Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบำรุงรักษาเครื่องมือ

คู่มือการบำรุงรักษาเครื่องมือ

Published by ศักดิ์สาร ทุมชาติ, 2019-06-05 04:45:37

Description: คู่มือการบำรุงรักษาเครื่องมือ

Search

Read the Text Version

คํานํา เนื่องจากธุรกิจรถยนตในปจุบันมีการแขงขันที่รุนแรงทั้งดานการขายและการ ใหบริการเพ่ือจะทําใหลูกคามีความพึงพอใจสูงสุด ดังนั้นในสวนของศูนยบริการจําเปนที่ จะตอ งใหบรกิ ารลูกคาใหด ีทีส่ ุด ทง้ั ดานฝม อื ของชา งซอ มและการใหบรกิ ารทรี่ วดเร็ว ส่ิงสําคัญที่ชวยทําใหชางใหบริการลูกคาไดอยางรวดเร็วนอกจากฝมือ น้ันคือ เคร่ืองมือและอุปกรณของศูนยบริการน้ันเอง ซ่ึงพนักงานของศูนยบริการสวนใหญไดมี การดูแลบํารุงรักษาเครื่องมืออยูบางแลวแตยังมีบางเร่ืองท่ียังขาดความรูความเขาใจ ทํา ใหบางครั้งเกดิ การเสยี หายตอ เครือ่ งมือ สงผลใหเ ครื่องมอื มีอายุการใชง านทีส่ นั้ ลงและทํา ใหเสียคาใชจายโดยไมจําเปนในการจัดซื้อหรือซอมแซม ทําใหเสียเวลาในการใหบริการ ลูกคาและอาจทาํ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ พนักงานได ดังนั้น พนักงานของศูนยบริการควรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเคร่ืองมือ, การบํารุงรักษาประจําวัน ,การบํารุงรักษาประจําเดือน หรือสามารถซอมเคร่ืองมือหรือ อุปกรณไดดวยตนเอง โดยไมตองเปล่ียนใหมท้ังหมด ซึ่งเปนการลดคาใชจายภายใน ศนู ยบรกิ าร อนึ่งวิธีการบํารุงรักษาในคูมือเลมนี้เปนเพียงสวนหนึ่งท่ีจะชวยใหศูนยบริการ ลดคาใชจายในการสั่งซื้อ,สั่งซอมเคร่ืองมือและชวยใหมีเคร่ืองมือที่พรอมใชงานอยูเสมอ สงผลใหงานบริการรวดเร็วข้ึน ซึ่งรายละเอียดการบํารุงรักษาของเครื่องมือที่มีอยูในคูมือ เลมน้ีอาจจะไมครอบคลุมเคร่ืองมือที่มีอยูในศูนยบริการของทานทั้งหมด ดังน้ันจึงขอให ทานศกึ ษาวธิ กี ารบํารุงรักษาเคร่อื งมอื จากคมู ือที่บริษัทผูผลติ ไดใ หไ วดวย ทางฝายบริหารศูนยบริการและอบรมจึงหวังเปนอยางยิ่งวาเน้ือหาในคูมือเลม นีจ้ ะเปนประโยชนตอศนู ยบ รกิ ารของทานไดเ ปน อยา งดี ฝา ยบริหารศนู ยบ รกิ ารและอบรม บรษิ ทั ตรีเพชรอีซูซเุ ซลส จาํ กดั

สารบัญ หนา หวั ขอเครอื่ งมือ 1–2 3–4 1. เครือ่ งมือประจาํ ตวั ชาง 2. ปนลม 5 3. ประแจปอนด 6 4. เคร่อื งทดสอบหวั ฉีด 7 5. เครื่องมือบรกิ ารแอร 8 – 11 6. เคร่อื งต้ังศนู ยล อ 12 – 13 7. เคร่อื งมอื ถอดยางอัตโนมตั ิ 14 – 15 8. เครือ่ งถวงยางรถเลก็ 16 9. เครื่องมอื เจียรจานเบรก 17 10. แทน หนิ เจยี ร 18 - 19 11. สวา นแบบต้ังโตะ 20 12. แทน อดั โฮดรอลกิ 21 13. ปากกาจบั ช้นิ งาน 22 14. แมแ รง 23 – 28 15. ลฟิ ทย กรถ 29 - 31 16. ปม ลม 32 - 34 17. เครื่องลางชิน้ สวน 18. สายจายลม และนา้ํ มนั แบบมวนเกบ็ อตั โนมัติ 35 – 36 37 ( HOSE REEL ) 19. ถังดับเพลงิ

1. เครือ่ งมือประจําตวั ชา ง - เคร่ืองมือประจาํ ตัวชางเปน ส่งิ ทส่ี าํ คญั ในการประกอบธุรกจิ การใหบรกิ ารซอ มรถยนต ดังน้นั หลงั จากการใชงานทกุ คร้ังควรมกี ารจดั เก็บทดี่ ี และมกี ารดแู ลรักษาเปน ประจาํ เพอ่ื ใหเคร่อื งมือ อยูในสภาพท่พี รอมใชง านอยเู สมอ รูป : เคร่อื งมอื ประจําตวั ชางท่มี กี ารจดั เก็บทดี่ ี รปู : เครื่องมอื ประจาํ ตัวชา งทขี่ าดการจัดเก็บ สภาพหวั คอ นที่บานควรทาํ การเจยี ร และตกแตงใหอ ยใู นสภาพสมบรู ณ สภาพไขควงทปี่ ากสกึ หรอใหแตง ดวยตะไบอยาใชก าร เจยี รเพราะจะทําใหความเหนยี วและความแข็งแรงลดลง

การบํารงุ รักษาประจาํ วนั 1. ทําความสะอาดทุกคร้ังหลังเลิกใชงาน 2. ตรวจเช็กเคร่ืองมอื ทกุ ครั้งหลังเลกิ ใชง านวา เครือ่ งมืออยูในสภาพที่ชาํ รดุ หรอื สญู หายหรือไม 3. ไมควรนาํ อะไหลเกา ของลูกคา หรือเศษขยะมาเก็บไวในตูเครอ่ื งมอื 4. หลังเลกิ ใชง านทุกครง้ั ควรนาํ เครอ่ื งมอื เก็บเขา ที่ใหเ รียบรอย การบาํ รุงรักษาประจําเดอื น ตรวจเช็กความพรอ มของเครอ่ื งมือประจาํ ตัวชา งวาอยใู นสภาพทพี่ รอ มใชง าน,ชํารุด หรอื สูญหาย ขอ ควรระวัง ไมควรนําขวดน้ํามนั เบรกมาวางไวทตี่ เู ครอื่ งมือโดยไมมกี ระดาษหรือยางมารอง เพราะจะทาํ ใหส ขี อง ตูเครื่องมอื หลดุ รอ น หมายเหตุ ♦ เครอ่ื งมือทช่ี าํ รุดไมค วรนําออกมาใชง านเพราะจะทําใหเ กดิ อนั ตรายตอผูป ฏบิ ัติงานและชนิ้ สว นของ รถยนตไ ดรับความเสียหาย เชน สกัดท่หี วั บาน, คอนท่ีดามหลวม, ประแจทีป่ ากชํารดุ และไขควงทีป่ ากชาํ รดุ ♦ ถาพบวา เครือ่ งมอื ประจําตัวชางชํารดุ ควรแจง หัวหนา หรอื เจาหนา ทท่ี ี่รับผดิ ชอบใหรบั ทราบเพ่ือจะ ไดด ําเนนิ การจัดซอ้ื หรอื ส่ังซอมตอไป

2. ปนลม ปน ลมท่ีใชกันอยใู นปจจุบนั มีหลายแบบและหลายขนาดข้ึนอยูกับความเหมาะสมของงานนัน้ ๆหรอื อาจ เรียกตามขนาดของบล็อกที่จะใช เชน นัตหรือโบลต ท่ีไมตองการแรงขันมากก็จะเรียกปนลมขนาดเล็ก ถานัต หรือโบลตใหญข้ึนก็ตองการแรงขันมากก็จะใชปนลมที่มีขนาดใหญข้ึนตามลําดับ หรือเรียกตามขนาดของปน ลม เชน ปน ลมเล็กปน ลมกลาง-ใหญ และปน ลมขาง จุดท่หี ยอดนํา้ มนั หลอ ล่ืน ขนาดของปน ลม จะแบง ตามขนาดของหัวปนลมมขี นาดตั้ง แต 3/8 น้ิว,1/2 นิว้ และ 1 นิว้ ทน่ี ิยมใชกนั มากใน ปจจบุ นั สว นการใชง านตองขึน้ อยูกับขนาดของนตั หรือ โบลตทีจ่ ะทาํ การถอดหรอื ใส ถา เปนการถอดหรือการ คลายนัตทแ่ี นน มากๆ เมอื่ ใชป น ลมแลวนัตหรือโบลตยงั ไมค ลาย ควรใชบ ล็อก และดา มขันแขง็ ทําการคลายนัต กอ นเพอ่ื ปอ งกันปน ลมไดรบั ความเสียหาย การใชง าน และการบํารุงรักษาปน ลม 1. ทําความสะอาดทกุ คร้งั หลังเลกิ ใชง าน 2. ใชนํ้ามันหยอดทุกสัปดาห ( ใชน้ํามันหลอล่ืน SAE เบอร10 ) หยอดท่ีทางลมเขาหรือที่จุดท่ีหยอดนํ้ามัน ของบล็อกลม 3. ตรวจเชก็ จาระบหี ลอเลี้ยงทอ นหนาทุกเดือนหรอื ทกุ การถอดยาง-ใสย าง (1,000 เสน ) * จาระบีท่ีใชจ ะตอ งเปน จาระบกี นั กระแทกผสมกราไฟท อยางเหลว 4. การยิงปน ลมแตละคร้ัง ตอ งไมเ กิน 5 วนิ าที และไมค วรยงิ ซํ้าหลายๆ คร้งั

5. หามใชปนลมเกินกําลัง ถาใชตามขอ 4 แลว ยังไมสามารถคลายนัตออกไดตองเปล่ียนปนลมใหมีขนาด ใหญข้ึน (ในกรณีที่ปนลมขนาด 4 หุน ใหเปล่ียนเปน 6 หุน แลวใชขอลดลม 6 หุน เหลือ 4 หุน ชวยหรือใชนํ้า ยากัดสนิมชวย มิฉะนั้นบลอ็ ก ลมจะเสยี หาย) 6. การใชปน ลมตอ งปรับความแรงลมใหเ หมาะสมในการใชงานแตละครง้ั การตรวจสอบเบ้ืองตน เมอ่ื ปน ลมมีปญ หา เม่อื ไดย ินเสยี งผิดปกติหรอื รสู ึกวาปนลมไมแรงเหมอื นเดมิ ใหหยุดใชง าน แลว ตรวจสอบเบือ้ งตนดังนี้ A. ตรวจสอบวา หยอดน้าํ มนั หรือยัง B. ถอดดูทอนหนา วามจี าระบหี รือไม C. ตรวจสอบโรเตอรว า ติดหรือไม โดยการใชม ือหมุนท่ีแกนโรเตอรจ ะตองหมุนได D. ถาตรวจสอบวาเปนท่ีโรเตอร หรือไมพบสาเหตใุ หตดิ ตอผชู าํ นาญงานเพ่อื ทําการตรวจสอบและซอม เพราะทอ นหลงั มีความละเอียดออนมาก ถา ฝนใชจ ะทาํ ใหเ กดิ การเสียหาย ขอ ควรระวงั 1. ตรวจสอบส่งิ ผิดปกติทุกครง้ั ขณะปฏบิ ตั ิงาน หรือเลกิ ใชง าน ถา พบสง่ิ ผดิ ปกตคิ วรตดิ ตอผดู ูแลเคร่อื งมอื เพ่อื ทาํ การแกไข เชน ปน ลมไมแ รง ก็ไมค วรนาํ ปน ลมออกไปใชงาน 2. ขณะใชง านตองมั่นใจวาภายในสายลม ไมม ีนํา้ ผสมอยู 3. น้ํามนั หลอล่นื ทีใ่ ชต องเปน นํ้ามนั เบอร SAE 10 4. ขณะใชงานระวงั ไมใหป น ลมตกหลน กระแทกกบั พื้น เพราะจะทําใหป น ลมไดร ับความเสียหาย ลกู บล็อก ลกู บลอ็ กที่ใชอ ยูในศนู ยบ ริการจะมีอยูดว ยกัน 2 แบบ คือ 1. แบบ 6 เหลย่ี ม 2. แบบ 12 เหล่ยี ม *แบบ 6 เหล่ียม มีผิวสมั ผสั กบั หวั โบลต-นตั มากทาํ ใหโ อกาสในการล่นื จากหวั โบลต-นตั เกดิ ขน้ึ ไดย าก และเนื่องจากมเี หลยี่ มนอยจึง ไมเหมาะสาํ หรบั ขนั หรอื คลายโบลต-นตั ที่เปน สนมิ หรือตดิ แนนมากๆ การบาํ รงุ รกั ษา 1. ทาํ ความสะอาดทุกครัง้ หลังใชง าน 2. ตรวจสภาพของลกู บล็อกใหอยใู นสภาพท่ีสมบรู ณ ไมมรี อยแตกรา ว 3. ตรวจสภาพเหลย่ี มของลกู บล็อก วา สกึ หรอหรือไม ขอควรระวัง 1. ไมค วรนําลูกบล็อกท่มี รี อยแตกรา วมาใชงาน เพราะจะเกดิ อนั ตรายตอผใู ชง าน 2. ไมควรนําลกู บลอ็ กที่เหลย่ี มของลูกบล็อกสกึ หรอ ออกมาใชง าน เพราะจะทําใหหวั นตั รดู

3. ประแจปอนด ปจจุบันประแจปอนดมีความจําเปนตอศูนยบริการ และสําคัญมากท่ีศูนยบริการมาตรฐานจะตองมี ใช เพราะการกวดขันนัตตางๆ มีความจําเปนจะตองใหไดตามคามาตรฐานตามท่ีคูมือกําหนด ประแจปอนดมี อยูดวยกันหลายแบบ ไดแก 1. แบบแรงบดิ ( RATCHET PRESET TYPE ) 2. แบบเข็ม ( DIAL TYPE ) 3. แบบ ดิจติ อล การใชงานขึ้นอยูตามความเหมาะสมตามขนาดของนอตทเ่ี ราจะทําการตรวจเช็กหรอื กวดขนั ปจจุบันนิยมใชมี ขนาดต้งั แต 1. ขนาด 100-450 กก./ซม. 2. ขนาด 400-1800 กก./ซม. 3. ขนาด 400-2800 กก./ซม. 4. ขนาด 2000-14000 กก./ซม. รูป : ประแจแบบแรงบิดขนาด ( 100-450 กก./ซม. ) จุดที่ปรบั ตั้งคาแรงขนั ลกั ษณะการใชง าน 1. ประแจปอนดสามารถใชก ับลูกบล็อกขนาดตางๆ กัน เพื่อเหมาะสมกับขนาดของ โบลต-นตั 2.ใชป ระแจธรรมดาเพอ่ื เร่มิ ตน การขันโบลต- นัต กอน แลว ใชประแจปอนดขัน ในขัน้ ตอนสดุ ทาย 3.ขณะใชป ระแจปอนดข นั ควรเลือกลกู บล็อกใหเหมาะสมกบั ขนาดของโบลต- นัต แลว ใชม ือซา ยกดบรเิ วณหัว ประแจไว เพอ่ื ปองกันลูกบลอ็ กพลาดหลุดออกจากหัว โบลต-นัต แลวดึงดามจับของประแจปอนดเ ขาหาตวั การบํารงุ รกั ษาประจาํ วัน 1. หลังเลกิ ใชงาน ควรคลายหรือเซท็ คา แรงขนั ใหอยูในตําแหนงทตี่ า่ํ สุด 2. ทาํ ความสะอาดหลังเลกิ ใชงาน การบาํ รุงรกั ษาประจาํ เดอื น ทําการปรับแตงทดสอบเปรียบเทียบแรงขันเดือนละครั้งแบบงายๆซ่ึงสามารถตรวจเช็คไดเอง โดยตั้ง แรงขนั ท่ปี ระแจปอนดแ ลวสวมกบั นัตหรอื โบลทเพ่อื ทจี่ ะทดสอบโดยใชสปรงิ ดงึ ปลายดา มขันทด่ี ามปอนด คา ของนํ้าหนัก (กก.) ท่ีอา นไดจากตาช่ังสปริง เม่ือคูณดวยระยะแขนของดามปอนดแลวจะตองเทากัน กรณีที่คาที่ อา นไดผ ิดพลาดมากควรสงบริษทั ผผู ลิตเพ่อื ทาํ การปรับแตง คาท่ีถกู ตอ งใหใหม ขอ ควรระวงั ♦ ไมค วรนําประแจปอนดไปใชในการคลายโบลต-นตั เชน นัตลอ ,นัตฝาสูบ,นัตกน อาง,เกยี ร,เฟองทา ย ♦ ถา พบสิ่งผดิ ปกติ ควรแจงผรู ับผิดชอบโดยดว น อยาปลอ ยทง้ิ ไว และอยา นาํ ออกมาใชงานเพราะจะทําให คา ทีอ่ านได ไมเปนมาตรฐาน

4. เคร่อื งทดสอบหวั ฉดี ลกั ษณะการใชง าน เครอื่ งทดสอบหวั ฉีดนีใ้ ชเพื่อทดสอบแรงดนั และลักษณะการเปน ละอองของหวั ฉีด เครอ่ื งทดสอบหวั ฉีด ประกอบดวย ถังนํ้ามนั ,คนั โยก, เกจวัดความดัน มีหนว ยวดั เปน กก./ตร.ซม ตง้ั แต 0 - 350 กก./ ตร.ซม. หรือตั้งแต 0 – 500 กก./ตร.ซม วธิ ีการใชงาน 1. ติดตง้ั หวั ฉีดเขา กบั ทอ แรงดนั สูง ของเคร่อื งทดสอบ 2. กดคนั โยกลง ใหน าํ้ มันเขา หัวฉีด 3. ทดสอบแรงดันการฉีดตอนเปดลิ้น 4. ทดสอบลกั ษณะของละอองน้ํามัน ตอ งปด วาลวท่ีไปเกจวดั ความดนั กอน เพราะอาจทาํ ใหเ กจเสยี หายได การบาํ รุงรกั ษา -ทําความสะอาดทกุ ครัง้ หลังเลิกใชง าน ขอ ควรระวัง ∗หา มเอามอื รองนา้ํ มนั ท่ีออกมาจากหวั ฉดี เพราะทาํ ใหบ าดเจ็บได ∗ควรใชผ า ปด จมกู ทุกครงั้ เมอ่ื ทําการเชก็ หวั ฉดี ∗นาํ้ มันทใ่ี ชทดสอบจะตอ งสะอาดปราศจากสิง่ สกปรก

5. เครอื่ งมือบริการแอร โอริง ดา น Low Pressure ดา น High Pressure ระดบั นํา้ มัน การบํารุงรกั ษาเครอ่ื งมอื แอร 1. ทําความสะอาดทุกคร้ังหลังเลิกใชงาน 2. ตรวจสอบความผดิ ปกตขิ ณะปฏิบตั งิ านและเลิกใชงาน 3. ถา พบส่ิงผดิ ปกติควรตดิ ตอผูดแู ลเครื่องมือ มาทาํ การแกไ ขไมควรปลอยทิ้งไว หรือนาํ มาใชง านใหมเ พราะ อาจทําให อุปกรณ ไดร ับความเสยี หายเพ่ิมขนึ้ 4. ตววจเช็กระดบั นาํ้ มัน ทเ่ี ครื่องทําสญู ญากาศ ใหอยูในระดับท่ีกําหนด การบํารุงรักษาเกจวัดนาํ้ ยาแอร 1. ทุกๆสปั ดาห ทาํ ความสะอาด อยาใหม ฝี ุน หรือน้าํ ยาตกคาง เพราะจะทําใหค าท่ีอา นไดไ มต รง 2. ทกุ ๆ 6 เดอื น ตรวจเชก็ ซีลหรอื โอริงที่สายน้ํายา ตรวจสอบความเสียหายอยา งละเอียด ตรวจสอบรอยรวั่ ตามขอตอตางๆ ตรวจสอบวาลวเปด -ปด และปรับตัง้

6. เครอ่ื งต้งั ศนู ยล อ -เครื่องตัง้ ศูนยลอ โดยทว่ั ไปท่ีใชใ นศูนยบรกิ ารมีอยูดวยกนั 2 แบบ คอื 1. แบบหลุม 2. แบบสะพาน 1.เครื่องตัง้ ศูนยล อ แบบหลุม เคร่อื งมือวดั มุมลอแบบระดับนา้ํ การบํารุงรักษาเคร่อื งมอื วดั มมุ ลอแบบระดบั น้าํ - หลังเลิกใชงานควรทาํ ความสะอาดทุกครงั้ โดยเฉพาะบริเวณหนา สัมผสั ซ่งึ เปน แมเหลก็ ขอ ควรระวัง: ระวงั อยา ใหเครื่องมือวดั มมุ ลอ แบบระดบั นํ้าตกหลน กระแทกกับพ้ืน เพราะจะทําใหกระเปาะแกว ไดร ับ ความเสยี หายและไมสามารถใชงานได หนา สัมผสั เปนแมเหล็ก ตัวจบั ขอบกระทะแม็ก การบํารงุ รกั ษาตัวจบั ขอบกระทะแมก็ 1.หลังเลิกใชงานควรทาํ ความสะอาดทกุ คร้งั 2. หลอลน่ื เกลยี วดว ยจาระบี ขอควรระวัง : ระวังอยา ใหต ัวจับขอบกระทะแม็กหลนลงพนื้ เพราะจะทาํ ใหเ กดิ การเสียหายได

แมแ รงลม การบาํ รงุ รกั ษาแมแรงลม 1. หลงั เลิกใชงาน ควรทาํ ความสะอาดทกุ ครั้ง 2. ทําความสะอาดกระบอกไฮโดรลิกดวยผาสะอาด ทําความสะอาดดวยผา ทกุ ครัง้ 3. ตรวจเช็กรอยรั่วของลม ขณะปฏบิ ตั ิงาน ทุกครั้ง 4. ตรวจเช็กรอยแตกรา ว ของตวั แมแ รง ขอ ควรระวัง 1. เมอ่ื ขนึ้ แมแ รงลมทกุ ครง้ั ควรมขี าตง้ั ,STAND รอง เพอ่ื ความปลอดภยั ในการทาํ งาน 2. เม่ือพบวาแมแรงลมร่วั ไมควรนํามาใชงาน ควร ติดตอ ผรู ับผิดชอบดาํ เนนิ การแกไ ข 3. ควรใชไ มรองท่หี วั ลูกสบู ของแมแ รง ทุกครงั้ ที่ใช งานเพ่อื ปอ งกันการเสียหาย แทนเพลทต้งั ศนู ยล อ การบํารงุ รักษาแทน เพลทตัง้ ศูนยล อ ประจําวัน -ทําความสะอาดแทน เพลทตัง้ ศูนยลอ และบรเิ วณโดยรอบทุกวนั หลังเลกิ ใชงานเพ่อื ไมใหมี ฝุน ทรายเขาไปใตแทนเพลทเพราะจะทําใหบ รเิ วณจุด หมุนและลูกปน สกึ หรอได การบาํ รุงรักษาประจาํ สัปดาห - หลอลื่นจุดหมนุ และทาํ ความสะอาดทกุ สัปดาห การบาํ รงุ รกั ษาทุก 6 เดอื น 1. เปดฝาแผน เพลททําความสะอาด ตรวจสอบลกู ปน วา มกี ารสึกหรอหรอื ไม 2. หลอ ลื่น ดวยจาระบีหลอ ลื่นทุกๆ 6 เดอื น

SIDE SLIP TESTER การบํารุงรกั ษา SIDE SLIP TESTER ประจําวนั 1. ทาํ ความสะอาดทกุ ครงั้ หลังเลกิ ใชงาน 2. แผนเล่อื นดา นบนทัง้ ซาย และ ขวาตอง สะอาดและเล่ือนไปแลว จะ ตอ งกลบั เขา ท่ี ( ตรงศูนย ) ทุกครั้ง 3. ทดสอบโดยใชแ รงดึงแผน เลอื่ น SIDE SLIP TESTER ( เลือ่ นได 5 มม.จะตอ ง ออกแรงดงึ ไมเกนิ 8 กก. ) 4. หากเขม็ มิเตอรไ มต รงเลขศนู ยใ หป รับต้ัง ท่ีตัวSIDE SLIP จนกวาเขม็ ของมิเตอรจ ะ อยูทเี่ ลขศูนยก อ นใชง าน การบํารงุ รักษาประจาํ สปั ดาห 1.เปดฝากลาง ฝาขา งซา ยและขวา และฝาฐานมเิ ตอรออกหยอดน้าํ มันเครือ่ งตามจดุ หมุน และลกู ปน ตา งๆ 2.ตรวจดอู ยาใหมีสิ่งสกปรกอยูภ ายในเคร่อื งโดยเฉพาะอยางย่ิงอยา ใหมีนา้ํ ขงั อยู การตรวจสอบและบํารุงรักษาทกุ ๆ 6 เดอื น 1. เปดฝาครอบทั้งหมดออก และยกแผน เลื่อนท้งั สองขา งออก ทาํ ความสะอาดภายในทัง้ หมดดว ย \"นาํ้ มนั กาด\" และหยอดนํา้ มนั เครือ่ งตามจุดหมนุ และลูกปน ท้ังหมด เวลายกหรือถอดช้นิ สว นตางๆ ระวงั อยาใหตกหรือโดนกระแทก 2. เวลาประกอบเครอ่ื งเขาทห่ี ลังจากทาํ ตามขอ ท่ี 1 แลวใหปรบั แขนยดึ ใหพ อดี ไมแนนและหลวม จนเกนิ ไป คอื ตอ งต้ังใหแนน แตเ คล่อื นทไี่ ดสะดวก ขอ ควรระวงั 1. อยานาํ รถทีม่ นี ้าํ หนกั เกินกวากําหนดเขา เครอ่ื งต้งั ศูนย 2. เมือ่ เลกิ ใชงานทุกครง้ั ใหล ็อคตวั ล็อค และปดสวิทชไ ฟฟาทุกครั้ง 3. อยาใชน ้ําฉดี ลา งเครอื่ ง หากทําความสะอาดเคร่ืองใหใ ช ผาชุบนาํ้ มันกาดมาเช็ดถู 4. หากไมจ ําเปนเวลาเดินผานเคร่อื ง อยาเหยียบบนแผน เลอ่ื นหรอื นําสงิ่ ของวางบนเครอ่ื งและ อยา นํารถจอดท้งิ ไวบ นเคร่ืองต้ังศูนยลอ 5. เวลาขับรถทดสอบมมุ ลอ บนแผนเล่อื นใหขบั ชา ๆ ( ความเรว็ ไมเกนิ 10 กม./ชม. ) 6. หา มเบรกรถขณะขับรถผานแผนเลอ่ื น 7. หลังเลกิ ใชง านทุกครงั้ จะตอ งลอ คแผน Plate ของ Side Slip Tester ทกุ คร้ัง และอยา ลืมปดสวทิ ชไฟฟา 8.กอนทีจ่ ะทาํ ความสะอาดSideSlipTesterทุกคร้งั อยา ลมื ถอดปลัก๊ ไฟ หมายเหตุ: ใชจ าระบเี บอร 2 หรอื 3 หรอื นา้ํ มันเครือ่ งหลอล่นื หากพบสง่ิ ผดิ ปกติควรแจง ใหผูรับผดิ ชอบทราบ

2. เครอ่ื งตั้งศนู ยลอแบบสะพาน การบาํ รงุ รกั ษาประจําวนั 1. ทาํ ความสะอาดทกุ วันหลังเลิกใชง าน 2.ใชผาคลมุ กนั ฝุน, กันละอองน้ํา 3. ถายน้ําออกจากกรองดักน้าํ ทกุ วัน การบํารงุ รกั ษาทกุ สปั ดาห -ตรวจเช็กทาํ ความสะอาดเพลทต้งั ศนู ยลอ และหลอ ลน่ื ทกุ สปั ดาห การบํารงุ รักษาทกุ 1 เดอื น 1.อัดจาระบีจุดหมุนสะพานทกุ ๆ 1 เดือน 2.ตรวจระดบั ความสงู ของสะพานท้งั 2ขา งเพื่อความถกู ตองในการปรบั ตั้งศนู ยลอ การบํารงุ รกั ษาทุก 6 เดือน 1. ตรวจสอบลูกปน เชก็ สภาพและหลอลืน่ ทุกๆ 6 เดือน 2. ระบบคอมพวิ เตอรถาชาํ รดุ เสยี หายคา ท่ีอา นไดผิดเพย้ี นควรแจงผรู ับผดิ ชอบ การบาํ รงุ รักษาทุก 1 ป ตรวจเช็กระบบคอมพวิ เตอรทกุ ๆ 1 ป หมายเหตุ♦ใชจาระบเี บอร 2 หรอื 3 หลอ ลนื่

7. เครือ่ งมือถอดยางอัตโนมัติ อุปกรณก ารทํางาน 1. ชุดควบคมุ การลอ็ ค และปลดลอ็ ค ของแทง 3 2 เพลาหกเหล่ยี ม 2. อปุ กรณส ําหรับถอด-ใส ยาง 9 3. ลูกกลง้ิ 4. ชดุ ควบคมุ การโยกของแกนเสาหลกั 5 7 5. ชดุ ควบคมุ การจับยึดขอบกระทะลอ 6 6. ชุดควบคุมแปน กดขอบยาง 7.ชดุ แปน กดขอบยาง 8 7. ชุดควบคมุ ทิศทางการหมุน 8. ชดุ แปน กดขอบยาง 4 9. เหล็กงัดยาง กรองดักนา้ํ ข้นั ตอนการถอดเปล่ยี นยาง 1. ปลอ ยลมยางออกจนหมด 2. ดึงแปนขอบยางออกจากตําแหนงปกติ และนาํ ลอเขามาไวตําแหนงเตรียมกดขอบยางใหห ลดุ จากกระทะลอ กับวงในยางรถยนตจ ะหลุดออกจากขอบกระทะ ใหทําอยา งนีอ้ กี 2-3 ครัง้ โดยการหมุนลอไปตําแหนงท่ียาง ไมห ลดุ 3. ใหนําลอรถมาวางบนจานจบั กระทะลอ แลว เหยียบแปน หมายเลข 5 เพื่อล็อคกระทะลอ กบั จานจับกระทะลอ 4. ดงึ แกน 6 เหล่ยี มลงมาอยเู หนือกระทะลอ และอยูในขอบตําแหนง ในขอบกระทะลอ พรอมลอ็ คใหอ ยู ตาํ แหนงดงั กลาวดวย 5. ใชเ หลก็ งดั ยาง งัดยางใหพ นกระทะขอบลอ โดยใหสัมพนั ธก บั แปนเหลก็ ถอด-ใส ทีต่ ดิ อยูป ลายแกน 6 เหล่ยี ม 6. เหยยี่ บแปนหมายเลข 7 เพอื่ หมนุ จานจบั กระทะลอ จนกระทั้งยางหลุดจากกระทะลอ ทง้ั หมดวง 7. ทาํ ตามขอ 5, อีกครั้ง สาํ หรับขอบยางอกี ดา นของกระทะลอ

8. ปลดลอ็ คแกน 6 เหลย่ี ม เลื่อนขน้ึ ใหอยูในตาํ แหนง เดมิ 9. ปลดลอ็ คจานจับกระทะลอ เพอื่ ใหจานจับกระทะลอเปนอิสระ 10.นํากระทะลอ และยางออกจากเครอ่ื งถอดยาง เพอ่ื นําไปแกไข ขัน้ ตอนการใสย างเขา กบั กระทะลอ 1.ใหทาสารหลอ ลื่น เชนทาน้าํ สบู ท่บี รเิ วณในของขอบยาง 2. นํากระทะลอวางบนจานจบั กระทะลอ และเหยียบแปน หมายเลข (5) เพือ่ ลอ็ คกระทะลอ 3. เลือ่ นแกน 6 เหลย่ี ม ใหเขาอยใู นตําแหนงทาํ งาน แลว กดปมุ หมายเลข 2 4.ใหวางยางดา นหนึ่งอยบู นแปน ถอด-ใส ยาง และเอียงยางใหสัมพนั ธก ันกบั การใสยางดว ยมอื ในระหวางน้ี ให เหยียบ จะถกู ใสในกระทะไปดา นหน่งึ แลว ทําอกี ครัง้ สาํ หรับยางอกี ดา น 5. เตมิ ลมยางใหไดตามพิกัดทกี่ าํ หนด 6. ปลดลอ็ คแกน 6 เหลยี่ ม และผลักใหอยแู หนง ปกติ 7. ปลดล็อคจานจบั กระทะลอ การบาํ รุงรักษาประจําวัน 1. ทาํ ความสะอาดทุกครงั้ หลังเลกิ ใชง าน 2. หมั่นตรวจสอบระดบั นาํ้ ของอปุ กรณด กั นํา้ และปลอยน้าํ บริเวณกรองดกั นา้ํ 3. หลงั การใชงานควรตรวจเช็กนอตและโบลทใ หแนนอยเู สมอ และขนั ดว ยดา มปอนด ในกรณีท่นี อตมกี าร คลายตัว 4. เก็บแทง 6 เหลีย่ ม ( hexagonal shfts ) ทง้ั สอง และลูกลอ หลอ ลื่นของเคร่อื งมือ ( roller of the tool ) ในทๆี่ สะอาด การบาํ รุงรักษาประจําเดอื น 1. ทาํ ความสะอาดทุกครัง้ หลังเลกิ ใชง าน 2. ตรวจสอบนํา้ มนั เกียรท หี่ อ งสงกาํ ลงั ( Gear Box ) เมอื่ ถึงเวลากําหนด โดยใช น้ํามนั มาตรฐาน API DT/101 3. หลงั การใชง านควรตรวจเช็กนอตและโบลทใ หแนน อยูเสมอ และขันดว ยดามปอนด ในกรณที น่ี อตมกี าร คลายตัว 4. เกบ็ แทง 6 เหล่ียม ( hexagonal shfts ) ทั้งสอง และลกู ลอหลอล่ืนของเครือ่ งมอื ( roller of the tool ) ในทีท่ ่ี สะอาดและแหง ( ทาํ ความสะอาดโดยใชน า้ํ มันเคร่ือง ) หมายเหตุ ♦หากพบส่งิ ผิดปกติควรแจงเจา หนา ท่ี ทรี่ บั ผิดชอบ ♦ใชน้ํามนั เครอ่ื งเบอร 40 หลอลน่ื ปริมาณน้ํามันท่ี 15 วนิ าที ตอ 1 หยด ♦ใชน้ํามันเคร่ืองเบอร 40 นํ้ามนั เกียรเบอร API DT100

8. เคร่อื งถวงยางรถเล็ก สปริงฝาครอบลอขณะถวง - กอ นนาํ ลอมาถวง กอ นอน่ื ตอ งทําความสะอาดกระทะลอ และยางกอ น โดยการขจดั สงิ่ แปลกปลอม ออก จากกระทะลอเชน เศษหินที่ติดตามรองยาง เศษดนิ โคลนท่ีติดตามกระทะลอ และจะตอ งเติมลมยางใหถ ูกตอ ง ตามคาที่กาํ หนด ขนั้ ตอนการใชงาน ( เปนไปตามคูมือการใชข องเครอื่ งแตล ะรนุ ) 1. เปดสวิทชเคร่ือง เครือ่ งจะแสดงการทํางานโดยแบงออกเปน 3 สวน ตามแนวนอน สวนแรก ดานบนสุดเปนเครื่องหมาย MT-7501 สวนท่ีสอง เปน ขอมูลกระทะลอ และตําแหนงทไี่ มสมดลุ ของกระทะ สวนทสี่ าม สวนลางสดุ จะแบงเปน 6 ชอง ซง่ึ จะแสดงฟงช่ันตางๆ 2. เลอื กฟงช่ันการทํางาน( เปนไปตามคมู ือการใชของเคร่อื งแตล ะรุน ) ปุม P1 ปอนขอมูลกระทะลอดว ยมือ เลือกหนว ยของนา้ํ หนักเปน กรัม ปมุ P2 เลอื กโปรแกรม OPTIMIZATION ปุม P3 เลือกความถว งแบบละเอียดของการถว งแบบ 1 กรัม หรือ 5 กรัม ปุม P4 เลือกการถว งแบบ STATIC หรอื DYNAMIC ปมุ P5 เลือกการถวงแบบ ALU 6 ปุม P6 เลอื กระบบการวัดแบบ INCE หรือ MM. 3. ใสล อเขา กบั เพลาหมุน - เลอื ก TAPER CONE ใหเหมาะสม มีสามขนาด -ลอธรรมดาใสล อที่เพลาไดเ ลย และตามดว ย TAPER CONE และตวั ล็อคพรอม WASHER ตวั เล็ก ถา เปน MAX ตองใสสปรงิ และ TAPER CONE เขาไปกอ น แลว ตามดว ยลอ ตัวลอ็ คพรอ ม WASHER อนั ใหญ 4. ใสขอ มูลกระทะลอเลื่อนแทง DISTANCE SENSOR ออกจากขอบกระทะเครอ่ื งจะรอ ง \" BEEP \" 1คร้งั เลือ่ นแทง DISTANCE SENSOR กลับท่ีเดิม

5. ใสร ะยะความกวา งกระทะลอ 6. ใสขนาดเสน ผานศูนยกลางกระทะลอ 7. นาํ ฝาครอบลอ เล่อื นลงมาใหเครือ่ งทํางาน เครอ่ื งจะหมนุ 6-7 วินาที แลว จะหยดุ ยกฝาครอบลอ ขึ้นคาของ ตะกั่วทต่ี องการตอกจะอยู ดา นซา ย และขวา ดานซา ยจะตอกตะก่ัวดา นใน ดานขวาจะตอกตะกัว่ ดา นนอก 8. หาตาํ แหนง ท่ตี องการตะกว่ั ดานใน-ดา นนอกหมนุ ลอดว ยมือชา ๆ สงั เกตภุ าพ 3 เหลีย่ ม ดานลางดานบน ของชอ งบอกน้ําหนกั ตะกัว่ ซาย-ขวาตาํ แหนงท่ีถูกตอ งรปู 3 เหลี่ยมตองขนึ้ พรอ มกนั และเปน สเี ขยี ว และที่ ตาํ แหนงนีค้ อื 12 นาฬกิ า 9.ตอกตะกัว่ ทีต่ าํ แหนง ขอ 8 ที่น้ําหนกั ตะกว่ั เทากับทป่ี รากฏบนจอ 10. ลองเดนิ เครื่องอีกครงั้ โดยการปด ฝา 11. ดคู านํ้าหนกั ตะกั่วตองเปน ศนู ยทงั้ สองขาง ถามคี า ตวั เลขปรากฏอยแู ดงวา ลอไมสมดุลยแสดงวาตาํ แหนง ท่ี ตอกตะกัว่ คลาดเคล่ือน การบํารงุ รักษาประจําวัน 1. หลอ ลืน่ จดุ หมุนตา งๆและแกนเพลา 2. ทําความสะอาดโดยรอบ และหนา จอมอนเิ ตอร 3. หลงั การใชง านควรเช็กนอตและโบลทใ หแ นน อยเู สมอ 4. ปลอ ยนํ้าทีบ่ ริเวณกรองดักนา้ํ การบาํ รุงรกั ษาประจาํ เดอื น 1. ตรวจสอบนํ้ามนั เกียรที่เกียรบอ ก เมื่อน้ํามันเกยี รห มดสภาพ 2. ตรวจสอบความตงึ ของสายพานใหตงึ อยูเสมอ 3. หมนั่ ตรวจสอบสปริงฝาครอบ ขอ ควรระวัง ∗การตดิ ต้ังเครอ่ื งไมควรใหโ ดนแสงแดดหรอื ฝนและไมควรตดิ ตงั้ ในพนื้ ท่ที ช่ี ืน้ แฉะเพราะอาจทําใหเคร่อื ง คอมพิวเตอรไดรบั ความเสียหายไดง าย หมายเหตุ ♦ใชนาํ้ มนั เครอ่ื งเบอร 40 หลอ ล่นื ♦การตรวจสอบครั้งใหญต อ งลางดว ย \"นา้ํ มนั กา ด\"

9. เครอ่ื งมอื เจียรจานเบรก จดุ ท่หี ลอ ลืน่ จดุ ท่หี ลอ ลนื่ การบาํ รงุ รักษาประจําวัน 1. ทาํ ความสะอาดบริเวณจดุ ตา งๆของเครอ่ื งเจยี รจานเบรกทกุ ครงั้ หลังเลกิ ใชงาน 2. ทําความสะอาดแผงไฟฟา 3. ทําความสะอาดหนา สัมผัสของแกน ( arbor ) และศนู ยดอกจอก ( cone )กอ นและหลงั การใชงานทุกครัง้ เพือ่ ความถกู ตอ งในการต้งั คา ในการเจยี ร การบํารุงรกั ษาประจาํ เดอื น 1. หลอลื่นและทดสอบจุดหมุนปรับปอ นมีด 2. เปดฝาหลอล่ืนแกนเพลาดา นหนา 3. หลอ ลืน่ รางเลือ่ นทง้ั สองขา ง 4. หลอ ลื่นมือหมุนปรบั เขา -ออก 5. ทาํ ความสะอาดเครอ่ื งเจียรจานเบรกเปนประจาํ การตรวจสอบอ่นื ๆ เพือ่ ความปลอดภยั 1. ตรวจสอบตัว LIMIT SWITCH 2.ตรวจสอบแผงไฟฟา ขอควรระวงั ∗สวมแวนตาทกุ ครัง้ ในขณะปฏบิ ัติงานเพอื่ ปอ งกันเศษเหลก็ จากการเจียร กระเดน็ เขาตา หมายเหต♦ุ ใชน า้ํ มันเครือ่ งหลอล่ืนเกลียวและจุดหมุนตางๆ

10. แทน หนิ เจียร ระยะหาง 4 มม. การด ปอ งกัน -ใชส ําหรบั เจยี ร และขัดผวิ ของชิ้นงาน เครือ่ งมอื เจยี รประกอบดวย มอเตอร,หนิ เจียร,แทน วาง ลกั ษณะการใชงานเพอ่ื ความปลอดภยั 1. กอนใชเคร่ืองหินเจียร ตองตรวจดูหินเจยี รกอนทกุ ครงั้ โดยการเคาะฟง เสียงดู เพราะถา หินเจยี รแตกจะเกิด อันตรายมากตอ ผูปฏบิ ัตงิ านและผูท ี่อยใู กลเ คียง 2. การเปลยี่ นหนิ เจียรจะตองใสแ ผนรองดว ยเสมอ ( ปกตแิ ผน รองจะมากับหนิ เจียร ) 3. เลือกขนาดรูหินเจยี รใหเ ทา กับแกนพอดี 4. เคร่อื งเจียรตอ งมีฝาครอบปองกันอนั ตรายจากหินเจยี รแตก และสเกด็ ของช้ินงานท่ีหินเจียร 5. ตองสวมแวน ตาปอ งกนั สเกด็ ทกุ คร้งั เมอ่ื ปฏิบัตงิ าน 6. ปรบั ระยะหา งหินเจียรกบั แทน วางใหพอดี เพ่ือปองกนั ชน้ิ งานหลุดเขาไปขางใน ( ระยะหา งใบหนิ เจียรกับแทน รอง = 4 มม. ) 7. ถา ชิ้นงานทเี่ จยี รเลก็ ตอ งใชค ีมลอ็ คช้นิ งานไวเ วลาเจียร 8. การใชงานอยา นําชน้ิ งานเจยี รดา นขางของหนิ เจยี ร เพราะหนิ เจียรจะสึกหรอเร็วและแตกราวไดง าย การบํารงุ รักษาประจาํ วัน ทาํ ความสะอาดหินเจียร และบริเวณโดยรอบหลงั เลกิ ใชงานทุกคร้งั การบาํ รุงรกั ษาประจาํ สัปดาห 1.ใชลมเปามอเตอรหินเจียรทุกสปั ดาห 2. ตรวจสอบสภาพความสกึ หรอของหินเจยี รทกุ สปั ดาห ขอ ควรระวัง 1. ไมค วรถอดฝาครอบหนิ เจยี รออก 2. ควรปรับระยะหา งแทนเจยี รกบั ใบหนิ เจียรใหอ ยูในคาทก่ี ําหนด(4 ม.ม.) 3. กอ นทาํ การเจยี รทุกคร้งั ควรเช็กสภาพใบหินเจยี ร กอ นใชงาน

11. สวา นแบบต้ังโตะ จดุ ทหี่ ลอลื่น ดว ยจาระบี ปากกาจับช้นิ งาน -สวานแบบน้สี ามารถเจาะรไู ดโ ตกวา สวา นแบบมอื และสามารถกาํ หนดความลกึ ของรูได เพราะจะมรี ะยะ บอกทก่ี านหมุน วาดอกสวานกินความลึกเทาไร สวา นตงั้ โตะใชมอเตอรไ ฟฟา เปนตน กาํ ลัง และสามารถเปล่ียน ความเร็วรอบได โดยสบั สายพานเปล่ยี นไปทม่ี เู ลยตางกนั ทาํ ใหค วามเรว็ เปล่ียนแปลงได ลกั ษณะการใชง านเพื่อความปลอดภยั 1. ใสด อกสวา นใหอ ยูในตาํ แหนงศูนยกลางกบั ตัวยึด และขนั ใหแนน 2. ถา ชิน้ งานมีขนาดเล็กเกนิ ไป ตองใชปากกาจับชนิ้ งานไว เพ่ือปอ งกันอันตราย 3. ถา ช้ินงานมคี วามแขง็ มาก ใหปรับความเรว็ รอบใหลดลง และตองใชนํ้าหลอเยน็ ดอกสวา นขณะใชง าน การบํารงุ รักษาประจําวนั 1. ทาํ ความสะอาดทกุ คร้งั หลังเลกิ ใชงาน 2. หลังใชง านควรถอดดอกสวา นออกทุกครัง้ การบาํ รุงรกั ษาประจาํ เดือน 1. หลอ ลนื่ ทีต่ ัวปรับระดบั ขนึ้ -ลง 2. ตรวจเชก็ นอตยดึ แทน ใหแนนอยเู สมอ ขอ ควรระวงั 1. ไมค วรออกแรงกดทีก่ า นหมนุ มากเกินไป 2. กอนทําการเจาะทกุ คร้ังควรสวมแวนตาปองกัน 3. ถาพบวาสายไฟหรอื ปล๊กั ของแทน สวา นชํารุด ควรซอมแซมกอ นใชงาน

ดอกสวาน * เปนอุปกรณทีใ่ ชรวมกบั สวานไฟฟา หรอื สวา นลมเปนตวั เจาะรูช้ินงานดอกสวานมอี ยู 2 ลกั ษณะคอื 1.แบบกานตรง มกั จะใชกบั ชน้ิ งานขนาดเล็ก 2.แบบกานเรยี ว มกั จะใชกบั ช้นิ งานขนาดใหญ ลกั ษณะการใชง าน 1. ดอกสวา นตองลบั ใหไดตามคูมอื ทก่ี าํ หนดคอื -ชน้ิ งานทเ่ี ปน เหลก็ กลา ดอกสวา นตองมีมมุ 118 องศา -ชิน้ งานปกติ ดอกสวานตอ งมมี มุ 140 องศา หมายเหตุ : ดอกสวานทใี่ ชก บั ชนิ้ งานท่เี ปน เหลก็ กลา และเหล็กหลอ ตอ งลับใหมีมมุ หลบอกี 10-15 องศา ถามมุ นม้ี ากเกนิ ไปจะทําใหด อกสวา นหกั ได 2. ถา ลับดอกสวานไมเ ทา กัน รูทีเ่ จาะอาจไมต รงหรือใหญเ กินไป การบํารุงรกั ษา 1. ทําความสะอาดทุกคร้ังหลงั ใชงาน 2. เกบ็ ดอกสวานใสกลองทกุ คร้งั หลงั ใชงาน 3. ควรเกบ็ ดอกสวา นในท่ีแหง ไมม คี วามช้ืนเพ่อื ปองกันการเกิดสนมิ ขอควรระวงั ∗ไมควรนาํ ดอกสวา นที่ไมมคี วามคม หรอื ชาํ รุดออกมาใชงาน

12. แทนอดั ไฮดรอลิก วาลว ปด-เปดแรง เกจแรงดัน ดันนา้ํ มัน -ใชสําหรับถอด และประกอบงานทีใ่ ชสวมอดั เชน แบรง่ิ และบูชลกู ปนตา งๆแทน อดั ไฮดรอลกิ มี สว นประกอบดงั นี้ 1.โครงแทน 2.วงแกนเพลาหมุน 3.คนั โยก 4.เกจวดั ความดันไฮดรอลิก วิธกี ารใชง าน 1. ปรับระดบั แทน รองอดั ใหพ อดกี บั ชิน้ งานทอ่ี ัด 2. วางชิน้ งานบนแทน ทจ่ี ัดรองอดั 3. ปดวาลว แรงดันน้ํามัน 4. โยกคนั โยกอัดตวั ท่ี 1 ในกรณีอดั ชน้ิ งานที่ไมต อ งการ แรงดนั มาก 5. โยกคันโยกอัดตัวท่ี 2 ในกรณีทีอ่ ัดชิ้นสวนท่ตี องใช แรงดันมาก 6. เม่ืออัดชิน้ งานเสรจ็ แลว ใหเปดวาลว แรงดนั นา้ํ มันเพ่ือใหลกู สูบคลายตวั กลับ การบํารงุ รักษาประจาํ วนั 1. เชด็ ทําความสะอาดทกุ คร้ังหลังการใชง าน 2. ตรวจดูรอยร่ัวของซลี ทีล่ ูกสบู อัด และรอยรั่วของแรงดันนํ้ามัน 3. ตรวจดรู ะดบั น้ํามันใหอ ยใู นระดบั ทเี่ หมาะสม 4. หลอ ลืน่ เฟองหมุนสลงิ แทน ระดับ ( ใชจ าระบเี บอร 2 หรือ 3 ) 5. ตรวจสายสลงิ ใหอ ยูใ นสภาพท่ีดไี มม กี ารฉกี ขาด ลักษณะการใชงานเพื่อความปลอดภัย 1. ปรบั ระดบั แทนรองลงใหเหมาะสมกบั ชน้ิ งาน แลวลอ็ คดวยสลักทั้งสองขางกอนจงึ คลายสลงิ ใหหยอน 2. จดั เพลาแกนหมนุ ใหพ อดีกับศนู ยก ลางของชนิ้ งานทอี่ ัด 3. เวลาใชต องคอยดแู รงดันดว ย เพราะถาแรงดนั สงู เกนิ ไปอาจทําใหเกดิ อนั ตรายตอผใู ชแ ละเครอ่ื งมือ ขอ ควรระวงั 1. ขณะอัดระวังชน้ิ งานแตก หรอื กระเด็นใสผ ปู ฏิบตั งิ าน 2. เวลาใชอยาใหช นิ้ งานกระแทกลกู สบู อัด 3. ขณะอัดใหด เู กจวดั แรงดัน อยา ใหแรงดนั เกนิ คาท่กี าํ หนดไว 4. หามใชค ันตอ คนั โยกยาวกวาเดมิ 5. หลังจากเลกิ ใชงานใหเปด วาลวนา้ํ มัน เพ่ือใหล กู สบู คลายตวั กลบั ในตาํ แหนง ปกติ หมายเหตุ : ทกุ ครง้ั ทีเ่ ลิกใชง านตอ งปรับระดบั แทน รองแลว ลอ คดวยสลักทัง้ สองขาง เพอ่ื ปลดสลิงใหอ ยใู น สภาพไรน้ําหนกั

13. ปากกาจับชน้ิ งาน -ใชจบั ช้ินงานท่ีตอ งการความมัน่ คง มีอยูดวยกันหลายแบบ ซ่ึงแตละแบบจะมีลักษณะการใชง านตางกัน เชน ปากกาต้ังโตะ สวนใหญจะจบั ชนิ้ งานการตกแตงผิวเชน ในงานตะไบ เปนตน ปากกาจับงานเจาะ ( MACHINE VICE ) ใช สาํ หรบั จบั ชนิ้ งานขณะใชเคร่อื งเจาะ ลักษณะการใชง าน 1. อยาจบั ชิน้ งานดว ยแรงยึดจบั มากเกนิ ไปจะทําใหชน้ิ งานไดร บั ความเสียหาย เพราะ หนา สมั ผัสของปากกาทาํ ดวยเหล็กชุบแข็ง และมีลกั ษณะคลายฟนปลา ดงั นนั้ ควรตอ งมแี ผน ทองแดง หรอื แผน ทองเหลอื ง รองไว ขณะใชง านเพ่อื ปองกนั การเสยี หาย 2. การขนั ปากกาจับยึดชิ้นงานควรใชมอื ไมค วรใชฆ อ นตี เพราะจะทําใหช น้ิ งานเสียหาย 3. ถา จับชน้ิ งานบรเิ วณมมุ ขา งใดขางหน่งึ ควรหาวัสดทุ ่มี คี วามหนาเทากบั ชิ้นงานมารองอีกดา นหน่ึงไว เพ่อื ปอ งกันการชาํ รุดความเสยี หาย การบาํ รุงรักษา 1. ทําความสะอาดทุกคร้ังหลงั เลิกใชงาน 2. หลอ ลืน่ แกนปรับหมนุ ดว ยจาระบเี บอร 2 หรือ 3 3. ตรวจเชก็ สภาพปากกาจับชนิ้ งานวา อยูใ นสภาพท่พี รอ มใชง านเสมอ ถา พบวา ชํารุด ก็ไมควรใชงาน ขอ ควรระวงั ∗ไมค วรใชแ ปป ตอ ท่ดี ามขันปากกาหรือคอนตที ่ดี ามขนั เพือ่ จับยดึ ช้ินงานใหแ นน เพราะจะทําใหชิน้ งาน และ ปากกาไดร บั ความเสยี หาย

14. แมแรง วิธีการใชง าน 1. ในขณะขน้ึ แมแ รงเพอ่ื ยกรถทุกครง้ั ตองดงึ เบรกมือหรือใชทอนไมหนนุ เพ่อื ลอ็ กลอ ไมใ หรถเคลอ่ื นท่ี 2. พยายามใหล อ ของแมแ รงเคลอื่ นท่ไี ดโดยไมต ิดขดั 3. หลังจากทีข่ ึ้นแมแ รงเรยี บรอยแลว ควรใชข าตั้งรองรับรถยนต เพ่ือปอ งกนั อุบัตเิ หตุ การบาํ รุงรักษา 1.ทําความสะอาดทุกครง้ั หลังเลิกใชง าน 2. อัดจาระบี ทุกๆ 1 เดือน ( จาระบีเบอร 2 หรอื 3 ) 3. ตรวจเชก็ รอยรว่ั ซมึ ของน้าํ มนั ไฮดรอลิก ถาพบวามีการรั่วซึมกไ็ มค วรนําออกไปใชง าน เพราะจะทําใหเกิด อนั ตราย ตอผปู ฏบิ ัติงาน และรถยนตไ ด ขอควรระวงั ∗การลงแมแรง ควรคอยๆ ลงอยางชา ๆ ไมค วรลงแมแ รงเรว็ จนเกินไป ∗ควรขนึ้ แมแรงในจดุ ทีช่ ว งลา งมคี วามแข็งแรง หรือในจดุ ทีก่ าํ หนดไวเพ่ือปองกันการเสียหาย

15. ลฟิ ทย กรถ -ลฟิ ทใชต ามศนู ยบริการสวนใหญ มอี ยูด ว ยกนั 3 แบบ คอื 1. แบบเอก็ ซ, แซด (ใชก บั รถขนาดเล็ก) 2. แบบ 2 เสา (ใชก ับรถขนาดเลก็ ) 3. แบบ 2 เสา (ใชกบั รถขนาดใหญ) -ปจ จุบันศนู ยบรกิ ารเปด ใหมน ยิ มใชล ฟิ ทแ บบเอก็ ซ , แบบแซด และลิฟทแ บบ 2 เสา ลิฟทแบบเอ็กซมีขอดี คือ ทําความสะอาดบริเวณโดยรอบไดงาย ,โรงงานดูโลงและมีพื้นที่วาง ลดอุบัติเหตุใน การทํางานของชาง เวลาขับรถเขาลฟิ ท ลฟิ ทแบบเอ็กชม ีขอ เสีย คอื กลไกการทํางานยงุ ยากซับซอน, ยายตําแหนงไมไ ด ลฟิ ทแบบ 2 เสามีขอ ดี คอื งา ยตอ การปฏบิ ัตงิ าน, ดแู ลรกั ษางา ย ลฟิ ทแบบ 2 เสามขี อเสีย คือ ขบั รถเขา ชองซอมไดย ากกวาแบบ เอ็กซ และแบบแซด ลิฟทจะตองมีการดูแลและมีการบํารุงรักษาตามระยะที่บริษัทเคร่ืองมือแนะนําและตองมีการดูแลใน เรื่องความสะอาดอยเู สมอ เพ่อื ไมใ หฝนุ ตา งๆ มผี ลเขา ไปทําใหช นิ้ สวนของลิฟทเกิดการสกึ หรอผดิ ปกติและเกดิ ความเสยี หายได ซง่ึ มีผลกระทบกับเร่อื งคาใชจา ยและความปลอดภยั และสงิ่ ทีส่ าํ คัญอีกอยา งหนึ่งกค็ อื หลงั จาก เลิกใชงานขอใหปรับตําแหนงของลิฟทใหลงตํ่าสุด เพ่ือใหลิฟทอยูในสภาพไมมีการรับน้ําหนักหรือไมมีแรง ดนั ภายในระบบ ซ่งึ สง ผลทาํ ใหล ฟิ ทม ีอายกุ ารใชง านนานขึ้น 1. ลฟิ ทแ บบเอก็ ซ ลฟิ ทเอ็กชท ่ีขาดการบํารงุ รักษามนี ํ้าขงั ภายในหลุม จุดท่อี ดั จาระบี

การบาํ รงุ รกั ษาประจําวนั 1. ทาํ ความสะอาดลิฟทท กุ ครัง้ หลงั เลิกใชงาน 2. ตรวจเชก็ รอยรั่วซมึ ของนํ้ามันไฮดรอลกิ ทุกวนั 3. ทาํ ความสะอาดภายในหลุมลิฟทไมใ หม ีน้าํ ขังและเศษขยะอยูภายใน 4. ทําความสะอาดแผงคอลโทรลหลังเลิกใชงาน 5. ควรปดสวิทชท กุ ครัง้ หลังเลิกใชง าน 6. ควรตรวจเช็กการทาํ งานของเชฟตล้ี อ็ คของขาลิฟทท้ังสองขาง การบํารุงรกั ษาประจาํ เดอื น 1. อดั จาระบี ตามจดุ ตางๆ ของลิฟท 2. หลอ ล่นื จาระบี บริเวณลอ เลือ่ น 3. ตรวจเช็กรอยรว่ั ซึมของกระบอกไฮดรอลิก 4. ตรวจสอบนอตลอ็ ค กระบอกสูบ 5. ตรวจสอบสวิทช ขอ ควรระวงั 1. หามยกรถที่มีนาํ้ หนกั เกนิ มาตรฐานกาํ หนด ( ขนึ้ อยูกับ CAPACITY ของลิฟท ) 2. ในกรณที ร่ี ถมีบนั ไดขางควรนํายางมารองที่แชสซีสทกุ ครงั้ เพือ่ ปองกันบนั ไดขางชํารดุ เสียหาย 3. ถา พบวา มีนาํ้ มนั ไฮดรอลิกร่ัวซมึ ,ลิฟททาํ งานผิดปกตเิ ชนเอียงไมไดร ะดบั หรือช้นิ สวนสกึ หรอผดิ ปกติ หรอื เกนิ มาตรฐาน ควรแจงผรู บั ผดิ ชอบทาํ การแกไข ไมค วรใชง านตอ เพอ่ื ความปลอดภยั เพราะจะทาํ ใหเกิดอันตรายตอ ผูปฏบิ ตั งิ านและรถลูกคาอาจเสยี หายได หมายเหตุ - นํ้ามันไฮดรอลิก ESSO NUTO H46, Arip OSO 46 หรอื เทียบเทา - จาระบี ESSO BEACON EP2 หรือเทียบเทา - กรณุ าศึกษารายละเอียดจากคูม อื ของบริษัทผูผลติ เครือ่ งมือ

2. ลฟิ ทแ บบ 2 เสา ความโตของสลิง = 9 มม. จดุ ที่หลอลืน่ จดุ ท่อี ัดจาระบี การบาํ รงุ รกั ษาประจาํ วัน 1. ทาํ ความสะอาดทุกครั้งหลังเลกิ ใชงาน 2. ตรวจเช็กดรู อยรัว่ ซึมของนํา้ มนั ไฮดรอลิกทุกวัน 3. ตรวจเชก็ กอนยางทฐี่ านรองรับ(ถาแตกหรือสึกหรอควรเปลย่ี นใหมเ พือ่ ปอ งกันอุบัตเิ หตุที่อาจจะเกดิ ขึน้ กับ ตวั รถและผูปฏบิ ตั ิงานได) 4. ตรวจเช็กการทาํ งานของเชฟตลี้ อ็ คทั้งสองขา ง 5. กรุณาปรับลิฟทลงตําแหนง ตาํ่ สดุ หลงั เลิกใชงาน หมายเหตุ : กรณที ีล่ ิฟทอยูในตาํ แหนง ต่ําสุดโซย กลฟิ ทจะอยใู นสภาวะไรน าํ้ หนัก ดังนนั้ โซจ ะตองหยอน แตถ าหากโซย ังมคี วามตงึ อยทู ั้งที่ลิฟทอ ยใู นตาํ แหนงตาํ่ สดุ แลว ตองปรบั ตงั้ ความตงึ ของโซใ หม

การบาํ รงุ รักษาประจาํ เดอื น 1. อดั จาระบตี ามจดุ ตางๆทุกจดุ และหลอลื่นโชแ ละสลิงดว ยน้าํ มนั หรอื จารบี 2. ตรวจสอบความตึงของสลิงหรือโซ พรอ มทาจาระบีหลอ ลน่ื 3. เช็กรอยรั่วซมึ ของกระบอกไฮดรอลกิ 4. ตรวจเชก็ ระดับนา้ํ มนั ไฮดรอลิกใหอยใู นระดับท่ีกาํ หนด 5. หลอ ลน่ื เกลยี วทฐี่ านรองรบั การบาํ รงุ รักษา ทุกๆ 6 เดอื น 1. หยอดนา้ํ มันเครือ่ งทีข่ าลิฟทท ัง้ 2 ขา ง 2. ตรวจระยะยกขาลฟิ ทท ั้ง 2 ขา งตอ งเทา กัน 3. ตรวจสอบความตงึ -หยอนของสลิงหรอื โซ ถาตงึ หรือหยอ นเกินไปควรปรับตัง้ ใหม 4. ตรวจสอบขนาดของสลงิ ตอ งมีเสน ผา ศนู ยกลางไมต่ํากวา 9.00 มม. (ถามีขนาดตํ่ากวา 9.00 มม.ตอ ง เปลย่ี นใหม) 5. ตรวจสอบความมัน่ คงของเสาโดยการถอดขนั นอตยดึ ขาลิฟท 6. เชก็ รอยฉกี ขาดของสลิง(ถา ลวดสลงิ ขาดออกจากเกลยี วสลงิ เกิน 3 เสน ควรเปลีย่ นสลงิ ใหม) ภ ขอ ควรระวัง 1. หามยกรถที่มีน้าํ หนักเกนิ มาตรฐานกําหนดข้นึ มาใชง านกบั ลฟิ ท 2. กอนนําขึ้นลิฟทตองดูตําแหนงขารองรับใหอยูตําแหนงตรงกลางแชสซีสท้ัง 4 มุม และถาความสูงไม พอใหปรบั ชดุ รองรับโดยการหมุนเกลยี วข้นึ (ทวนเขม็ นาฬิกา) 3. เม่อื ขน้ึ ลิฟทไดต าํ แหนงแลว ควรลอ็ คลฟิ ททุกครง้ั เพ่อื ความปลอดภัยในการทํางานซอ ม หมายเหตุ ♦ ถา ตรวจพบส่งิ ผดิ ปกตใิ ดๆ ควรแจงผูรับผิดชอบโดยทนั ที เพ่อื ทําการแกไ ข ♦ นํ้ามนั ไฮดรอลกิ เบอร 46 หรอื 32 ( ถา ยนาํ้ มนั ทกุ ๆ 1 ป ) ♦ จาระบเี บอร 2 หรอื 3

3. ลิฟทย กรถใหญ จดุ ทหี่ ลอ ลืน่ ดวยจาระบี ตรวจเช็กรอยรั่ววาลว คอนโทรล และซลี การบาํ รุงรกั ษาประจําวนั 1. เชก็ รอยร่ัวซึม ของซลี กนั น้าํ มันกระบอกไฮโดรลิกและซลี ชุดคอนโทรล 2. ตรวจเชก็ รอยขีดขวนทกี่ ระบอกไฮโดรลกิ 3. ตรวจดรู อยรัว่ ซึมของลมตามจดุ ตางๆ ของทอ ลม 4. ตรวจเช็กจดุ ตอ ของสายไฟที่เขาตูไฟ 5. ตรวจเช็กทอทางเดนิ สายไฟ 6. ตรวจเชก็ ทิศทางการหมนุ ของมอเตอร 7. ทาํ ความสะอาดแกนไฮดรอลิกดว ยผา สะอาดเปน ประจําทุกวัน 8. ตรวจดู แทนยึดทอ ทางลมและนาํ้ มันตองไมช าํ รดุ

หมายเหตุ : ควรทําความสะอาดกระบอกไฮโดรลกิ และบรเิ วณหลมุ ลิฟทอ ยเู สมอเพอ่ื ปองกนั มใิ หฝนุ หรือเศษ ผงตางๆ ที่อาจเขาไปทาํ ใหซลี กระบอกไฮโดรลกิ เกดิ การสกึ หรอและมีผลใหน ํ้ามนั ร่ัวได การบํารุงรกั ษาประจําเดอื น 1. อดั จาระบีในจดุ ที่กําหนด 2. หลอ ลืน่ โซด วยจาระบี 3. หลอ ล่ืนจาระบรี างบรเิ วณลอ เลอ่ื น 4. อดั จาระบีตวั มอเตอร 5. ตรวจสอบแรงดนั นํา้ มันไฮดรอลิก 6. ขันโบลทย ึดกระบอกซีล (แรงขนั 700 กก/ซม.) 7. ตรวจเชก็ รอยรวั่ ซึมของนํา้ มนั ตามจดุ ตา งๆ ของทอ ทางนา้ํ มัน 8. ควรทําความสะอาดบอลิฟทและดูดน้ําที่ขังออกใหแหง เพราะความชื้นจากนํ้ามีผลทําใหช้ินสวนของ ลิฟทท่ีเปน เหล็กเกิดการเปน สนิมไดงาย และมีผลใหอายกุ ารใชงานสั้นลง ขอ ควรระวัง 1. ขณะยกรถข้ึน พยายามใหความสูงของตัวรถที่ถูกยก ทั้งดานหนา และดานหลังมีความสูงจากพื้นให ใกลเ คียงกัน 2. หามเปดไฮดรอลิกวาลว ตวั ใดตวั หนึง่ 3. อยาเลือ่ นกระบอกไฮดรอลกิ ขณะมีรถอยู 4. อยา ยกรถทม่ี ีนํา้ หนกั เกนิ พกิ ดั 5. อยาใชล ิฟทถารูวา มกี ารร่วั ซมึ หมายเหตุ ♦ จาระบีเบอร 2 หรือ 3 ♦ หากพบสิ่งผดิ ปกตใิ หแจงผูรบั ผิดชอบหรอื บริษัทผจู ําหนา ยเพอื่ ดาํ เนนิ การแกไ ขทันที

16. ปมลม ปมลมถือเปนอุปกรณที่สําคัญมากในศูนยบริการ ทําหนาที่สรางลมที่มีแรงดันสูงเพ่ือจายผานทอสงลม ไปยังอปุ กรณตางๆ เชน ลิฟท ปมนา้ํ มันเครอื่ ง ปนลม และเครอ่ื งมอื ตา งๆ การติดตั้งปมลมที่ดีควรอยูในตําแหนงท่ีมีการถายเทอากาศท่ีดี เพ่ือไมใหหองปมลมมีอุณหภูมิสูงเกินไป ซ่งึ จะมผี ลทาํ ใหลมที่ผลติ ไดจากปม ลมมอี ุณหภมู ิสงู เกดิ การกลน่ั ตัวของนํา้ ในระบบลมไดงาย อีกจุดหนึ่งที่ควรคํานึงถึงในการออกแบบระบบลมของศูนยบริการ ควรจะมีจุดถายน้ําในระบบลม ประมาณ 2-3 จุด ข้ึนอยูกับขนาดของศูนยบริการ เพื่อใหลมที่นําไปใชงานไมเกิดความช้ืนหรือมีน้ําปะปนอยู เพราะถาหากมีความช้ืนหรือน้ําเขา ไปในเคร่อื งมือที่ใชลมแลว จะทําใหเ ครอ่ื งมอื ตางๆ เกิดการเสียหายได ปจจุบันสว นใหญป ม ลมที่ใชใ นศนู ยบ ริการมีอยดู ว ยกันหลายแบบ โดยสว นมากทใ่ี ชง านกันอยทู ว่ั ไปจะมี 1. แบบลูกสูบ 2. แบบ SCREW TYPE หรือ แบบเกลียวอดั อากาศ 1.ปม ลมแบบลกู สบู จดุ ถายนาํ้ ทงิ้ ระดับน้ํามนั เครือ่ ง การบํารุงรกั ษาประจําวัน 1. เช็กระดบั นํา้ ในถังหรือทอทางตางๆ และถายน้ําทิง้ 2. ตรวจดอู ุปกรณไฟฟา ระบบควบคมุ ตางๆ 3. ตรวจดรู ะดบั นาํ้ มันหลอ ล่ืน 4. ตรวจดรู อยแตกรา วของสายพาน หมายเหตุ : จดุ ถา ยนาํ้ ทิ้งควรติดตง้ั วาลวเพ่ือสะดวกในการถา ยน้ําและควรตอ ทอออกไปทิ้งดา นนอกหอ ง ปม ลมเพื่อไมใหเ กิดความช้ืนในบริเวณหองปม ลม การบํารุงรกั ษาตามระยะ - ทุก 500 ชม. ตรวจเช็ก, ทาํ ความสะอาดกรองอากาศ / เช็ก, ทําความสะอาดคูลเลอร ( เฉพาะรุน ) - ทุก 1,000 ชม. เปล่ียนน้ํามันคอมเพรสเซอร (นํา้ มันไฮดรอลกิ เบอร 68 ) - ทกุ 2,000 ชม. เปลยี่ นไสก รองนา้ํ มัน - ทกุ 4,000 ชม. เปลย่ี นกรองอากาศเปลี่ยนกรองแยกนํา้ หมายเหต♦ุ ตรวจสอบระบบไฟฟาของปมลมถาพบส่ิงผดิ ปกติควรแจง ผรู ับผิดชอบโดยเรว็ เพื่อทําการแกไข

2. ปม ลมแบบ SCREW TYPE หรือเกลยี วอัดอากาศ ปม ลมแบบเกลียวอัดอากาศ การระบายความรอนดว ยอากาศ -เปนเครื่องท่ีออกแบบติดตั้งใชงานอยูกับท่ีและอยูในรม มีตัวปมอัดลมเปนแบบสกรู และใชนํ้ามันเครื่อง ชวยอัดลมโดยสกรูถูกขับดวยมอเตอรไฟฟา มีทั้งการระบายความรอนดวยอากาศ และระบายความรอนดวยนํ้า อปุ กรณทส่ี าํ คัญระบบลม(AIR FLOW) 1. กรองอากาศ (AIR INTAKE FILTER) ทาํ หนา ทก่ี รองอากาศใหบ ริสทุ ธิ์ 2. อันโหลดดิ้งวาลว ทาํ หนา ท่ี ปด หรอื เปดอากาศเขา สสู กรูเปน วาลว แบบลูกสูบปกติปด ดวยแรงสปริง กดดนั อยู จะเปด ไดโ ดยการจา ยลมเขาไปดันลูกสูบใหช นะแรงดันสปริง 3. SCREW ELEMENT เปน แบบ ROTARY ทําหนาทอ่ี ดั ลมออกไปใชงานตามตองการ โดยมีระบบนํา้ มันเปนตัวชวยในการอัดลม 4. เชก็ วาลว(CHECK VALVE) ติดตง้ั บรเิ วณชองทางออกของสกรู ปองกนั การไหลยอ นกลับของลม 5. OIL SEPARATOR ไสกรองมหี นาทแ่ี ยกนา้ํ มนั ออกจากลม โดยยอมใหล มผา นออกไป 6. MINIMUM VALVE เปน วาลว ท่ีติดต้งั อยบู นฝาถงั นา้ํ มัน ทําหนาท่ี 2 อยา ง คือ ∗เปนเชค็ วาลวปองกันลมไหลยอ นกลบั ของลมท่ีเครื่องจายออกไป ∗ทําหนาท่ีรักษาแรงดันลมใหค างอยูในถงั นํ้ามนั ตลอดเวลาในขณะเดนิ เครื่องเพอ่ื ทาํ ใหขับดันนาํ้ มนั เครือ่ งไปหมุนเวยี นในระบบ 7. AIR COOLER เปน อุปกรณระบายความรอนของลมกอนสง ไปใชงาน อปุ กรณท ่สี าํ คญั ของระบบนํา้ มัน 1. ถังนํ้ามัน ทาํ หนา ท่ีเปนถงั น้าํ มันและถงั พกั ลมเพอื่ นาํ ลมไปใชใ นการควบคุมระบบ 2. OIL COOLER ทําหนาทรี่ ะบายความรอ นของน้าํ มันเครอื่ งดวยอากาศและนา้ํ 3. THERMOSTATIC VALVE ทาํ หนาที่ควบคมุ การ เปด-ปด วาลว ตามอุณหภูมิที่กําหนด 4. กรองนา้ํ มนั (OIL FILTER) ทาํ หนาทก่ี รองสิง่ สกปรก ทีป่ นมากบั นํ้ามัน 5. OIL STOP VALVE เปน วาลว ปด-เปด ทางน้าํ มันเขาสู SCREW ELEMENT 6. นา้ํ มนั ไฮดรอลิก เบอร 68

การบาํ รุงรกั ษาประจาํ วนั 1. ตรวจเชก็ ระดบั น้าํ มันเครื่องกอ นสตารท เครือ่ ง 2. ตรวจเช็กรอยร่วั ซึมของทอ ทางตา งๆ 3. ตรวจดอู ปุ กรณไ ฟฟา ระบบควบคุมตางๆ 4. ตรวจดูเรอ่ื งฝนุ ,การผุกรอ น การเสียหาย และทาํ ความสะอาดภายนอก 5. ตรวจดูนัต -โบลต ใหอ ยูในสภาพทแ่ี นน อยูเสมอ 6. ถา ยนา้ํ ออกจากถงั พักลมทกุ วนั และในจุดระบายนา้ํ ตางๆในศูนยบริการ การบาํ รงุ รกั ษาตามระยะ 1. เปล่ียนน้ํามันไฮดรอลิก เบอร 68 น้ํามันเคร่ืองท่ีใชเปนของ ATLAS COPCO (GA เปลี่ยนทุกๆ 1,000 ชม. และแบบ ROTO OIL ใชไ ดถ งึ 4,000 ชม. ) 2. กรองอากาศ,กรองน้ํามันเคร่ืองเปล่ียนทุกๆ 1 ป ( กรณีใชงานหนักควรเปล่ียนกรองอากาศเร็วข้ึน )

17. เคร่อื งลางชนิ้ สวน เครื่องลางชนิ้ สวนเปนเคร่อื งมอื ที่อาํ นวยความสะดวก ประหยดั เวลาในการลา งช้ินสวนตางๆ ซงึ่ ตามศูนย บริการนิยมใชงาน เชน เครื่องลางชิ้นสวนทั่วไป, เครื่องลางชิ้นสวนโอเวอรฮอล เปนตน มีอยูดวยกันหลาย ขนาด ขนึ้ อยกู บั ความเหมาะสมของศูนยบรกิ ารที่เลือกใช 1. เคร่อื งลา งชิน้ สว นแบบทว่ั ไป การใชง าน 1. เทนาํ้ มนั เบนซนิ หรือนํ้ามันกาดลงในถาดหรอื ภาชนะ ใสไ วบ นตเู พื่อใชง าน 2. ลา งชิน้ สวนอุปกรณ การบํารุงรักษา 1. ทาํ ความสะอาดทกุ ครง้ั หลงั เลกิ ใชงาน 2. เทนํา้ มันเกา ใสถงั หรือภาชนะและนําตะกอนไปทิ้งทุกๆ วนั 3. เปลย่ี นน้ํามนั เปนประจาํ โดยดจู ากสภาพของนํ้ามนั ขอควรระวัง 1. ควรใชผา ปดจมูก กอนทาํ การลางทุกครั้ง 2. อยาใหน ํา้ มนั กระเดน็ เขา ตา 3. อยาวางเครอ่ื งลางชน้ิ สวนอยใู กลจ ดุ ที่เกดิ ประกายไฟไดงา ยเนือ่ งจากอาจทําใหเกิดไฟไหมได

2. เครือ่ งลา งช้ินสว นสาํ หรบั หองโอเวอรฮอล วาลวถา ยนํ้าท้ิง จดุ ทอี่ ดั จาระบตี รงแกนหมนุ หมุนปมุ ปรับอุณหถูมิ ไปทางขวามอื เพื่ออนุ นาํ้ ใหร อ น วิธีการใชเ คร่อื ง 1. เตมิ นํ้าใหไดร ะดับ เติมนํ้าจนกระทงั่ ไฟดวงสเี หลอื งตดิ 2. เติมผงเคมีผสมกับนา้ํ ท่ีอยภู ายในเครื่องตามสัดสวนที่ระบใุ นคูมือการใช 3. หมุนปมุ ปรบั อณุ หภมู ไิ ปทางขวามือ เพอ่ื อนุ น้าํ ใหร อ น 4. ใหตั้งเทอรโมสตัดไปท่ีอุณหภูมิ 70-80 องศา ( เม่ืออุณหภูมิ 80 องศา ไฟสีแดงจะดับ และเมื่ออุณหภูมิ ตํ่าลง ไฟสีแดงจะตดิ เองโดยอัตโนมัติ ) 5. ปด ฝาเครอ่ื งแลว กดสวิทซ ON ใหเครือ่ งเดนิ ประมาณ 5 นาที เพื่อใหน ้าํ กบั เคมผี สมเขากนั ดี 6. รอใหอ ณุ หภมู ิ 80 องศา นาํ ช้ินงานลงบนตระกรา แลวปดฝา 7. ต้งั เวลาตามความเหมาะสม 8. กดสวิทช ON เครื่องจะทํางานอัตโนมัติตามเวลาที่กําหนด หากตองการนําชิ้นงานออกกอน ใหทําการ กดสวิทซ OFF 9. เม่ือลา งเสร็จแลวใหเปดฝา เพ่อื ใหไ อ ระเหยออก ช้ินงานจะสะอาด และแหงตามตองการ

การบาํ รุงรกั ษาประจําวัน -ทําความสะอาดทุกครงั้ หลงั เลกิ ใชงาน การบาํ รุงรกั ษาประจาํ สัปดาห หลังจากใชง าน 1 อาทติ ย แลว ตอ งทาํ ความสะอาดเครอ่ื ง โดยมีขน้ั ตอนตอไปน้ี 1. ปด เบรกเกอรเพอ่ื ตัดไฟ 2. เปด นํ้าทิง้ โดยทอ ปลอ ยนา้ํ ทงิ้ 3. ยกตะแกรง และใบพดั ท่รี องรบั ตะแกรงออก 4. ยกแผนคร่ึงวงกลมทง้ั สองออก 5. ถอดกรองดูดออก เพอ่ื ทําความสะอาด โดยใช แปรงลวดขัด และน้ํายาลา งออกใหสะอาด 6. ถอดกรองหูหว้ิ ออกลาง โดย ใช แปรงลวดขดั ใหสะอาด 7. ใชน ํา้ ยาลา งภายในใหสะอาด 8. อดั จาระบีลูกปนแกนกลางทกุ ๆ 7 วนั 9. ถอดฝาปด ทองเหลืองแปบ หัวฉีดออก แลวใชนา้ํ ฉดี ภายในทอ แปบ เพื่อไลส ่งิ สกปรกออกใหสะอาด 10. ประกอบกลับอยา งเดิม 11.เมื่อลางทําความสะอาดและประกอบเรียบรอ ยแลว ใหเตมิ นา้ํ ใหถ งึ ปากตะกรา แลว คอยเปดไฟได ขอ ควรระวัง 1. กอนทาํ ความสะอาดเครื่องทกุ ครงั้ จะตองตดั ไฟกอนเสมอ 2. เม่อื ตองการจะนําชิน้ สวนออก ควรจะทง้ิ ไวสักพกั ไมควรเปดฝาโดยทนั ที เพราะความรอ นขณะน้ัน ยงั สงู อยอู าจทาํ ใหเ กดิ อนั ตรายได

18. สายจายลมและนํ้ามันแบบมวนเก็บอตั โนมตั ิ (HOSE REEL) หลกั การทาํ งาน และอุปกรณต างๆ ของเครือ่ งมือ 1. สายมวนเกบ็ อตั โนมัตสิ วนมากจะใชจายนํา้ มันหลอล่ืน หรือจายลมไปยงั จุดทตี่ องการ 2. ระบบการทาํ งาน ดึงสายออกมาตามตอ งการใชง าน และกลไกล็อคทํางานปอ งกันสายมวนกลับ 3. เมื่อเลกิ ใชง านดงึ สายออกเพ่ือปลดล็อค เมื่อปลดลอ็ คไดแ ลว ปลอยสายกลับเขาโรล 4. ไมเ ปลอื งพืน้ ทใ่ี นการตดิ ตง้ั และจัดเกบ็ 5. สายมว นเก็บอตั โนมตั ปิ ระกอบดวยอุปกรณตอไปนี้ - โครงสรา ง - สปรงิ ดึงกระเดอื่ ง - ลานสปรงิ - ตัวลอ็ คสายลม-นาํ้ มนั - สายลม-นา้ํ มนั (10 เมตร ) - ชดุ ซีลจุดหมุน - เฟอ งลอ็ ค - สายเมนลม-นํา้ มนั - กระเด่อื งลอ็ ค วิธกี ารใชงาน 1. ดงึ สายออกจากโรลใหดงึ ตรงๆ จนสายออกมาตามตองการ ( ไมเกิน 10 เมตร ) และใหกลไกล็อคทํางาน ปอ งกนั สายมว นกลบั 2.เมอ่ื เลิกใชง านใหดงึ สายอกี คร้งั เพ่อื ปลดล็อค เมอ่ื ปลดลอ็ คไดแลว คอ ยๆ ปลอยสายกลับเขาโรลเบาๆ เพ่อื ปองกนั การกระแทกซึง่ อาจกอ ใหเกดิ ความเสียหายได 3. กรณที ี่เปน รีลน้ํามนั ควรปดปลายมิเตอรน ้ํามันใหสนิทกอนปลอ ยสายกลับเขาโรลเพ่อื ปอ งกันนํา้ มันหยด การบํารุงรักษา 1.ทาํ ความสะอาดสายลม-นํา้ มนั เมอื่ เลกิ ใชง านทุกครั้ง 2.ตรวจเช็กรอยร่ัวของลม และน้ํามนั ทุกวัน 3.หลอลื่นจุดหมนุ ตางๆ 4.หลอ ล่นื กระเดอ่ื งลอ็ ค และตรวจสอบสปริง

ขอควรระวงั ∗ถาสายลมรว่ั หรอื หลดุ ใหเ ปลีย่ นสายใหม และเข็มขัดใหม ∗ถาสายดึงไมกลบั ใหต รวจเชค็ กลไกล็อคคา งอยูห รอื ไม ถาคางอยใู หใ ชไขควงดา มยาว ปลดล็อคออก และ ตรวจสอบอกี ครัง้ วาเปนเพราะสาเหตุใด ∗หวั เสยี บลมรั่ว หรือหลุดออกจากสายลม ใหเ ปล่ยี นหัวเสียบลมใหม ควรใชหางเสยี บยาวๆ และใชเขม็ ขดั ลอ็ ค 2 ตวั ตอ 1 จดุ ∗ถา สายลม-นํา้ มนั รว่ั ใหป ดเมนจาย และเปลี่ยนสายเสนใหม ∗มิเตอรจายนาํ้ มันควรใชงานอยางระวัง อยา ใหก ระทบกระเทือนอยา งแรง อาจทาํ ใหค าการจายไมถ กู ตอง และ มีราคาสงู มาก หมายเหตุ : ควรมกี ารตรวจสอบความถูกตอ งของมเิ ตอรหัวจา ยนํา้ มันเปน ประจาํ เพอ่ื จะไดจ ายน้ํามันไดอยา ง ถกู ตอง และปอ งกันความผิดพลาดท่อี าจเกิดขึน้ ได

19. ถังดับเพลิงแบบสารเคมี *ถังดบั เพลงิ ทีใ่ ชอ ยูในศูนยบริการโดยทัว่ ไปจะเปนแบบสารเคมซี ึง่ ใชด บั เพลงิ ประเภท ไม,กระดาษ,น้ํามนั และกาช ( ตัวสารเคมไี มเ ปนส่ือไฟฟา ) - รนุ ขนาด 4.2 กก. ฉีดไดอ ยางตอเนอื่ งประมาณ 12-16 วินาที - รนุ ขนาด 6.5 กก. ฉีดไดอ ยา งตอเนือ่ งประมาณ 15-18 วินาที - รุนขนาด 9.0 กก. ฉีดไดอยา งตอ เน่อื งประมาณ 18-21 วนิ าที การตดิ ต้ัง ควรตดิ ตัง้ ในจุดท่หี ยบิ ฉวยไดง า ย หรือบรเิ วณทีค่ าดวามีโอกาสจะเกิดอัคคีภัยได เชน บรเิ วณหนา หอ งลา งช้นิ สว นโดยตดิ กบั ผนงั ท่ีแขง็ แรงพอทจ่ี ะรับนํา้ หนกั ได (สูงจาก พน้ื ไมนอ ยกวา120 ซม.) การใชงาน ขณะเพลิงไหมต องยกถงั ดบั เพลิงเขาดานเหนือลม หา งประมาณ 2.5 เมตร แลวดงึ สลักออกจากคัน บบี พรอมจับปลายสายฉดี แลว ฉีดไปยังฐานของไฟ การตรวจสอบ สงั เกตดูจากมาตรวัดเข็มแรงดนั จะตองชตี้ าํ แหนงกลาง(สีเขียว)แสดงวาเคร่อื งดบั เพลงิ อยใู น สภาพปกตแิ ตถ าไมอ ยใู นตาํ แหนง น้ี \" ใหแจง แกบ ริษทั ผผู ลิตเพ่อื ดาํ เนินการแกไขทนั ท\"ี เชน เขม็ อยใู นพน้ื ที่ ดา นขวามือ (OVER CHARGED) แสดงวา มแี รงดันสงู เกินไปหรอื ดา นซา ยมือ ( RECHAGED ) แสดงวา เคร่อื ง ขดั ขอ งหรอื อยใู นสภาพทีใ่ ชงานไมได คําแนะนําทเี่ ปน ประโยชน 1. เม่ือพบเหตุเพลิงไหมควรตัง้ สตกิ อนอยาตื่นตกใจมากจนเกนิ ไป 2 ใชถ ังดบั เพลิงเขาระงบั เหตุกอ นแตถ าไมส ามารถระงบั เหตไุ ดใ หกดสัญญาณแจง เหตุเพลงิ ไหม ทันที 3. แจง เหตุเพลิงไหมไ ปยังสถานีดบั เพลิงในเขตทองท่ีของทานทนั ทแี ละอพยพคนออกจากสถานท่นี ั้น ขอควรระวัง ∗ขณะยกออกจากทีแ่ ขวน โปรดระวัง เครื่องตกกระแทกเทา ได และขณะฉดี ใชงานตอ งจับปลายสายใหม น่ั เพ่อื ปองกนั การสะบดั ของสาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook