โดย... ครูพรรณพร พ่มุ นวล
ใบความรู้ เร่ือง ภาษาถน่ิ ภาษาถ่ิน ภาษาถนิ่ หมายถึงภาษาที่ใชพ้ ูดตามทอ้ งถิ่นต่างๆในประเทศไทย เพ่อื ส่ือความหมาย สร้างความเขา้ ใจกนั ระหวา่ งคนในทอ้ งถ่ิน ภาษาถ่ินแบ่งออกเป็นภาษาถิ่นพายพั ภาษาถ่ินอีสาน ภาษาถ่ินใต้ และภาษาถ่ินกลาง ภาษามาตรฐาน คือสานวนภาษาท่ีคนใชท้ วั่ ไปใชก้ นั กาหนดใหเ้ ป็นภาษาราชการ โดยใชภ้ าษาสาเนียงกรุงเทพหรือภาษากลางเพือ่ ใชต้ ิดต่อสื่อสารกนั ไดส้ ะดวกและเขา้ ใจตรงกนั ภาษาถิ่นพายพั คือภาษาถ่ินท่ีพูดส่ือสารกนั ทางภาคเหนือของประเทศไทย ซ่ึง แต่ละจงั หวดั มีสาเนียงท่ีแตกต่างกนั ไป เรียกวา่ คาเมือง และภาษาถ่ินยอ่ ยของชนกลุ่มนอ้ ย ท่ีใชใ้ นแต่ละทอ้ งที่ เช่น ไทยของ ไทยเขิน ไทยล้ือ ไทยใหญ่ เป็นตน้ ภาษาถิ่นอสี าน คือภาษาท่ีใชพ้ ูดส่ือสารกนั ทางภาตะวนั ออกเฉียงเหนือ สาเนียงถอ้ ยคา แตกต่างกนั ไป มีลกั ษณะเป็นสาเนียงลาวพวน ไทยโคราช ภาษาอีสาน และภาษา ชนกลุ่มนอ้ ย เช่น ภาษาส่วย ( กยุ ) ภาษาเขมรในแถบจงั หวดั สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ ภาษาแสก ภาษาภูไท ภาษายอ้ สกลนครและนครพนม เป็นตน้ ภาษาถิ่นใต้ คือภาษาถ่ินท่ีพูดส่ือสารกนั ทางภาคใตข้ องประเทศไทย เรียกอีกอยา่ งหน่ึง วา่ ภาษาปักษใ์ ต้ ซ่ึงไดแ้ ก่ภาษาถิ่นยอ่ ย เช่น ภาษายาวี ภาษาชาวเล ภาษาซาไก ( เงาะเซมงั ) เป็นตน้ แต่ละทอ้ งที่จะมีสาเนียงและศพั ทบ์ างคาท่ีแตกต่างกนั ไป ภาษาถ่ินภาคกลาง คือสาเนียงภาษาถิ่นของประชาชนตามจงั หวดั ในภาคกลาง ซ่ึงจะมีสาเนียงเฉพาะของตนเอง เช่น สาเนียงสุพรรณ จะออกเสียงคลา้ ยกนั ในแถบจงั หวดั สุพรรณบุรี อยธุ ยา อ่างทอง กาญจนบุรี และนครปฐม สาเนียงเมืองเพชรในจงั หวดั เพชรบุรี เป็ นตน้
ตวั อย่างการเปรียบเทียบภาษาถิ่น ภาษาภาคกลาง ภาษาถ่ินพายพั ภาษาถ่นิ อสี าน ภาษาถ่ินใต้ ผอ่ มอง เบ่ิง ดู มองดู ลา แซบ แล อร่อย ป๊ิ กบา้ น หรอย กลบั บ้าน อู้ เมือบา้ น หลบบ้าน พดู เวา้ แหล่ง ทาไม ทาอย่างไร อะหยงั ยะจะได๋ พร่ือ ทาพรื่อ ชายหนุ่ม อา้ ยบ่าว เป็นหยงั เฮด็ จงั่ ได๋ บ่าว โกรธ เก้ียด พูบ่ ่าว กอดแล รัก ฮกั เคียด ฮัก พริก ปิ๊ ก ฮกั พริก ดีปรี มะละกอ มะกว้ ยเตด้ หมากพิก ลอกอ วง่ิ ล่น บกั หุ่ง แหลน็ พ่อ ป้อ แล่น ผอ ช้าง จา๊ ง อีพอ่ ฉ่าง เส่ือ สาด ซ่าง ซ้าด จริง สาด แต้ อหี ลี
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: