินอก คณะทำงาน 10. นายชูเกยี รติ สติภา คณะทำงาน 11. นายเสถียร นยิ ม 12. นายปวเรศ แน่นอุดร คณะทำงาน เลขานุการ ผูช้ ว่ ยเลขานุการ จดั พมิ พ์และออกแบบ หวั หนา้ งานวิชาการ 1. นายณัฐนนท์ ลพี ุด

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ | 70